SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
Attitude
เจตคติ ทัศนคติ
Attitude …?
สภาวะความพร้อมทางจิตที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก
นึกคิด ความเชื่อ ความรู้ ที่มีต่อบุคคล สิ่งของ สิ่งแวดล้อม
หรือ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่ตอบสนองในเชิงบวกและลบ
ส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคลนั้น
การเกิดทัศนคติแต่ละประเภทนั้น จะก่อตัวขึ้นและเปลี่ยนแปลง
ได้เนื่องจากปัจจัยหลายประการด้วยกัน ซึ่งแต่ละปัจจัยไม่ได้มีการ
เรียงลาดับตามความสาคัญแต่อย่างใด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการอ้างอิงเพื่อ
ก่อตัวเป็นเจตคตินั้น
การก่อตัวของเจตคติ (The formation of Attitude)
Component of Attitude
Cognitive
Affective
Behavioral
องค์ประกอบด้านปัญญา (Cognitive Component)
หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ของบุคคล ความคิดเห็น และ
ความเชื่อของบุคคลจะแสดงออกมาจากความประทับใจในการชอบ
หรือไม่ชอบ ซึ่งบุคคลเหล่านั้นรู้สึกต่อสิ่งของ หรือบุคคลใดบุคคล
หนึ่ง เช่น ฉันมีความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ
Component of Attitude
องค์ประกอบด้านอารมณ์ (Affective Component)
หมายถึง ส่วนประกอบของทัศนคติที่สะท้อนถึงความรู้สึกหรือ
อารมณ์ของบุคคลที่มีต่อเรื่องใดเรื่องใด ความสามารถในการ
แสดงออกด้วยความรู้สึก เช่น ฉันไม่พอใจหัวหน้างาน ฉันชอบอ่าน
หนังสือเล่มนั้น ฉันไม่ชอบเล่นกีฬา
Component of Attitude
องค์ประกอบด้านพฤติกรรม (Behavioral Component)
หมายถึง ความตั้งใจที่จะกระทา (ประพฤติ) บางสิ่งบางอย่างต่อคน
ใดคนหนึ่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในทางใดทางหนึ่ง โดยมีรากฐานมาจาก
ความรู้สึกเฉพาะเจาะจงของบุคคล เช่น ฉันกาลังจะไปว่ายน้า
Component of Attitude
การวัดเจตคติ (Attitude Measurement)
Thurstone
Bogardus Guttman
Osgood Likert
สเกลมาตรวัดเจตคติแบบออสกูส(Osgood)
คือเครื่องมือใช้วัดความต่างทางศัพท์ (Semantio Differential
Scale) ของ Osgood มีลักษณะสาคัญคือ ใช้วัดการแสดงออกทาง
จิตใจ ความเชื่อ ความรู้สึกของบุคคล ต่อบุคคล ต่อพฤติกรรม
บางอย่างหรือต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยใช้คาศัพท์เป็นคู่ที่มีความหมาย
ตรงข้ามกัน
มาตรการวัดตามแนวคิดของออสกูสเกิดจาก
การนาเอาคาคุณศัพท์ตรงข้ามแต่ละคู่ ที่ผ่านการพิจารณาเห็นชอบ
จากผู้เชียวชาญเกินครึ่งหนึ่งของจานวนผู้เชียวชาญทั้งหมด มาสร้างเป็น
มาตรวัดความรู้สึกต่อเป้าเจตคติ หรือที่เรียกว่า มโนภาพ โดยอาศัยการ
วิเคราะห์องค์องค์ประกอบ ซึ่งมาตรการวัดแบบออสกูดนี้เรียกว่า มาตรา
แบบ 2 ขั้ว (Bipolar scale) ทั้งนี้อาจจะกาหนดเป็น 3 ระดับ 4 ระดับ หรือ 7
ระดับก็ได้ตามความต้องการ (เดิมกาหนด 7 ระดับ) ซึ่งอาจจะกาหนดให้ค่า
มากในคาคุณศัพท์ที่เป็นทางบวก และกาหนดให้ค่าน้อยในคาคุณศัพท์ที่เป็น
ทางลบ ก็ได้
ลักษณะสาคัญ
1. แบบวัดนี้อาจมีจานวน 10-20 ข้อ
