SlideShare a Scribd company logo
Chapter 1



Adobe
Premiere
Pro CS 5
        ความรูเบื้องตน
    เกี่ยวกับโปรแกรม
  Adobe Premiere
  Pro CS 5 for Mac

             Pipit Sitthisak
PohChang Academy of ARTS
  Rajamangala University of
   Technology Rattanakosin
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 2

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5
             โปรแกรม Adobe Premiere Pro เปนโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับใชในการตัดตอวีดิ
ทัศนที่อยูในตระกูล Adobe เชนเดียวกบโปรแกรม Photoshop, Illustrator, After effect
                                       ั
ฯลฯ ดังนั้น สําหรับผูที่เคยใชโปรแกรมดังกลาวมากอน จึงคอนขางจะใชงานงาย เนื่องจาก
เครื่องมือและลักษณะการใชงานโดยทว ๆ ไป จะคลาย ๆ กัน
                                    ั่
          โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 นอกจากจะสามารถใชงานรวมกบการดตด      ั  ั
ตอวดิโอไดหลายยีหอแลว ยังสามารถใชไดกับคอมพิวเตอรทไมมการดตัดตอไดอีกดวย
    ี            ่                                     ี่ ี


    กระบวนการพื้นฐานของการตัดตอดิจิตอลวีดิโอ
          หลังจากที่ถายวีดโอมาเรียบรอยแลว
                           ิ                    เราก็จะจับภาพ (Capture) วีดิโอลงใน
ฮารดดิสกของคอมพิวเตอร หลงจากนั้นจะเขาสกระบวนการตัดตอวีดโอ ซึ่งมีขนตอนพื้นฐาน
                             ั             ู               ิ        ั้
ดังนี้




      1. เริ่มตนหรือเปดโปรเจ็กตโปรแกรมตัดตอ
      2. จับภาพวีดโอและนําเขาคลิปไฟลอื่นๆ เชน เสียง ภาพนิง
                  ิ                                         ่
      3. เลือก ตัดตอ แกไขคลิปในหนาตางไทมไลน (Timeline)
                                    
      4. สรางและใสขอความ เครดิต ภาพกราฟก
      5. ใสทรานสิชน (Transition) ระหวางคลิป และเพิ่มเอฟเฟกต (Effect) ในคลิป
                   ั่
      6. ใสเสียงบรรยาย เสียงเพลง เสียงประกอบ หรือซาวดเอฟเฟกตตาง ๆ
      7. เอ็กพอรต (Export) โปรเจกตงานลงสื่อ เชน ลงบนวีดโอเทป สรางเปนไฟลวีดโอ
                                 ็                        ิ                   ิ
         สรางเปนวีดโอไฟลแบบ Streaming เพื่อเลนผานเว็บ หรือบันทึกลงแผน DVD
                     ิ    
Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 3

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


    คําศัพทที่ใชใน Premiere Pro
            สําหรบโปรแกรม Adobe Premiere Pro นั้นจะมีศัพทที่ใชเรียกองคประกอบใน
                 ั
หนาตางการทํางานแตละหนาตาง รวมไปถึงสวนยอยทีเ่ ราตองพบบอยๆ โดยคําศัพทเหลานันมี
                                                                                    ้
ดังตอไปนี้
           โปรเจกต (Project) หมายถึง ไฟลงานทีเ่ ราสรางหรือกําลังติดตออยู เรียกไฟลงานนั้น
                ็
วา โปรเจ็กต (Project) ซึ่งจะครอบคลุมงานทังชินของเรา
                                            ้ ้
         คลิป (Clip) หมายถึง ไฟลวีดโอ ไฟลภาพ และไฟลเสียง ที่เราทําการ หรือนําเขา
                                    ิ
(Import) มาใชในโปรเจ็กต โดยแตละไฟลเราจะเรียกวา Clip ( คลิป )
                                               
         Track (Track) หมายถง เลเยอร (Layer) ที่ใชใน Timeline ซึ่งแตละเลเยอร
                                 ึ
เราจะเรียกวา Track ( แทร็ก ) เชน เลเยอรของ video 1 เราจะเรียกวา Track ของ video
                                                                  
1 โดย Track เหลานี้ใชสาหรับตัดตอภาพยนตรและตัดตอเสียงรวมทั้งเพิ่มเทคนิคพิเศษตางๆ
                        ํ
           เฟรม (Frame) หมายถึง ชองแตละชองที่แสดงอยูบน Timeline ซึ่งแตละชองนี้
                                                         
จะแสดงภาพที่อยูในคลิป โดยจะเรียงตอกันไปเรื่อย ๆ เหมือนกับฟลมภาพยนตร และเรียกชอง
เหลานีวา Frame ( เฟรม )
       ้
           ซีเควนส (Sequence) หมายถึง ลําดับหรือฉาก ๆ หนึ่งของภาพยนตรทเี่ รียงกัน
เปนเรื่องๆ ซึงในโปรแกรม Premiere ไดนาเอาคํานี้มาใชเรียกหนาตางยอยในการจัดอันดับ
               ่                          ํ
คลิป บนหนาตาง Timeline เพื่อใหเกิดเปนภาพยนตรวา Sequence ( ซีเควนส )




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR            Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 4

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


    การเรมตนโปรแกรม Premiere
         ่ิ 
        วิธีที่ 1 เรียกผานเมนู
        ๑) คลิกเมาสที่เมนู Go แลวเลื่อนเมาสมาที่ไอคอนโฟลเดอร Applications




        ๒) ดับเบิ้ลคลิกไอคอนโฟลเดอร Applications จะปรากฏหนาตาง Applications




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 5

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




        ๓) ดับเบิ้ลคลิก (Double Click) ทไอคอนโฟลเดอรโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5
                                        ่ี
           จะปรากฏหนาตาง Adobe Premiere Pro CS5




        ๔) ดับเบิ้ลคลิก (Double Click) ที่ไอคอนโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 6

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


           วิธีที่ 2 เรียกผานไอคอนโปรแกรมในแถบ Dock
        เลื อ นเมาส ไ ปที่ ด า นล า งของหน า จอมอนิ เ ตอร แถบ Dock จะแสดงไอคอนของ
            ่
โปรแกรมตาง ๆ ปรากฏขึน เลื่อนเมาสไปที่ไอคอนโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 5
                             ้
แลวคลิกเมาสอีกครั้งหนึ่ง




            เมื่อเลือกวิธีการใดวิธีการหนึง โปรแกรมจะเริมตนทํางาน โดยปรากฏโลโกดงภาพ
                                         ่             ่                        ั
ขางลาง




