SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
บูรณาการโรคตามพระคัมภีร์ที่
เกี่ยวข้องกับระบบกระดูก
กล้ามเนื้อ และข้อต่อ
ประวัติผู้ป่ วย
ชื่อ ชายไทย สูงอายุ
เพศ ชาย อายุ 65 ปี
เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2495
การศึกษา ประถมศึกษา 6 สถานภาพ สมรส
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อาชีพ
เกษตรกร
ภูมิลาเนาเดิม จังหวัดอุดรธานี
ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 142 หมู่ที่ 5 ตาบลหมากหญ้า
อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี
3
อาการเมื่อเจ็บป่ วยตามลาดับ
4
อาการเมื่อเจ็บป่ วยตามลาดับ
5
อาการเมื่อเจ็บป่ วยตามลาดับ
6
อาการเมื่อเจ็บป่ วยตามลาดับ
• รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ บางครั้งไม่ตรงเวลา
• ชอบรับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์เป็นหลัก ไม่
ชอบรับประทานผัก
• ดื่มน้าวันละ 1.5-2 ลิตร นอนหลับวันละ 6 ชั่วโมง
• ปัสสาวะวันละ 3-4 ครั้ง น้าปัสสาวะเป็นสีเหลืองใสไม่
มีอาการแสบขัด ไม่ตกตะกอน
• ถ่ายอุจจาระไม่ปกติ ท้องผูกถ่ายลาบากบางครั้ง
ลักษณะอุจจาระมีสีดาก้อนเล็กๆ มีกลิ่นเหม็น ไม่มี
เลือดปน
• ไม่ได้ออกกาลังกาย แต่ต้องเดินไล่เป็ดไปในทุ่ง ระยะ
ทางไกลๆ ประมาณ 3-4 ชั่วโมงต่อวัน
• ปัจจุบัน ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่
ประวัติส่วนตัว
การตรวจร่างกาย
อุณหภูมิ 37.3 องศา
เซลเซียส
ความดัน
โลหิต
114/68 มิลลิเมตร
ปรอท
การหายใจ 22 ครั้ง/นาที ชีพจร 64 ครั้ง/นาที
น้าหนัก 72 กิโลกรัม ส่วนสูง 162 เซนติเมตร
ค่าดัชนีมวลกาย 27.43 กิโลกรัมต่อเมตร2
(โรคอ้วนระดับ 2)
การตอบสนองของกล้ามเนื้อ(Reflex)
Rt Lt
Biceps Jerk 2+ 2+
Triceps Jerk 2+ 2+
Knee Jerk 2+ 2+
Ankle Jerk 2+ 2+
Body Chart
iบ
การตรวจทางหัตถเวช (ก่อนการรักษา)
1) ตรวจวัดส้นเท้า
• ปัญหาที่พบ ส้นเท้าทั้งสองข้างยาวไม่เท่ากัน
2) คลาดูการผิดรูปของข้อเข่า ดูอาการบวม แดง ร้อนและจุดเจ็บ
• ปัญหาที่พบ กดเจ็บตรงสะบ้า และมีความร้อนตรงน่อง
3) ตรวจดูความโก่ง
• ปัญหาที่พบ มือสอดใต้เข่า ขาทั้งสองข้างไม่โก่ง
4) เขยื้อนข้อเข่าดูความฝืด
• ปัญหาที่พบ ข้อเข่าซ้ายมีความฝืดเล็กน้อย
11
การตรวจทางหัตถเวช (ก่อนการ
รักษา)
5) เขยื้อนลูกสะบ้าเข่า
• ปัญหาที่พบ ลูกสะบ้าเคลื่อนไหวได้เป็นปกติสะบ้าไม่ลอยหรือเจ่า
(เอ็นยึดสะบ้าไม่หลวมหรือติด)