2. ใช้คาคุณศัพท์ ที่มีความหมายตรงข้ามเป็นคู่ๆ
3. นาคะแนนที่ได้จากมาตรวัดของบุคคลมาเปรียบเทียบกันโดยตรง
กับคนอื่นๆ หรือเรื่องอื่นที่ใช้มาตรส่วนเดียวกัน
หลักเกณฑ์การสร้างแบบ Osgood
1. เขียนด้วยคาคุณศัพท์ ที่มีความหมายตรงกันข้าม ให้ครอบคลุมสิ่งที่จะวัด
ทุกด้าน เช่น วัดเจตคติของผู้บริโภคที่มีต่อบะหมี่สาเร็จรูป ควรวัด
เกี่ยวกับด้านรสชาติ หีบห่อ ราคา ฯลฯ
2. ควรเลือกหาคาคุณศัพท์ให้ครบทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการประเมินผล
ด้านศักยภาพ และด้านกิจกรรม
3. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบการใช้ภาษา และความเป็นไปได้ของเครื่องมือ
วิเคราะห์คุณภาพ และความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ
➢ องค์ประกอบด้านการประเมิน (Evaluative factor)
➢ องค์ประกอบด้านพลังอานาจ/ด้านศักยภาพ (Potency factor)
➢ องค์ประกอบด้านกิจกรรม (Activity factor)
คาคุณศัพท์แบ่งความหมายออกเป็น 3 ด้าน
1. องค์ประกอบด้านการประเมิน (Evaluative factor)
➢แสดงออกทางด้านคุณค่า เหมาะที่จะใช้วัดเจตคติมากที่สุด
คาตรงข้ามที่นิยมใช้ในการวัดองค์ประกอบนี้ เช่น
ดี - เลว สวย - น่าเกลียด
สุข - ทุกข์ บวก - ลบ
ยุติธรรม - อยุติธรรม หวาน - เปรี้ยว
ฉลาด - โง่ มีค่า - ไร้ค่า
สาเร็จ – ล้มเหลว ใจดี - ใจร้าย
2. องค์ประกอบด้านพลังอานาจ/ด้านศักยภาพ (Potency factor)
➢แสดงออกถึงพลังอานาจ คาตรงข้ามที่ใช้ประกอบด้านนี้ เช่น
แข็งแรง - อ่อนแอ แข็ง - นุ่ม
หนัก - เบา หนา - บาง
หยาบ - ละเอียด ฮึกเหิม - เหยาะแหยะ
กล้า - กลัว ใจแข็ง - ใจอ่อน
อ่อนโยน - เข้มแข็ง มีอิทธิพล - ไร้อิทธิพล
ใหญ่ - เล็ก ลึก - ตื้น
3. องค์ประกอบด้านกิจกรรม (Activity factor)
➢แสดงออกถึงกิริยาอาการคาตรงข้ามของด้านนี้ เช่น
เร็ว - ช้า คล่องแคล่ว - เฉื่อยชา
ร้อน - เย็น อึกทึก - เงียบ
คม - ทู่ ว่องไว - อืดอาด
ตื่นเต้น - ใจเย็น ขยัน - ขี้เกียจ
ขั้นตอนการสร้างแนวคิดของออสกูด (Osgood’ s Method)
1. ศึกษาคาตรงข้ามที่เกี่ยวข้องกับมโนภาพ (เป้าเจตคติ) เช่น มโนภาพเป็น “ อาชีพครู ” ก็
จะต้องศึกษาค้นคว้าหรือสารวจ เพื่อให้ได้คาที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับเป้าหมายที่สุด วิธี
หาคาเหล่านี้อาจทาได้ 2 วิธี คือ
• ก.นั่งวิเคราะห์เองจนได้ความหมายที่ตรงกันข้ามเกี่ยวกับมโนภาพมากที่สุด แต่วิธีนี้มันคิดได้
น้อยคา เพราะคิดคนเดียว
• ข.วิธีระดมความคิด คือ หาความหมายที่เกี่ยวข้องกับมโนภาพจากคนทั่วไปโดยพยายาม
อธิบายให้เข้าใจว่า คาเหล่านั้นบรรยายถึงลักษณะของมโนภาพ เช่น มโนภาพว่า “อาชีพครู” ก็
บรรยายอาชีพครูหรือคาก็ได้ และก็ต้องมีทั้งด้านดีและไม่ดี นามาดึงเป็นคาคุณศัพท์หรือคา
อื่นที่มีความหมายสามารถหาคาตรงข้ามได้
2. หาความหมายที่เกี่ยวข้องของคาแต่ละคา จากที่ดาเนินการในครั้งที่ 1 ทั้งที่คิดเองและทั้งที่
ระดมความคิดจากผู้อื่น
3. เลือกคาที่มีความหายที่เกี่ยวข้องที่มีคนบรรยายมากเป็นหลัก นั่นคือ พยายามนาคาที่มี
ความถี่สูงพอประมาณ เช่น ตั้งแต่ ร้อยละ 10 หรือ ร้อยละ 25 ขึ้นไป