            และเขาสูหนาตาง Welcome to Adobe Premiere Pro




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 7

                                       Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




            ในหนาตาง Welcome to Adobe Premiere PRO CS 5 นี้ โปรแกรมจะใหเรา
เลือกรูปแบบการทํางานกับ Project อยางใดอยางหนึ่ง จาก 3 ลักษณะงาน ดังนี้
           1) คลิ ก เมาส เ ลื อ กไฟล ง านที เ พิ ง เคยทํ า ไปเมื อ เร็ ว ๆ นี ้ โดยใต คํ า ว า Recent
                                              ่ ่                  ่
Projects จะแสดงรายชื่อไฟลงานที่เคยเปดขึ้นมาทํางานครั้งลาสุด 5 อันดับ หากเราตองการ
ทํางานตอจากไฟลเดิมเหลานี้ ก็สามารถคลิกเลือกรายชื่อไฟลงานที่ตองการไดทันที
           2) คลิกเมาสที่ปุม Open Project เพื่อเลือกเปดไฟลงานทีเ่ คยบันทึกไวมาทํางานตอ
(แตเ ปนไฟลที่เคยบนทึกไวนานกวาไฟลงานลาสด 5 อันดับ)
                    ั                               ุ




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                    Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 8

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


               3) คลิกเมาสที่ปุม New Project เมื่อตองการเริมตนทํางานกับไฟลงานใหม
                                                              ่




                  โดยเมื่อเลือกหัวขอนี้ จะปรากฏหนาตาง New Project ดังภาพขางลาง




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 9

                                     Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


        ในหนาตาง New Project จะตองกําหนดคาทัวไปของไฟลงาน ในแท็บ (Tab)
                                                   ่
General กอนเขาสูการทํางานของโปรแกรมตอไป ดังนี้


การกําหนดคาทั่วไป
    ๑. เปอรเซ็นตพื้นที่ปลอดภัยสําหรับไตเติ้ล (ใชคาเดิม)
    ๒. เปอรเซ็นตของพื้นที่ปลอดภัยสําหรับการแสดง (ใชคาเดิม)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR                 Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 10

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


    ๓. รูปแบบการแสดงภาพวีดิโอ            (ใชคาเดิม)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 11

                                    Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


    ๔. รูปแบบการแสดงเสียง        (ใชคาเดิม)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 12

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


    ๕. รูปแบบการจับภาพวีดิโอ (เปลี่ยนแปลงตามรูปแบบที่ถายมา)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 13

                                    Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


    ๖. Video rendering           (ใชคาเดิม)




         สรุปแลวกคือ เราไมตองเปลยนแปลงคาอะไรเลย จะเปลี่ยนเฉพาะตําแหนงทีเ่ ก็บ
                ็                ี่
ไฟลงานในชอง Location กับตังชื่อไฟลงานในชอง Name ซึ่งจะกลาวในหวถดไป
                              ้                                   ั ั


    กําหนดพื้นที่เก็บขอมูลในฮารดดิสก
                เปนการกาหนดไดรฟ (Drive) ในฮารดดิสก (Harddisk) และโฟลเดอร (Folder)
                        ํ
ที่ใชเก็บไฟลงาน (Project File) เก็บไฟลภาพและเสียงที่ไดจากการจับภาพ (Capture) ไฟลที่
เกิดจากการ Video Previews และไฟลที่เกิดจากการ Audio Previews ตลอดจนไฟลหรือ
คลิปอื่น ๆ ที่จะนํามาใชตดตอวดิโอ เชน ภาพนิ่ง โลโก เพลงหรือเสียงประกอบ ฯลฯ ดังนั้น จึง
                          ั ี
ควรเปนไดรฟ (Drive) ที่ทางานเร็วที่สุด มีพื้นทีวางคอนขางมาก และไมควรเปน Drive C ที่
                             ํ                  ่
ใชบูต (Boot) ระบบปฏิบัตการิ


Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 14

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


          โดยปกติแลว หากไมมีการกําหนดพื้นที่จดเก็บไฟลงานวีดโอ โปรแกรมจะจดเกบให
                                                  ั             ิ                   ั ็
อัตโนมัติในพื้นที่เดียวกับโปรแกรมในไดรฟ C หรือพื้นใด ๆ ที่กาหนดไวครั้งลาสุด ซึ่งหากเมื่อมี
                                                            ํ
การตัดตอวดิโอหลาย ๆ งาน อาจเกิดความสับสนในการจัดการไฟลงานวีดโอที่ปะปนกัน
           ี                                                         ิ
         ดังนน จงควรกําหนดพื้นจดเกบไฟลงานวดิโอขึ้นมาใหม หมายถึง การกําหนดไดรฟ
             ั้ ึ              ั ็            ี
(Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน เชน E:My DocumentsMy
VideosSport เพื่อใหสะดวกในการจัดการดานไฟลงานวดิโอแตละเรื่อง โดยมีขนตอนปฏิบติ
                                                   ี                   ั้      ั
ดังนี้
        ๑. กําหนดพื้นที่เก็บไฟลงาน (Project File)
           ๑) คลิกเมาสที่ปุม Browse ทายชอง Location




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR            Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 15

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


                จะปรากฏหนาตาง Please select the destination path for your new
                            
project




            ใหเรากาหนดเสนทาง (Path) ที่จะจัดเก็บไฟลงานใหม โดยการเลือกไดรฟ (Drive)
                   ํ      
และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน
            ตัวอยางเชน ในทีนี้เราเลือกที่จะจัดเก็บไฟลงานไวในฮารดดิกสที่ชอ Macintosh
                             ่                                                ื่
HD 2 เรากคลิกเมาสเลือกที่ Macintosh HD 2 จากนั้นก็สรางโฟลเดอรเพื่อเก็บไฟลงานที่ชื่อ
          ็
IFV-P2-AM สําหรบเกบไฟลงานทุกไฟลงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคตรวมกันไวทนี่
                  ั ็                                                    ี่




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 16

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


            ๒) คลิกเมาสเลือกไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการ
                       




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 17

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


            ๓) คลิกเมาสที่ New Folder จะไดโฟลเดอรใหมที่ชื่อ Untitled Folder
                       




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 18

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


            ๔) เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร (Folder) โดยพิมพชื่อใหมเขาไปแทนที่คําวา New Folder
ตัวอยางเชน FIV-P2-AM จากนน คลิกเมาสที่ปุม Create เพื่อยืนยันการเปลี่ยนชือโฟลเดอร
                           ั้                                               ่