6) ตรวจองศาข้อเข่า งบพับขา 90 องศา
• ปัญหาที่พบ งบพับขาได้องศา
7) ตรวจดูองศาเข่า งอเข่าส้นเท้าชิดก้น และพับขาเป็นเลข 4 ส้นเท้าชิดหัวตะคาก
• ปัญหาที่พบ งอเข่าส้นเท้าชิดได้ทั้งสองข้าง แต่พับขาเป็นเลข 4 ส้นเท้าชิดหัวตะคาก
ไม่ได้ ปวดเสียวในข้อเข่า มีแรงต้านมือ
12
การตรวจทางหัตถเวช (ก่อนการ
รักษา)
13
การตรวจทางหัตถเวช (ก่อนการ
รักษา)
14
การวิเคราะห์สาเหตุ
1. โรคอ้วนผู้ป่ วยมีน้าหนัก 72 กิโลกรัม น้าหนักที่เกินมี
ผลต่อการเสียดสีความเสื่อม
ของข้อเข่า (น้าหนักตามเกณฑ์ BMI ควรอยู่ระหว่าง
48.5 – 60 kg.)
2. ผู้ป่ วยเคยหกล้มเข่าขวากระแทกในปี 2550 เมื่อยืน
หรือเดินทาให้ต้องถ่ายเทน้าหนักมายังเข่าซ้าย
มากกว่าปกติ
3. อิริยาบถ หรือพฤติกรรมก่อโรค ด้วยอาชีพ ผู้ป่ วยใช้
งานข้อเข่ามากเกินไปต้องยืน
หรือเดินนาน
4. กล้ามเนื้อและเอ็นบริเวณข้อเข่าซ้ายอ่อนแอลง เพราะ15
วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ
ชื่อโรค สาเหตุ อาการ
โรคไข้(ลม)จับโปง
น้า
• เกิดจากอาหาร อากาศ
และน้า
• การอักเสบของเข่าจาก
อุบัติเหตุ
• การเสื่อมตามอายุขัย
• น้าหนักตัวมาก
•การทางานหนัก
• มักเกิดกับผู้สูงอาย
• อาการจะปวดมาก บวม
แดง ร้อน
• มีน้าในไขข้อมาก
• ขณะที่บวมและอักเสบ
จะมีความร้อนขึ้นเสมอซึ่ง
สามารถทาให้เป็นไข้ได้
เรียกว่าไข้จับโปง
16
วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ
ชื่อโรค สาเหตุ อาการ
โรคลมจับโปงแห้ง • การอักเสบของเข่าจาก
อุบัติเหตุ
•การเสื่อมตามอายุขัย
• น้าหนักตัวมาก
• การทางานหนัก
• มักเกิดกับผู้สูงอายุ
• อาการจะบวม แดง ร้อน
ที่เข่าเล็กน้อย
• มีสภาวะเข่าติด ขาโก่ง
นั่งยองๆไม่ได้
17
วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ
ชื่อโรค สาเหตุ อาการ
โรคลม
ลาบองข้อเข่า
• เกิดจากอิริยาบถไม่เหมาะสม
• ทางานเกินกาลัง
• อุบัติเหตุ
• การเสื่อมตามอายุ
• มีอาการปวด บวม ตามข้อต่อ
ต่างๆ อาจเกิดได้กับทุกข้อของ
ร่างกาย
• ภายในข้อที่บวมจะมีน้าเป็นเมือก
ข้น
• อาจเกิดจากการอักเสบเมื่อเป็นฝี
18
ปถวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ เตโชธาตุ
มังสังกาเริบ
นหารูหย่อน
อัฐิมิญชังหย่อน
กิโลมกังหย่อน
อัฏฐิหย่อน
โลหิตตังหย่อน
ลสิกาหย่อน
อังคมังคานุสาวรีวาตา
หย่อน
อโธคมาวาตาหย่อน
อุทธังคมาวาตากาเริบ
สันตปัคคีหย่อน
ชีรณัคคีกาเริบ
มังสังกาเริบ
นหารูกาเริบ
อัฏฐิพิการ
โลหิตตังกาเริบ
ลสิกากาเริบ