4. นาคาที่มีความหมายที่ได้เลือกไว้ในขั้นที่ 3 มาจัดเป็นคาตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ แล้วให้ผู้
ชานาญทางภาษาไทยช่วยวิจารณ์แสดงความคิดเห็น ถ้าผู้ชานาญด้านภาษาเห็นสอดคล้องกันเกิน
ครึ่ง ข้อนั้นๆควรนาไปทดลองใช้ในขั้นต่อไป
5. นาคาตรงข้ามแต่ละคู่มาสร้างเป็นมาตราวัดความรู้สึกต่อเป้าเจตคติ คือ มโนภาพ
มาตราที่ใช้อาจจะเป็น 3 ช่อง 4 ช่อง 5 ช่อง 6 ช่อง หรือ 7 ช่องก็ได้ แล้วแต่ความต้องการ ดัง
ตัวอย่าง
6. นาไปใช้ทดลองสอบกับกลุ่มตัวอย่างแล้วนามาวิเคราะห์หาอานาจจาแนกของ
แต่ละข้อตามแนวของการวิเคราะห์ t-test แบบลิเคิร์ทก็ได้หรือหาวิธีทาคะแนน
ของแต่ละข้อสัมพันธ์กับคะแนนรวม ถ้ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ก็ถือว่ามีอานาจจาแนก การเลือกก็ควรเลือกนาเฉพาะมาตราที่มีอานาจจาแนก เท่านั้น
7. ศึกษาคุณภาพอื่นๆ เช่น ความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงเป็นที่แน่ใจ โดยใช้วิธีเดียวกับ
แบบลิเคิร์ท
ตัวอย่างแบบสอบถาม Osgood
ควรมีคำชี้แจงกำรตอบให้ชัดเจนในช่องมำตรำจะมีตัวเลขหรือไม่มีก็ได้
ถ้ำเป็นตัวเลขนิยมใช้ทำงบวกเลขมำก ทำงลบเลขน้อย เช่น 7, 6, 5, 4, 3, 2, 1 3, 2, 1, 0, 1, 2, 3, ก็ได้
แบบออสกูส ( Osgood’s semantic differential scales)
ช่องห่ำงของสเกลที่ใช้อำจเป็น 5, 7 หรือ 9 ก็ได้ แต่ที่นิยมใช้คือ 7 ช่อง
ให้คะแนนสูงสุดของกำรอธิบำยคุณลักษณะในทำงดี ให้คะแนนต่ำสุดของกำรอธิบำยคุณลักษณะในทำงไม่ดี
ตัวอย่างของการวัดทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อครูประจาชั้น
ตัวอย่างแบบสอบถาม
ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับการให้บริการของทางบริษัท
ตัวเลขคะแนนในแต่ละช่องต้องการแสดงวิธีคิดคะแนนที่ต่างกัน ในข้อความที่ขึ้นต้นด้วย
คุณศัพท์ทางบวกและทางลบเท่านั้น ในการจัดทาแบบสอบถามจะไม่แสดงตัวเลขกากับ
ส่วนคะแนนรวมของแบบสอบถามคิดจากการรวมคะแนนของแต่ละข้อเช่นเดียวกัน
มาตรวัดของลิเคิร์ท Likert Scale
เป็นการศึกษาระดับของความรู้สึกนึกคิดของบุคคล ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทั้งที่
เป็นความรู้สึกทางบวก และทางลบ โดยการใช้คะแนนรวมเป็นหลักในการ
ประเมินทัศนคติของบุคคล (summated ratings)
เน้นคุณสมบัติของการวัดในด้านความเป็นมิติเดียว (Unidimensionality)
กล่าวคือ ข้อความต่าง ๆ ที่นามาประกอบกันเพื่อใช้วัดความคิดเห็นใน แต่
ละด้านของเรื่องที่ต้องการศึกษานั้นต้องเป็นข้อความที่ใช้วัดในเรื่องเดียวกัน
▪ลักษณะข้อคาถามจะประกอบไปด้วยคาถามในเชิงบวก และคาถาม
ในเชิงลบ อย่างละเท่า ๆ กัน ไม่ควรน้อยกว่า 20 ข้อ
▪เมื่อได้ข้อคาถามแล้ว จะกาหนดการให้คะแนน ซึ่งเป็นมาตรประเมิน
ค่า (rating scale) 3 ,4, 5, 7 ระดับ รวมทั้งกาหนดคาอธิบายในแต่ละ
ระดับ
▪นาคาถามที่ได้ไปวิเคราะห์รายข้อ (item analysis) เพื่อนามา
คัดเลือกข้อ
คาถามที่มีคุณภาพไว้ใช้ต่อไป
มาตรวัดของลิเคิร์ท Likert Scale
➢ ตั้งจุดมุ่งหมายของการศึกษาว่าต้องการศึกษาเจตคติของใครมีต่อสิ่งใด
➢ ให้ความหมายของทัศคติที่จะศึกษานั้นอย่างแจ่มชัด