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 19

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


            ๕) จะปรากฏโฟลเดอรใหม ตามชื่อใหม คือ FIV-P2-AM ภายใตฮารดดิสกที่ชื่อ
Macintosh HD 2
                จากนนคลิกเมาสที่ปม Choose เพื่อยืนยันการเลือกโฟลเดอรทสรางขึ้น จะ
                    ั้            ุ                                   ี่
กลับไปที่หนาตาง New Project อีกครั้ง




            ๖) เมื่อกําหนดทุกขั้นตอนเสร็จแลว หากเขาไปดูโฟลเดอรทสรางขึนมาใหม โดยใช
                                                                  ี่     ้
โปรแกรม Finder จะพบวามีโฟลเดอร Adobe Premiere Pro Preview Files , Encoded
Files และ Media Cache Files อยูภายในไดรฟและโฟลเดอรเดียวกัน




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 20

                                     Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


        ๒. การตั้งชื่อไฟลงาน (Project File)
            ๑) พิมพชื่อไฟลงาน (Project File) ในชอง Name :
                                                  




               ๒) คลิกเมาสที่ปุม                  จะเขาสูหนาตาง New Sequence ดัง
ภาพขางลาง ซึ่งในหนาตางนี้เราตองกําหนดคุณสมบัตของไฟลงาน (Project Setting)
                                                  ิ




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 21

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




    การกําหนดคุณสมบัติของไฟลงาน (Project Setting)
        เปนการกําหนดคาใหเหมาะสมกับไฟลที่ใชประกอบการทํางาน ซึ่งในโปรแกรม
Premiere Pro มีเมนูสําหรบการตั้งคาโปรเจกต 2 เมนู คือ Project Settings และ
                        ั               ็
Preferences ซึ่งมความคลายคลึงเปนอยางมาก กลาวคือ
                 ี              
           การกําหนดคา Project Settings จะกําหนดคากอนที่จะเปดโปรเจ็คใหมขนมา และ
                                                                               ึ้
เมื่อโปรเจ็คนั้นเปดขึนมาแลว คาของ Project Settings จะมีผลตอโปรเจ็คที่ทํางานนั้น และไม
                      ้
สามารถเปลี่ยนแปลงคา Project Settings ไดอก
                                             ี


Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 22

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


         สวน Preferences เปนการกําหนดคาพื้นฐานที่ใชกบทุก ๆ โปรเจ็ค ซงเราสามารถ
                                                        ั               ึ่
เปลี่ยนแปลงคาตาง ๆ ไดตลอดเวลา
                     
          การกําหนดคา Project Settings มีขั้นตอน ดังนี้
                    
        1. เลือกคุณสมบัตของไฟลงาน
                         ิ
           ที่แท็บ (Tab) ชื่อ Sequence Preset ในกรอบ Available Presets ใหเลือก
คุณสมบติของไฟลงาน (Project) ใหเหมาะสมกบสื่อ (Media) ที่เราตองการนําผลงานทีทํา
      ั                                   ั                                  ่
ออกไปแพรภาพ หรือผลลัพธตองการ เชน
                      - รูปแบบของวีดโอเปน DV หรือ HDV
                                      ิ
                      - สัดสวนจอที่จะนําออกฉายดวยจอโทรทัศนหรือมอนิเตอรเปนแบบ
                          Standard 4:3 หรือ Widescreen 16:9
                      - ระบบโทรทศนเ ปน PAL หรือ NTSC
                                   ั
                      - คุณภาพเสียงระดับปกติ VCD (32 kHz) หรือ DVD Video (48 kHz)
             เมื่อมีการเลือกชนดของไฟลงานแบบใดกตาม
                              ิ                 ็          จะปรากฏรายละเอียดของ
คุณสมบัติในชอง Preset Description ใหทราบวาตรงกับความตองการหรือไม




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 23

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




             แตถายังไมรูสื่อที่จะนําออกไปแพรภาพเปนที่แนนอน ก็ใหเลือกตามชนิดของไฟล
คลิปวดิโอ (Video Clip) ที่จะนําเขามาใชงาน เพราะชนิดของไฟลงานที่เลือกเอาไวนี้สามารถ
      ี
เปลี่ยนแปลงไดอีกในขนตอน Export งานออกไป (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสข. 2544 : 10)
                     ั้                                                      ุ
            ตัวอยาง ในกรณีทเี่ ราบันทึกภาพวีดโอ ดวยกลองดิจิตอลวีดโอแบบที่ใชมวนเทป
                                              ิ                     ิ
วีดิทศนแบบ Mini DV และตังคาสัดสวนของภาพกอนบันทึกเปน 16 : 9
     ั                 ้




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 24

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




                         กลองวดิโอ HDV และมวนเทปแบบ Mini DV
                               ี            
              (Sony HDR-FX1E HDV Camcorder PAL ,www.istockphoto.com)
              ในที่นี้ ใหเลือกเปน DV PAL > Widescreen 48 kHz ดวยเหตุผลดงนี้
                                                                        ั
                      - วีดโอที่ถายมาจากกลองวีดโอที่กําหนดรูปแบบวดิโอเปน DV (Digital
                           ิ                     ิ                 ี
                        Video)
                      - ตองการฉายวดิโอกับจอโทรทัศนแบบ Standard 16 : 9
                                      ี
                      - ระบบโทรทศนของประเทศไทยเปนระบบ PAL
                                    ั 
                      - ตองการคุณภาพเสียงระดับ DVD Video คือ 48 KHz




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 25

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 26

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


    พื้นที่ทํางานของโปรแกรม (Premiere Workspace)
        หนาตางของโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 ประกอบดวยสวนตาง ๆ
                                                             
จําแนกออกเปนกลุม ๆ ได ๔ กลุม ดังนี้ คือ




        กลุมหนาตางโปรเจ็ค (The Project window) , Tool และ Resource Central
            แทรกรูปรวมของหนาตาง โปรเจ็ค
            ๑. หนาตางโปรเจ็ค (The Project window)
                 เปนพื้นที่เก็บไฟล (File) ทีเราเรียกวา คลิป (Clip) ไดแก ภาพยนตร (Movie)
                                              ่
ภาพนิ่ง (Still Image) เสียง (Sound) ภาพกราฟก (Graphic) หรือ ไตเติ้ล (Title)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR            Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 27

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




                 โดยคลิปตาง ๆ ที่จะนํามาตัดตอบนไทมไลน (Timeline) จะตองนามาบรรจุ
                                                                         ํ
(Import) ไวในหนาตางโปรเจ็ค (Project window) กอนเสมอ
                 อยางไรก็ตาม หนาตาง Project เปนเพียงเครืองมือทีใชเรียก (หรืออางอิง)
                                                              ่     ่
ไฟลงานเขามาใชและแสดงผล ไมไดเปนที่เก็บไฟลงานอยางแทจริง ดังนั้นจึงตองระมัดระวัง
เกี่ยวกับการลบไฟล หรือการเคลื่อนยายไฟลงานที่อยูในไดรฟหรือโฟลเดอร ซึ่งเปนที่เก็บไฟลที่
แทจริง เพราะจะทําใหโปรแกรมไมสามารถแสดงผลได (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข. 2544 :
                     