อังคมังคานุสาวรีวาตา
หย่อน
ชิรณัคคีกาเริบ
สันตัปปัคคีกาเริบ
ปริทัยหัคคีกาเริบ
โรคไข้(ลม)จับโปงน้า
โรคลมจับโปงแห้ง
วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ
ชื่อโรค สาเหตุ อาการ
โรคเก๊าท์ - ร่างกายมีกรดยูริคสูงเกิน เป็น
เวลานาน
- การดื่มเหล้า หรือเครื่องดื่มผสม
แอลกอฮอล์จะเพิ่มความเสี่ยงที่
จะเป็นโรคเก๊าท์
- มักเป็นในผู้ป่วยที่มีอายุ
ค่อนข้างมาก
- ข้อที่อักเสบ จะบวม แดง ร้อน และ
ปวดมาก
- ข้อที่ปวดพบได้ทุกข้อ แต่พบมาก
ข้อนิ้วหัวแม่เท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ข้อมือ
ข้อนิ้วและข้อศอก
- อาการครั้งแรกมักเกิดตอนกลางคืน
ก่อให้เกิดอาการเจ็บปวดมาก
- จะเป็น ๆ หาย ๆ จะทิ้งช่วง
ระยะเวลาเป็นอาทิตย์เป็นเดือน หรือ
เป็นปีก็ได้ 20
การวินิจฉัยโรคทางหัตถเวช
 ผู้ป่ วยรายนี้มีอาการปวด บวมที่เข่าเป็ นบางครั้ง
• ไม่แดงไม่ร้อน (ผู้ป่ วยมีอาการปวดน้อยกว่าจับโปง
น้า)
• ไม่มีการติดของข้อเข่า
• เข่าไม่โก่ง สะบ้าไม่ติด
• นั่งยองๆ คุกเข่าพับเพียบนั่งขัดสมาธิไม่ได้
เนื่องจากผิวข้อเข่าที่เสื่อม และมีรอยขรุขระเกิด
การเสียดสีกัน ทาให้มีอาการปวดข้อขณะ
เคลื่อนไหว
• ข้อมีเสียงกรอบแกรบเล็กน้อยเดินไม่ถนัด 21
การวินิจฉัย = ลมจับโปง
นวดสัญญาณเข่า 3 จุด เป็นสัญญาณแยกของ
สัญญาณ 4 ขาด้านในจุดสัญญาณ 1, 2 เป็นจุด
บังคับเลือดและความร ้อนเข้าเข่าซึ่งเป็นจุดที่ใช ้
แก้โรคเกี่ยวกับเข่า ได้แก่ จับโปงเข่า ลาบองเข่า
และช่วยแก้เข่าเคลื่อน
ส่วนจุดสัญญาณ 3 เป็นจุดบังเลือดและความ
ร ้อนเข้าเข่าและสะบ้าเป็นจุดที่ใช ้แก้โรคเกี่ยวกับ
เข่าที่กล่าวข้างต้นและยังเป็นจุดที่ใช ้แก้เกี่ยวกับ
สะบ้าเข่าได้แก่สะบ้าบินสะบ้าจมสะบ้าเจ่า 22
23
24
ยามหาไชยวาต
เอาเมล็ดโหระพา ลูกกระวาน เกลือกกะตัง โกฐสอ
การะบูน เกลือสินเธาว์ เปลือกมะรุม รากจิงจ้อ เอาสิ่งละ ๑ ส่วน
กฤษณา กระลาพัก พริกไทยล่อน ว่านน้า ใบหนาด ขิงแห้ง เอาสิ่งละ ๒
ส่วน ยาดา เทียนดา กานพลู หัศคุณเทศ ดองดึง เจตมูลเพลิง ดีปลี ลูก
สมอเทศ เอาสิ่งละ ๔ ส่วน มหาหิงคุ์ ๘ ส่วน บดปั้นแท่งละลายน้าส้มซ่า
น้าขิง น้าข่ากิน ยาขนานนี้อาจประหารเสียซึ่งลมซาง ๗ จาพวกให้
ปราชัยพ่ายแพ้โดยง่าย และแก้ได้ทั้งลมผู้ใหญ่ แก้ลมอัมพาต ลมราช
ยักษ์ ลมทักขิณคุณ ลมประวาตคุณ ลมสันดาน กลมกร่อน ลม
ปัตคาด และลมทั้งปวง หายแล
25
26
ตัวยาตรง รส
ร้อน
69%
ตัวยารอง
รสเปรี้ยว
12%
ตัวยาควบคุม
รสสุขุม
15%
แต่งรส กลิ่น สี
4%