➢ สร้างข้อความให้ครอบคลุมคุณลักษณะที่สาคัญๆของสิ่งที่จะศึกษาให้
ครบถ้วนทุกแง่มุมต้องมีทั้งข้อความที่เป็นทั้งทางบวกและทางลบ
วิธีการสร้างมาตรวัดของลิเคิร์ท
➢ ตรวจสอบข้อความที่สร้างขึ้น โดยตนเองและผู้ที่มีความรู้ (ผู้เชี่ยวชาญ) ความ
ครบถ้วน
ของคุณลักษณะที่ศึกษาและความเหมาะสมของภาษาที่ใช้ ในการพิจารณาข้อความ
นั้นให้ผู้เชี่ยวชาญระบุว่าข้อความนั้นมีลักษณะเป็นข้อความทางบวก ข้อความทางลบ
หรือมีลักษณะกลางๆ เมื่อผู้เชี่ยวชาญพิจารณาแล้ว ให้ตัดข้อความที่มีลักษณะกลางๆ
ออก เพราะการวัดเจตคติตามแบบของลิเคิร์ทนั้นข้อความที่เป็นกลางนั้นใช้ไม่ได้ (บุญ
เรียง ขจรศิลป์.2543 : 94)
➢ ทาการทดลองใช้ ก่อนนาไปใช้จริงเพื่อหา ความเที่ยงตรง ค่าอานาจจาแนก และ
ความเชื่อมั่นของมาตราวัดทัศคติ
วิธีการสร้างมาตรวัดของลิเคิร์ท
วิธีการสร้างมาตรวัดของลิเคิร์ท
ข้อความเชิงบวก 5 4 3 2 1
ข้อความเชิงลบ 1 2 3 4 5
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
➢ กาหนดการให้คะแนน โดยให้ 5 4 3 2 1 สาหรับข้อความทางบวก และ 1 2 3 4 5
สาหรับข้อความทางลบ (เรียก Arbitary weighting method)
วิธีการวัดด้วย Likert Scale
วิธีวัดความพึงพอใจหรือความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามด้วย Likert Scale
คือ การให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกแสดงความคิดเห็น จากระดับความถึงพอใจหรือระดับ
ความเห็นด้วย 5 ระดับ ต่อแบบสอบถามข้อนั้น ๆ
ระดับความเห็นด้วยทั้ง 5 ระดับ ของ Likert Scale จะมีตั้งแต่พอใจหรือเห็นด้วยที่สุด
(Favorable) ไปจนถึงไม่พอใจหรือไม่เห็นด้วยที่สุด (Unfavorable) ดังนี้
5 หมายถึง เห็นด้วยที่สุด หรือ พึงพอใจที่สุด
4 หมายถึง เห็นด้วย หรือ พอใจ
3 หมายถึง เฉย ๆ หรือ ปานกลาง
2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย หรือ ไม่พึงพอใจ
1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือ ไม่พึงพอใจอย่างยิ่ง
คาตอบของข้อความแต่ละข้อมีทางเลือก 5 ทาง คือ
เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งเห็นด้วย ไม่เห็นด้วยไม่แน่ใจ
ตัวอย่างข้อความเชิงบวก
ตัวอย่างข้อความเชิงลบ
5 4 3 2 1
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย
การถ่ายทอดฟุตบอลโลกทาให้เข้าใจกีฬามากขึ้น
ระดับความคิดเห็น
ข้อความ
การถ่ายทอดฟุตบอลโลกทาให้ประชาชนติดการพนัน
ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
1 2 3 4 5
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย
ระดับความคิดเห็น
ข้อความ
ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
รวมคะแนนที่ได้จากคาตอบของทุกข้อ 𝛴
id i1 i2 i3 i4 i5 i6 i7 i8 i20 SUM
4
5
6
7
8
9
10
1
2 2 2
2
5
1 1
1
2
3
5 5 3 4 4 4 5 4
5
5 5
5
55
5
4
45 5 5 4
4 4 5
4
4 4
4
44
2
1
25 5 2 3
4 2 4
4
4 3
4
44
3
2
45 4 4 3
3 3 4
1 1
5
4 4
3
44
2
1
44 4 4 4
4 2 2
3
3
1
1
4
4
1
1
75
85
82
65
52
84
73
80
52
25
25 4 3 2 24 4 3 3 1 57
การแปลผลแบบสอบถาม ด้วย Likert Scale