11)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR            Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 28

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


                  สวนประกอบของหนาตาง Project




          สวนประกอบ                                       หนาที่
                                   หนาตางขนาดเล็กสําหรับแสดงภาพของคลิปทีเ่ ลือก โดย
A : Thumbnail viewer               เมื่อคลิกเมาสทคลิปใด จะเลนภาพหรือเสียงของคลิปนัน ๆ
                                                  ี่                                ้
                                   เพื่อตรวจสอบวาเปนคลิปอะไร
B : Details                        รายละเอียดของคลิปที่เราคลิกเมาสเลือก
C. Clip                            คลิปที่ Import เขามาใน Project
D : Thumbnail View                 เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบมีภาพและชือ
                                                                                  ่
E : Icon View                      เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบไอคอน
                                                       
F : Automate to                    เรียงคลปแบบรวดเรวลงบน Timeline
                                          ิ        ็
Sequence

Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR          Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 29

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


H : Find                           คนหา



           สวนประกอบ                                       หนาที่
I : New                            สราง Bin อันใหม
                                   สรางวัตถุขนมาใหม เชน ไตเติ้ล (Title) Bar and Tone
                                              ึ้
J : Create Item
                                   Universal Counting Leader ฯลฯ
K : Delete Selected Items ลบคลิปที่เลือกทิ้ง


             ๑.๒ Resource Central


          ๒. หนาตางไทมไลน (Timeline window) กลองเครื่องมือ (Tools) และ Audio
             ๒.๑ หนาตางไทมไลน (Timeline window)
                     เปนพื้นที่สาหรับนําคลิป (Clip) ที่อยูในหนาตางโปรเจ็ค (Project
                                 ํ
window) มาเรียงลําดับหรือตัดตอเปนเรื่องราว




                  ๒.๒ กลองเครองมือ (The Tool Panels)
                              ่ื

Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 30

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5




                                  จับภาพใหม
                        กลองเครื่องมือ (Toolbox) จะอยูดานบนซายมือของหนาตาง Timeline
เปนหนาตางเล็กๆ ที่มความสําคัญเพราะตองทํางานคูกบหนาตาง Timeline เสมอ โดยที่
                      ี                              ั
หนาตาง Tools จะเก็บเครืองมือหลักที่ใชในการตัดตอที่จําเปน
                            ่




     สวนประกอบ                                        หนาที่
A. Selection tool          Selection Tool ใชในการเลือกคลิปที่เราตองการทํางาน โดยการ
                           คลิกเมาสที่คลิปทีอยูบน Track แลวจะปรากฏเสนประลอมรอบคลิป
                                             ่
                           นั้น ๆ ที่ นอกจากนี้ยังใชในการยืดหรือยอ ซึงจะมีผลทําใหเวลาใน
                                                                       ่
                           การแสดงของคลิปนั้นเพิ่มขึนหรือลดลงได
                                                       ้

Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR              Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 31

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


B. Track Selection         Track Select Tool ใชในการก็อปปชวงที่เราตองการ แตจะเปน
                                                              
   tool                    การเลือกทุก ๆ คลิปที่อยูตอจากแทร็กที่เราเลือก
                                                   
     สวนประกอบ                                         หนาที่
C. Ripple Edit tool        Ripple Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มหรือลดเวลาในการแสดงของคลิป
                           ที่เลือก โดยจะไมสงผลตอเวลาในการแสดงของคลิปที่อยูติดกัน
                                             
D. Rolling Edit tool       Rolling Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มเวลาในการแสดงใหกบคลิปที่เรา
                                                                             ั
                           เลือก โดยสงผลใหคลิปทีอยูถัดไปลดเวลาในการแสดงลง
                                                  ่ 
E. Rate Stretch tool Rate Stretch Tool เพื่อเลือกทุกคลิปที่อยูทางขวามือ
F. Razor tool              Razor Tool ใชสําหรับตัดคลิปออกเปนสวน ๆ โดยจะตัดทั้งเสียง
G. Slip tool               Slip Tool ใชในการเลื่อนคลิปที่อยูตดกัน ไมมีผลตอความเร็วและ
                                                               ิ
                           คลิปที่อยูตดกัน
                                       ิ
H. Slide tool              Slide Tool ใชในการเลื่อนคลิปที่อยูตดกัน ซึ่งมีผลตอความเร็วของ
                                                                ิ
                           คลิปที่อยูตดกัน
                                       ิ
I. Pen tool
J. Hand tool               Hand Tool ใชสําหรับเลือนคลิปที่อยูนอกหนาตาง Time line
                                                  ่           
K. Zoom tool               Zoom Tool ใชสําหรับเลื่อนไปดูคลิปที่มองไมเห็นในหนาตาง
                           Timeline ขณะนั้น




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR               Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 32

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


              ๓. หนาตาง Media Browser , Info , Effects และ History
                  ๓.๑ Effects Palette สําหรับเพิ่มเทคนิคพิเศษใหกับคลิปวีดิโอ




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR         Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 33

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


              ๔. หนาตาง Source , หนาตาง Effect Controls และ หนาตางAudio Mixer
                    

                  ๔.๑ Source Monitor




                                       Source Monitor
                  ๔.๒ Effect Controls
                     Effect Controls Palette สําหรบปรบแตง Effect ตางๆจากหนาตาง
                                                   ั ั                      
Effect ของ Video Effects และ Audio Effects ที่ไดเพิ่มลงไปขณะตัดตอ
                      5)




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 34

                                   Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5


              ๕. หนาตางโปรแกรมมอนิเตอร (The Program Monitor Windows)
                เปนสวนทแสดงคลปในโปรเจ็กตที่เรากําลังทํางาน
                      ี่       ิ                                    ซึงมีสองหนาจอที่ใชใน
                                                                       ่
การเปรียบเทียบกันระหวางคลิปตนฉบับและคลิปที่เรากําลังตัดตออยู




                                      Program Monitor




Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR           Last Update : 19 กรกฎาคม 2554

More Related Content

Similar to Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf

Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
Vinz Primo
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
Pipit Sitthisak
 
150flashkrujun
150flashkrujun150flashkrujun
150flashkrujun
Krujun Deethae
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
krunueng1
 