More Related Content

What's hot

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์
นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์
นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์Patcharee Kongpun
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)Sureerut Physiotherapist
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคkasocute
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 

What's hot (20)

Con3
Con3Con3
Con3
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Con14
Con14Con14
Con14
 
นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์
นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์
นำเสนอขนมไทย วัสดุอุปกรณ์
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
N sdis 78_60_7
N sdis 78_60_7N sdis 78_60_7
N sdis 78_60_7
 
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
 
Con9
Con9Con9
Con9
 
Con13
Con13Con13
Con13
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
Con15
Con15Con15
Con15
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 

Similar to Case study muscle bone join

วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนาsupphawan
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
ธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdfธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdfTu Artee
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
Orthopedic bone and joint infection cd
Orthopedic   bone and joint infection cdOrthopedic   bone and joint infection cd
Orthopedic bone and joint infection cdChanin Wasuthalainun
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนPanwad PM
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)Udomsri Jungtrakul
 

Similar to Case study muscle bone join (20)

วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนา
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
ธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdfธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdf
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
Orthopedic bone and joint infection cd
Orthopedic   bone and joint infection cdOrthopedic   bone and joint infection cd
Orthopedic bone and joint infection cd
 
Biological Clock
Biological ClockBiological Clock
Biological Clock
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
 