เมื่อผู้ออกแบบสอบถามเก็บข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามมาได้ และนามาหา ค่าเฉลี่ย ҧ𝑥
ซึ่งจะสามารถแปลผลความพึงพอใจหรือความเห็นด้วยของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามแนวคิด
Likert Rating Scales ได้ดังนี้
• ค่าเฉลี่ย 4.50 ถึง 5.00 หมายความว่า มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด หรือ มีความเห็นด้วยใน
ระดับมากที่สุด
• ค่าเฉลี่ย 3.50 ถึง 4.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจในระดับมาก หรือ มีความเห็นด้วยในระดับมาก
• ค่าเฉลี่ย 2.50 ถึง 3.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง หรือ มีความเห็นด้วยใน
ระดับปานกลาง
• ค่าเฉลี่ย 1.50 ถึง 2.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจในระดับน้อย หรือ มีความเห็นด้วยในระดับน้อย
• ค่าเฉลี่ย 1.00 ถึง 1.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด หรือ มีความเห็นด้วยในระดับ
น้อยที่สุด
ตัวอย่างแบบวัดเจตคติ Likert Scale
แบบวัดทัศคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
คาชี้แจง จากข้อความที่กาหนดให้ จงพิจารณาโดยละเอียด แล้ว ทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับ
ความรู้สึกของท่านมากที่สุด
แหล่งค้นคว้า
➢เครื่องมือการวิจัยและตรวจสอบคุณภาพ อ.อุทัยทิพย์ เจี่ยวิวรรธน์กุล คณะสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
➢ตัวแปรและการวัดตัวแปร ผช.รศ.นิคม ถนอมเสียง คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
➢Semantic Differential สมพงษ์ พันธุรัตน์
➢http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//53930323/chapter2.pdf 18/9/2561

More Related Content

What's hot

พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1Anawat Supappornchai
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษาNU
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21kulachai
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุนแบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุนสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)
 
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21
การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุนแบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
แบบสอบถาม การเบี่ยงเบนพฤติกรรมของวัยรุน
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 

Similar to Attitude

การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
อิทธิพลของผู้สื่อสาร
อิทธิพลของผู้สื่อสารอิทธิพลของผู้สื่อสาร
อิทธิพลของผู้สื่อสารjoobtor
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 

Similar to Attitude (20)

การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
อิทธิพลของผู้สื่อสาร
อิทธิพลของผู้สื่อสารอิทธิพลของผู้สื่อสาร
อิทธิพลของผู้สื่อสาร
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 

Attitude