Imv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdfImv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdf
Pipit Sitthisak
 
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashแนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
ssuser5adb53
 
Ulead studio
Ulead studio Ulead studio
Ulead studio pom_2555
 
Ulead studio
Ulead studio Ulead studio
Ulead studio pom_2555
 
Ulead studio
Ulead studio Ulead studio
Ulead studio pom_2555
 
Flash for teacher
Flash for teacher Flash for teacher
Flash for teacher
Pises Tantimala
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
Setup project (csharp)
Setup project (csharp)Setup project (csharp)
Setup project (csharp)
Naruemon Soonthong
 

Similar to Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf (20)

Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
 
150flashkrujun
150flashkrujun150flashkrujun
150flashkrujun
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Imv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdfImv unit7-3-pr3-transition-pdf
Imv unit7-3-pr3-transition-pdf
 
XBMC_Present
XBMC_PresentXBMC_Present
XBMC_Present
 
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashแนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
 
Chapter 10 flash
Chapter 10 flashChapter 10 flash
Chapter 10 flash
 
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
 
swishmax1
swishmax1swishmax1
swishmax1
 
Ulead studio
Ulead studio Ulead studio
Ulead studio
 
Ulead studio
Ulead studio Ulead studio
Ulead studio
 
Ulead studio
Ulead studio Ulead studio
Ulead studio
 
Flash for teacher
Flash for teacher Flash for teacher
Flash for teacher
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Actionscript2
Actionscript2Actionscript2
Actionscript2
 
Setup project (csharp)
Setup project (csharp)Setup project (csharp)
Setup project (csharp)
 

More from Pipit Sitthisak

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
Pipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
Pipit Sitthisak
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
Pipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
Pipit Sitthisak
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Pipit Sitthisak
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
Pipit Sitthisak
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
Pipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
Pipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
Pipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
Pipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdfPipit Sitthisak
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdfPipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Pipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
Pipit Sitthisak
 

More from Pipit Sitthisak (20)

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdf
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdf
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 

Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf

  • 1. Chapter 1 Adobe Premiere Pro CS 5 ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 5 for Mac Pipit Sitthisak PohChang Academy of ARTS Rajamangala University of Technology Rattanakosin
  • 2. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 2 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 โปรแกรม Adobe Premiere Pro เปนโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับใชในการตัดตอวีดิ ทัศนที่อยูในตระกูล Adobe เชนเดียวกบโปรแกรม Photoshop, Illustrator, After effect ั ฯลฯ ดังนั้น สําหรับผูที่เคยใชโปรแกรมดังกลาวมากอน จึงคอนขางจะใชงานงาย เนื่องจาก เครื่องมือและลักษณะการใชงานโดยทว ๆ ไป จะคลาย ๆ กัน ั่ โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 นอกจากจะสามารถใชงานรวมกบการดตด ั  ั ตอวดิโอไดหลายยีหอแลว ยังสามารถใชไดกับคอมพิวเตอรทไมมการดตัดตอไดอีกดวย ี ่ ี่ ี กระบวนการพื้นฐานของการตัดตอดิจิตอลวีดิโอ หลังจากที่ถายวีดโอมาเรียบรอยแลว ิ เราก็จะจับภาพ (Capture) วีดิโอลงใน ฮารดดิสกของคอมพิวเตอร หลงจากนั้นจะเขาสกระบวนการตัดตอวีดโอ ซึ่งมีขนตอนพื้นฐาน   ั ู ิ ั้ ดังนี้ 1. เริ่มตนหรือเปดโปรเจ็กตโปรแกรมตัดตอ 2. จับภาพวีดโอและนําเขาคลิปไฟลอื่นๆ เชน เสียง ภาพนิง ิ ่ 3. เลือก ตัดตอ แกไขคลิปในหนาตางไทมไลน (Timeline)   4. สรางและใสขอความ เครดิต ภาพกราฟก 5. ใสทรานสิชน (Transition) ระหวางคลิป และเพิ่มเอฟเฟกต (Effect) ในคลิป ั่ 6. ใสเสียงบรรยาย เสียงเพลง เสียงประกอบ หรือซาวดเอฟเฟกตตาง ๆ 7. เอ็กพอรต (Export) โปรเจกตงานลงสื่อ เชน ลงบนวีดโอเทป สรางเปนไฟลวีดโอ ็ ิ  ิ สรางเปนวีดโอไฟลแบบ Streaming เพื่อเลนผานเว็บ หรือบันทึกลงแผน DVD ิ  Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 3. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 3 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 คําศัพทที่ใชใน Premiere Pro สําหรบโปรแกรม Adobe Premiere Pro นั้นจะมีศัพทที่ใชเรียกองคประกอบใน ั หนาตางการทํางานแตละหนาตาง รวมไปถึงสวนยอยทีเ่ ราตองพบบอยๆ โดยคําศัพทเหลานันมี ้ ดังตอไปนี้ โปรเจกต (Project) หมายถึง ไฟลงานทีเ่ ราสรางหรือกําลังติดตออยู เรียกไฟลงานนั้น ็ วา โปรเจ็กต (Project) ซึ่งจะครอบคลุมงานทังชินของเรา ้ ้ คลิป (Clip) หมายถึง ไฟลวีดโอ ไฟลภาพ และไฟลเสียง ที่เราทําการ หรือนําเขา ิ (Import) มาใชในโปรเจ็กต โดยแตละไฟลเราจะเรียกวา Clip ( คลิป )   Track (Track) หมายถง เลเยอร (Layer) ที่ใชใน Timeline ซึ่งแตละเลเยอร ึ เราจะเรียกวา Track ( แทร็ก ) เชน เลเยอรของ video 1 เราจะเรียกวา Track ของ video  1 โดย Track เหลานี้ใชสาหรับตัดตอภาพยนตรและตัดตอเสียงรวมทั้งเพิ่มเทคนิคพิเศษตางๆ ํ เฟรม (Frame) หมายถึง ชองแตละชองที่แสดงอยูบน Timeline ซึ่งแตละชองนี้  จะแสดงภาพที่อยูในคลิป โดยจะเรียงตอกันไปเรื่อย ๆ เหมือนกับฟลมภาพยนตร และเรียกชอง เหลานีวา Frame ( เฟรม ) ้ ซีเควนส (Sequence) หมายถึง ลําดับหรือฉาก ๆ หนึ่งของภาพยนตรทเี่ รียงกัน เปนเรื่องๆ ซึงในโปรแกรม Premiere ไดนาเอาคํานี้มาใชเรียกหนาตางยอยในการจัดอันดับ ่ ํ คลิป บนหนาตาง Timeline เพื่อใหเกิดเปนภาพยนตรวา Sequence ( ซีเควนส ) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 4. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 4 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 การเรมตนโปรแกรม Premiere ่ิ  วิธีที่ 1 เรียกผานเมนู ๑) คลิกเมาสที่เมนู Go แลวเลื่อนเมาสมาที่ไอคอนโฟลเดอร Applications ๒) ดับเบิ้ลคลิกไอคอนโฟลเดอร Applications จะปรากฏหนาตาง Applications Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 5. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 5 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๓) ดับเบิ้ลคลิก (Double Click) ทไอคอนโฟลเดอรโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 ่ี จะปรากฏหนาตาง Adobe Premiere Pro CS5 ๔) ดับเบิ้ลคลิก (Double Click) ที่ไอคอนโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 6. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 6 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 วิธีที่ 2 เรียกผานไอคอนโปรแกรมในแถบ Dock เลื อ นเมาส ไ ปที่ ด า นล า งของหน า จอมอนิ เ ตอร แถบ Dock จะแสดงไอคอนของ ่ โปรแกรมตาง ๆ ปรากฏขึน เลื่อนเมาสไปที่ไอคอนโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 5 ้ แลวคลิกเมาสอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเลือกวิธีการใดวิธีการหนึง โปรแกรมจะเริมตนทํางาน โดยปรากฏโลโกดงภาพ ่ ่ ั ขางลาง และเขาสูหนาตาง Welcome to Adobe Premiere Pro Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 7. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 7 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ในหนาตาง Welcome to Adobe Premiere PRO CS 5 นี้ โปรแกรมจะใหเรา เลือกรูปแบบการทํางานกับ Project อยางใดอยางหนึ่ง จาก 3 ลักษณะงาน ดังนี้ 1) คลิ ก เมาส เ ลื อ กไฟล ง านที เ พิ ง เคยทํ า ไปเมื อ เร็ ว ๆ นี ้ โดยใต คํ า ว า Recent ่ ่ ่ Projects จะแสดงรายชื่อไฟลงานที่เคยเปดขึ้นมาทํางานครั้งลาสุด 5 อันดับ หากเราตองการ ทํางานตอจากไฟลเดิมเหลานี้ ก็สามารถคลิกเลือกรายชื่อไฟลงานที่ตองการไดทันที 2) คลิกเมาสที่ปุม Open Project เพื่อเลือกเปดไฟลงานทีเ่ คยบันทึกไวมาทํางานตอ (แตเ ปนไฟลที่เคยบนทึกไวนานกวาไฟลงานลาสด 5 อันดับ) ั  ุ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 8. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 8 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 3) คลิกเมาสที่ปุม New Project เมื่อตองการเริมตนทํางานกับไฟลงานใหม ่ โดยเมื่อเลือกหัวขอนี้ จะปรากฏหนาตาง New Project ดังภาพขางลาง Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 9. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 9 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ในหนาตาง New Project จะตองกําหนดคาทัวไปของไฟลงาน ในแท็บ (Tab) ่ General กอนเขาสูการทํางานของโปรแกรมตอไป ดังนี้ การกําหนดคาทั่วไป ๑. เปอรเซ็นตพื้นที่ปลอดภัยสําหรับไตเติ้ล (ใชคาเดิม) ๒. เปอรเซ็นตของพื้นที่ปลอดภัยสําหรับการแสดง (ใชคาเดิม) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 10. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 10 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๓. รูปแบบการแสดงภาพวีดิโอ (ใชคาเดิม) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 11. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 11 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๔. รูปแบบการแสดงเสียง (ใชคาเดิม) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 12. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 12 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๕. รูปแบบการจับภาพวีดิโอ (เปลี่ยนแปลงตามรูปแบบที่ถายมา) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 13. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 13 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๖. Video rendering (ใชคาเดิม) สรุปแลวกคือ เราไมตองเปลยนแปลงคาอะไรเลย จะเปลี่ยนเฉพาะตําแหนงทีเ่ ก็บ  ็  ี่ ไฟลงานในชอง Location กับตังชื่อไฟลงานในชอง Name ซึ่งจะกลาวในหวถดไป ้ ั ั กําหนดพื้นที่เก็บขอมูลในฮารดดิสก เปนการกาหนดไดรฟ (Drive) ในฮารดดิสก (Harddisk) และโฟลเดอร (Folder) ํ ที่ใชเก็บไฟลงาน (Project File) เก็บไฟลภาพและเสียงที่ไดจากการจับภาพ (Capture) ไฟลที่ เกิดจากการ Video Previews และไฟลที่เกิดจากการ Audio Previews ตลอดจนไฟลหรือ คลิปอื่น ๆ ที่จะนํามาใชตดตอวดิโอ เชน ภาพนิ่ง โลโก เพลงหรือเสียงประกอบ ฯลฯ ดังนั้น จึง ั ี ควรเปนไดรฟ (Drive) ที่ทางานเร็วที่สุด มีพื้นทีวางคอนขางมาก และไมควรเปน Drive C ที่ ํ ่ ใชบูต (Boot) ระบบปฏิบัตการิ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 14. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 14 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 โดยปกติแลว หากไมมีการกําหนดพื้นที่จดเก็บไฟลงานวีดโอ โปรแกรมจะจดเกบให ั ิ ั ็ อัตโนมัติในพื้นที่เดียวกับโปรแกรมในไดรฟ C หรือพื้นใด ๆ ที่กาหนดไวครั้งลาสุด ซึ่งหากเมื่อมี ํ การตัดตอวดิโอหลาย ๆ งาน อาจเกิดความสับสนในการจัดการไฟลงานวีดโอที่ปะปนกัน ี ิ ดังนน จงควรกําหนดพื้นจดเกบไฟลงานวดิโอขึ้นมาใหม หมายถึง การกําหนดไดรฟ ั้ ึ ั ็ ี (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน เชน E:My DocumentsMy VideosSport เพื่อใหสะดวกในการจัดการดานไฟลงานวดิโอแตละเรื่อง โดยมีขนตอนปฏิบติ ี ั้ ั ดังนี้ ๑. กําหนดพื้นที่เก็บไฟลงาน (Project File) ๑) คลิกเมาสที่ปุม Browse ทายชอง Location Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 15. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 15 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 จะปรากฏหนาตาง Please select the destination path for your new  project ใหเรากาหนดเสนทาง (Path) ที่จะจัดเก็บไฟลงานใหม โดยการเลือกไดรฟ (Drive) ํ  และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการจัดเก็บไฟลงาน ตัวอยางเชน ในทีนี้เราเลือกที่จะจัดเก็บไฟลงานไวในฮารดดิกสที่ชอ Macintosh ่ ื่ HD 2 เรากคลิกเมาสเลือกที่ Macintosh HD 2 จากนั้นก็สรางโฟลเดอรเพื่อเก็บไฟลงานที่ชื่อ ็ IFV-P2-AM สําหรบเกบไฟลงานทุกไฟลงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคตรวมกันไวทนี่ ั ็  ี่ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 16. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 16 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๒) คลิกเมาสเลือกไดรฟ (Drive) และโฟลเดอร (Folder) ที่ตองการ  Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 17. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 17 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๓) คลิกเมาสที่ New Folder จะไดโฟลเดอรใหมที่ชื่อ Untitled Folder  Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 18. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 18 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๔) เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร (Folder) โดยพิมพชื่อใหมเขาไปแทนที่คําวา New Folder ตัวอยางเชน FIV-P2-AM จากนน คลิกเมาสที่ปุม Create เพื่อยืนยันการเปลี่ยนชือโฟลเดอร ั้ ่ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 19. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 19 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๕) จะปรากฏโฟลเดอรใหม ตามชื่อใหม คือ FIV-P2-AM ภายใตฮารดดิสกที่ชื่อ Macintosh HD 2 จากนนคลิกเมาสที่ปม Choose เพื่อยืนยันการเลือกโฟลเดอรทสรางขึ้น จะ ั้ ุ ี่ กลับไปที่หนาตาง New Project อีกครั้ง ๖) เมื่อกําหนดทุกขั้นตอนเสร็จแลว หากเขาไปดูโฟลเดอรทสรางขึนมาใหม โดยใช ี่ ้ โปรแกรม Finder จะพบวามีโฟลเดอร Adobe Premiere Pro Preview Files , Encoded Files และ Media Cache Files อยูภายในไดรฟและโฟลเดอรเดียวกัน Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 20. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 20 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๒. การตั้งชื่อไฟลงาน (Project File) ๑) พิมพชื่อไฟลงาน (Project File) ในชอง Name :  ๒) คลิกเมาสที่ปุม จะเขาสูหนาตาง New Sequence ดัง ภาพขางลาง ซึ่งในหนาตางนี้เราตองกําหนดคุณสมบัตของไฟลงาน (Project Setting) ิ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 21. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 21 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 การกําหนดคุณสมบัติของไฟลงาน (Project Setting) เปนการกําหนดคาใหเหมาะสมกับไฟลที่ใชประกอบการทํางาน ซึ่งในโปรแกรม Premiere Pro มีเมนูสําหรบการตั้งคาโปรเจกต 2 เมนู คือ Project Settings และ ั ็ Preferences ซึ่งมความคลายคลึงเปนอยางมาก กลาวคือ ี   การกําหนดคา Project Settings จะกําหนดคากอนที่จะเปดโปรเจ็คใหมขนมา และ  ึ้ เมื่อโปรเจ็คนั้นเปดขึนมาแลว คาของ Project Settings จะมีผลตอโปรเจ็คที่ทํางานนั้น และไม ้ สามารถเปลี่ยนแปลงคา Project Settings ไดอก  ี Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 22. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 22 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 สวน Preferences เปนการกําหนดคาพื้นฐานที่ใชกบทุก ๆ โปรเจ็ค ซงเราสามารถ ั ึ่ เปลี่ยนแปลงคาตาง ๆ ไดตลอดเวลา   การกําหนดคา Project Settings มีขั้นตอน ดังนี้  1. เลือกคุณสมบัตของไฟลงาน ิ ที่แท็บ (Tab) ชื่อ Sequence Preset ในกรอบ Available Presets ใหเลือก คุณสมบติของไฟลงาน (Project) ใหเหมาะสมกบสื่อ (Media) ที่เราตองการนําผลงานทีทํา ั ั ่ ออกไปแพรภาพ หรือผลลัพธตองการ เชน - รูปแบบของวีดโอเปน DV หรือ HDV ิ - สัดสวนจอที่จะนําออกฉายดวยจอโทรทัศนหรือมอนิเตอรเปนแบบ Standard 4:3 หรือ Widescreen 16:9 - ระบบโทรทศนเ ปน PAL หรือ NTSC ั - คุณภาพเสียงระดับปกติ VCD (32 kHz) หรือ DVD Video (48 kHz) เมื่อมีการเลือกชนดของไฟลงานแบบใดกตาม ิ  ็ จะปรากฏรายละเอียดของ คุณสมบัติในชอง Preset Description ใหทราบวาตรงกับความตองการหรือไม Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 23. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 23 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 แตถายังไมรูสื่อที่จะนําออกไปแพรภาพเปนที่แนนอน ก็ใหเลือกตามชนิดของไฟล คลิปวดิโอ (Video Clip) ที่จะนําเขามาใชงาน เพราะชนิดของไฟลงานที่เลือกเอาไวนี้สามารถ ี เปลี่ยนแปลงไดอีกในขนตอน Export งานออกไป (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสข. 2544 : 10)  ั้ ุ ตัวอยาง ในกรณีทเี่ ราบันทึกภาพวีดโอ ดวยกลองดิจิตอลวีดโอแบบที่ใชมวนเทป ิ ิ วีดิทศนแบบ Mini DV และตังคาสัดสวนของภาพกอนบันทึกเปน 16 : 9 ั  ้ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 24. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 24 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 กลองวดิโอ HDV และมวนเทปแบบ Mini DV ี  (Sony HDR-FX1E HDV Camcorder PAL ,www.istockphoto.com) ในที่นี้ ใหเลือกเปน DV PAL > Widescreen 48 kHz ดวยเหตุผลดงนี้  ั - วีดโอที่ถายมาจากกลองวีดโอที่กําหนดรูปแบบวดิโอเปน DV (Digital ิ ิ ี Video) - ตองการฉายวดิโอกับจอโทรทัศนแบบ Standard 16 : 9 ี - ระบบโทรทศนของประเทศไทยเปนระบบ PAL ั  - ตองการคุณภาพเสียงระดับ DVD Video คือ 48 KHz Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 25. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 25 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 26. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 26 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 พื้นที่ทํางานของโปรแกรม (Premiere Workspace) หนาตางของโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 ประกอบดวยสวนตาง ๆ  จําแนกออกเปนกลุม ๆ ได ๔ กลุม ดังนี้ คือ กลุมหนาตางโปรเจ็ค (The Project window) , Tool และ Resource Central แทรกรูปรวมของหนาตาง โปรเจ็ค ๑. หนาตางโปรเจ็ค (The Project window) เปนพื้นที่เก็บไฟล (File) ทีเราเรียกวา คลิป (Clip) ไดแก ภาพยนตร (Movie) ่ ภาพนิ่ง (Still Image) เสียง (Sound) ภาพกราฟก (Graphic) หรือ ไตเติ้ล (Title) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 27. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 27 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 โดยคลิปตาง ๆ ที่จะนํามาตัดตอบนไทมไลน (Timeline) จะตองนามาบรรจุ  ํ (Import) ไวในหนาตางโปรเจ็ค (Project window) กอนเสมอ อยางไรก็ตาม หนาตาง Project เปนเพียงเครืองมือทีใชเรียก (หรืออางอิง) ่ ่ ไฟลงานเขามาใชและแสดงผล ไมไดเปนที่เก็บไฟลงานอยางแทจริง ดังนั้นจึงตองระมัดระวัง เกี่ยวกับการลบไฟล หรือการเคลื่อนยายไฟลงานที่อยูในไดรฟหรือโฟลเดอร ซึ่งเปนที่เก็บไฟลที่ แทจริง เพราะจะทําใหโปรแกรมไมสามารถแสดงผลได (ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข. 2544 :  11) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 28. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 28 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 สวนประกอบของหนาตาง Project สวนประกอบ หนาที่ หนาตางขนาดเล็กสําหรับแสดงภาพของคลิปทีเ่ ลือก โดย A : Thumbnail viewer เมื่อคลิกเมาสทคลิปใด จะเลนภาพหรือเสียงของคลิปนัน ๆ ี่ ้ เพื่อตรวจสอบวาเปนคลิปอะไร B : Details รายละเอียดของคลิปที่เราคลิกเมาสเลือก C. Clip คลิปที่ Import เขามาใน Project D : Thumbnail View เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบมีภาพและชือ ่ E : Icon View เมื่อตองแสดงคลิปในหนาตางโปรเจ็คแบบไอคอน    F : Automate to เรียงคลปแบบรวดเรวลงบน Timeline ิ ็ Sequence Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 29. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 29 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 H : Find คนหา สวนประกอบ หนาที่ I : New สราง Bin อันใหม สรางวัตถุขนมาใหม เชน ไตเติ้ล (Title) Bar and Tone ึ้ J : Create Item Universal Counting Leader ฯลฯ K : Delete Selected Items ลบคลิปที่เลือกทิ้ง ๑.๒ Resource Central ๒. หนาตางไทมไลน (Timeline window) กลองเครื่องมือ (Tools) และ Audio ๒.๑ หนาตางไทมไลน (Timeline window) เปนพื้นที่สาหรับนําคลิป (Clip) ที่อยูในหนาตางโปรเจ็ค (Project ํ window) มาเรียงลําดับหรือตัดตอเปนเรื่องราว ๒.๒ กลองเครองมือ (The Tool Panels) ่ื Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 30. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 30 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 จับภาพใหม กลองเครื่องมือ (Toolbox) จะอยูดานบนซายมือของหนาตาง Timeline เปนหนาตางเล็กๆ ที่มความสําคัญเพราะตองทํางานคูกบหนาตาง Timeline เสมอ โดยที่ ี ั หนาตาง Tools จะเก็บเครืองมือหลักที่ใชในการตัดตอที่จําเปน ่ สวนประกอบ หนาที่ A. Selection tool Selection Tool ใชในการเลือกคลิปที่เราตองการทํางาน โดยการ คลิกเมาสที่คลิปทีอยูบน Track แลวจะปรากฏเสนประลอมรอบคลิป ่ นั้น ๆ ที่ นอกจากนี้ยังใชในการยืดหรือยอ ซึงจะมีผลทําใหเวลาใน ่ การแสดงของคลิปนั้นเพิ่มขึนหรือลดลงได ้ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 31. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 31 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 B. Track Selection Track Select Tool ใชในการก็อปปชวงที่เราตองการ แตจะเปน  tool การเลือกทุก ๆ คลิปที่อยูตอจากแทร็กที่เราเลือก  สวนประกอบ หนาที่ C. Ripple Edit tool Ripple Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มหรือลดเวลาในการแสดงของคลิป ที่เลือก โดยจะไมสงผลตอเวลาในการแสดงของคลิปที่อยูติดกัน  D. Rolling Edit tool Rolling Edit Tool ใชสําหรับเพิ่มเวลาในการแสดงใหกบคลิปที่เรา ั เลือก โดยสงผลใหคลิปทีอยูถัดไปลดเวลาในการแสดงลง ่  E. Rate Stretch tool Rate Stretch Tool เพื่อเลือกทุกคลิปที่อยูทางขวามือ F. Razor tool Razor Tool ใชสําหรับตัดคลิปออกเปนสวน ๆ โดยจะตัดทั้งเสียง G. Slip tool Slip Tool ใชในการเลื่อนคลิปที่อยูตดกัน ไมมีผลตอความเร็วและ ิ คลิปที่อยูตดกัน ิ H. Slide tool Slide Tool ใชในการเลื่อนคลิปที่อยูตดกัน ซึ่งมีผลตอความเร็วของ ิ คลิปที่อยูตดกัน ิ I. Pen tool J. Hand tool Hand Tool ใชสําหรับเลือนคลิปที่อยูนอกหนาตาง Time line ่  K. Zoom tool Zoom Tool ใชสําหรับเลื่อนไปดูคลิปที่มองไมเห็นในหนาตาง Timeline ขณะนั้น Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 32. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 32 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๓. หนาตาง Media Browser , Info , Effects และ History ๓.๑ Effects Palette สําหรับเพิ่มเทคนิคพิเศษใหกับคลิปวีดิโอ Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 33. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 33 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๔. หนาตาง Source , หนาตาง Effect Controls และ หนาตางAudio Mixer   ๔.๑ Source Monitor Source Monitor ๔.๒ Effect Controls Effect Controls Palette สําหรบปรบแตง Effect ตางๆจากหนาตาง ั ั  Effect ของ Video Effects และ Audio Effects ที่ไดเพิ่มลงไปขณะตัดตอ 5) Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554
  • 34. การใชโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS5 34 Chapter 1 Introduction to Adobe Premiere Pro CS 5 ๕. หนาตางโปรแกรมมอนิเตอร (The Program Monitor Windows) เปนสวนทแสดงคลปในโปรเจ็กตที่เรากําลังทํางาน  ี่ ิ ซึงมีสองหนาจอที่ใชใน ่ การเปรียบเทียบกันระหวางคลิปตนฉบับและคลิปที่เรากําลังตัดตออยู Program Monitor Pipit Sitthisak | Poh-Chang Academy of Arts | RMUTR Last Update : 19 กรกฎาคม 2554