Case study muscle bone join

  • 2. ประวัติผู้ป่ วย ชื่อ ชายไทย สูงอายุ เพศ ชาย อายุ 65 ปี เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2495 การศึกษา ประถมศึกษา 6 สถานภาพ สมรส เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อาชีพ เกษตรกร ภูมิลาเนาเดิม จังหวัดอุดรธานี ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 142 หมู่ที่ 5 ตาบลหมากหญ้า อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี
  • 7. • รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ บางครั้งไม่ตรงเวลา • ชอบรับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์เป็นหลัก ไม่ ชอบรับประทานผัก • ดื่มน้าวันละ 1.5-2 ลิตร นอนหลับวันละ 6 ชั่วโมง • ปัสสาวะวันละ 3-4 ครั้ง น้าปัสสาวะเป็นสีเหลืองใสไม่ มีอาการแสบขัด ไม่ตกตะกอน • ถ่ายอุจจาระไม่ปกติ ท้องผูกถ่ายลาบากบางครั้ง ลักษณะอุจจาระมีสีดาก้อนเล็กๆ มีกลิ่นเหม็น ไม่มี เลือดปน • ไม่ได้ออกกาลังกาย แต่ต้องเดินไล่เป็ดไปในทุ่ง ระยะ ทางไกลๆ ประมาณ 3-4 ชั่วโมงต่อวัน • ปัจจุบัน ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่ ประวัติส่วนตัว
  • 8. การตรวจร่างกาย อุณหภูมิ 37.3 องศา เซลเซียส ความดัน โลหิต 114/68 มิลลิเมตร ปรอท การหายใจ 22 ครั้ง/นาที ชีพจร 64 ครั้ง/นาที น้าหนัก 72 กิโลกรัม ส่วนสูง 162 เซนติเมตร ค่าดัชนีมวลกาย 27.43 กิโลกรัมต่อเมตร2 (โรคอ้วนระดับ 2)
  • 11. การตรวจทางหัตถเวช (ก่อนการรักษา) 1) ตรวจวัดส้นเท้า • ปัญหาที่พบ ส้นเท้าทั้งสองข้างยาวไม่เท่ากัน 2) คลาดูการผิดรูปของข้อเข่า ดูอาการบวม แดง ร้อนและจุดเจ็บ • ปัญหาที่พบ กดเจ็บตรงสะบ้า และมีความร้อนตรงน่อง 3) ตรวจดูความโก่ง • ปัญหาที่พบ มือสอดใต้เข่า ขาทั้งสองข้างไม่โก่ง 4) เขยื้อนข้อเข่าดูความฝืด • ปัญหาที่พบ ข้อเข่าซ้ายมีความฝืดเล็กน้อย 11
  • 12. การตรวจทางหัตถเวช (ก่อนการ รักษา) 5) เขยื้อนลูกสะบ้าเข่า • ปัญหาที่พบ ลูกสะบ้าเคลื่อนไหวได้เป็นปกติสะบ้าไม่ลอยหรือเจ่า (เอ็นยึดสะบ้าไม่หลวมหรือติด) 6) ตรวจองศาข้อเข่า งบพับขา 90 องศา • ปัญหาที่พบ งบพับขาได้องศา 7) ตรวจดูองศาเข่า งอเข่าส้นเท้าชิดก้น และพับขาเป็นเลข 4 ส้นเท้าชิดหัวตะคาก • ปัญหาที่พบ งอเข่าส้นเท้าชิดได้ทั้งสองข้าง แต่พับขาเป็นเลข 4 ส้นเท้าชิดหัวตะคาก ไม่ได้ ปวดเสียวในข้อเข่า มีแรงต้านมือ 12
  • 15. การวิเคราะห์สาเหตุ 1. โรคอ้วนผู้ป่ วยมีน้าหนัก 72 กิโลกรัม น้าหนักที่เกินมี ผลต่อการเสียดสีความเสื่อม ของข้อเข่า (น้าหนักตามเกณฑ์ BMI ควรอยู่ระหว่าง 48.5 – 60 kg.) 2. ผู้ป่ วยเคยหกล้มเข่าขวากระแทกในปี 2550 เมื่อยืน หรือเดินทาให้ต้องถ่ายเทน้าหนักมายังเข่าซ้าย มากกว่าปกติ 3. อิริยาบถ หรือพฤติกรรมก่อโรค ด้วยอาชีพ ผู้ป่ วยใช้ งานข้อเข่ามากเกินไปต้องยืน หรือเดินนาน 4. กล้ามเนื้อและเอ็นบริเวณข้อเข่าซ้ายอ่อนแอลง เพราะ15
  • 16. วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ ชื่อโรค สาเหตุ อาการ โรคไข้(ลม)จับโปง น้า • เกิดจากอาหาร อากาศ และน้า • การอักเสบของเข่าจาก อุบัติเหตุ • การเสื่อมตามอายุขัย • น้าหนักตัวมาก •การทางานหนัก • มักเกิดกับผู้สูงอาย • อาการจะปวดมาก บวม แดง ร้อน • มีน้าในไขข้อมาก • ขณะที่บวมและอักเสบ จะมีความร้อนขึ้นเสมอซึ่ง สามารถทาให้เป็นไข้ได้ เรียกว่าไข้จับโปง 16
  • 17. วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ ชื่อโรค สาเหตุ อาการ โรคลมจับโปงแห้ง • การอักเสบของเข่าจาก อุบัติเหตุ •การเสื่อมตามอายุขัย • น้าหนักตัวมาก • การทางานหนัก • มักเกิดกับผู้สูงอายุ • อาการจะบวม แดง ร้อน ที่เข่าเล็กน้อย • มีสภาวะเข่าติด ขาโก่ง นั่งยองๆไม่ได้ 17
  • 18. วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ ชื่อโรค สาเหตุ อาการ โรคลม ลาบองข้อเข่า • เกิดจากอิริยาบถไม่เหมาะสม • ทางานเกินกาลัง • อุบัติเหตุ • การเสื่อมตามอายุ • มีอาการปวด บวม ตามข้อต่อ ต่างๆ อาจเกิดได้กับทุกข้อของ ร่างกาย • ภายในข้อที่บวมจะมีน้าเป็นเมือก ข้น • อาจเกิดจากการอักเสบเมื่อเป็นฝี 18
  • 19. ปถวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ เตโชธาตุ มังสังกาเริบ นหารูหย่อน อัฐิมิญชังหย่อน กิโลมกังหย่อน อัฏฐิหย่อน โลหิตตังหย่อน ลสิกาหย่อน อังคมังคานุสาวรีวาตา หย่อน อโธคมาวาตาหย่อน อุทธังคมาวาตากาเริบ สันตปัคคีหย่อน ชีรณัคคีกาเริบ มังสังกาเริบ นหารูกาเริบ อัฏฐิพิการ โลหิตตังกาเริบ ลสิกากาเริบ อังคมังคานุสาวรีวาตา หย่อน ชิรณัคคีกาเริบ สันตัปปัคคีกาเริบ ปริทัยหัคคีกาเริบ โรคไข้(ลม)จับโปงน้า โรคลมจับโปงแห้ง
  • 20. วินิจฉัยเทียบเคียงอาการ ชื่อโรค สาเหตุ อาการ โรคเก๊าท์ - ร่างกายมีกรดยูริคสูงเกิน เป็น เวลานาน - การดื่มเหล้า หรือเครื่องดื่มผสม แอลกอฮอล์จะเพิ่มความเสี่ยงที่ จะเป็นโรคเก๊าท์ - มักเป็นในผู้ป่วยที่มีอายุ ค่อนข้างมาก - ข้อที่อักเสบ จะบวม แดง ร้อน และ ปวดมาก - ข้อที่ปวดพบได้ทุกข้อ แต่พบมาก ข้อนิ้วหัวแม่เท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ข้อมือ ข้อนิ้วและข้อศอก - อาการครั้งแรกมักเกิดตอนกลางคืน ก่อให้เกิดอาการเจ็บปวดมาก - จะเป็น ๆ หาย ๆ จะทิ้งช่วง ระยะเวลาเป็นอาทิตย์เป็นเดือน หรือ เป็นปีก็ได้ 20
  • 21. การวินิจฉัยโรคทางหัตถเวช  ผู้ป่ วยรายนี้มีอาการปวด บวมที่เข่าเป็ นบางครั้ง • ไม่แดงไม่ร้อน (ผู้ป่ วยมีอาการปวดน้อยกว่าจับโปง น้า) • ไม่มีการติดของข้อเข่า • เข่าไม่โก่ง สะบ้าไม่ติด • นั่งยองๆ คุกเข่าพับเพียบนั่งขัดสมาธิไม่ได้ เนื่องจากผิวข้อเข่าที่เสื่อม และมีรอยขรุขระเกิด การเสียดสีกัน ทาให้มีอาการปวดข้อขณะ เคลื่อนไหว • ข้อมีเสียงกรอบแกรบเล็กน้อยเดินไม่ถนัด 21 การวินิจฉัย = ลมจับโปง
  • 22. นวดสัญญาณเข่า 3 จุด เป็นสัญญาณแยกของ สัญญาณ 4 ขาด้านในจุดสัญญาณ 1, 2 เป็นจุด บังคับเลือดและความร ้อนเข้าเข่าซึ่งเป็นจุดที่ใช ้ แก้โรคเกี่ยวกับเข่า ได้แก่ จับโปงเข่า ลาบองเข่า และช่วยแก้เข่าเคลื่อน ส่วนจุดสัญญาณ 3 เป็นจุดบังเลือดและความ ร ้อนเข้าเข่าและสะบ้าเป็นจุดที่ใช ้แก้โรคเกี่ยวกับ เข่าที่กล่าวข้างต้นและยังเป็นจุดที่ใช ้แก้เกี่ยวกับ สะบ้าเข่าได้แก่สะบ้าบินสะบ้าจมสะบ้าเจ่า 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. ยามหาไชยวาต เอาเมล็ดโหระพา ลูกกระวาน เกลือกกะตัง โกฐสอ การะบูน เกลือสินเธาว์ เปลือกมะรุม รากจิงจ้อ เอาสิ่งละ ๑ ส่วน กฤษณา กระลาพัก พริกไทยล่อน ว่านน้า ใบหนาด ขิงแห้ง เอาสิ่งละ ๒ ส่วน ยาดา เทียนดา กานพลู หัศคุณเทศ ดองดึง เจตมูลเพลิง ดีปลี ลูก สมอเทศ เอาสิ่งละ ๔ ส่วน มหาหิงคุ์ ๘ ส่วน บดปั้นแท่งละลายน้าส้มซ่า น้าขิง น้าข่ากิน ยาขนานนี้อาจประหารเสียซึ่งลมซาง ๗ จาพวกให้ ปราชัยพ่ายแพ้โดยง่าย และแก้ได้ทั้งลมผู้ใหญ่ แก้ลมอัมพาต ลมราช ยักษ์ ลมทักขิณคุณ ลมประวาตคุณ ลมสันดาน กลมกร่อน ลม ปัตคาด และลมทั้งปวง หายแล 25