SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณครู
จรรยาบรรณ หมายถึง มาตรฐานของความประพฤติ และการใช้ ดลพินิจทางศีลธรรมที่วาด้ วยการกระ
ุ
่
ท�ำของบุคคล บริ ษัท องค์กร ว่าถูกหรื อผิด สมควรหรื อไม่สมควรหรื อการศึกษาและวิธีการปฏิบตเกี่ยวกับการ
ัิ
ตัดสินใจภายในกรอบของมาตรฐานทางศีลธรรม หรื อการศึกษาว่ามีพฤติกรรมอะไรบ้ างที่ ถูก หรื อ ดี สมควร
หรื อไม่สมควร
ค�ำว่า”คุณธรรมจริ ยธรรม” นี ้ เป็ นค�ำที่คนส่วนใหญ่จะกล่าวควบคู่กนเสมอ จนท�ำให้ เข้ าใจผิดได้ ว่า
ั
ค�ำทังสองค�ำมีความหมายอย่างเดียวกันหรื อมีความหมายเหมือนกัน แท้ ที่จริ งแล้ วค�ำว่า “คุณธรรม” กับค�ำ
้
ว่า”จริ ยธรรม” เป็ นค�ำแยกออกได้ 2 ค�ำ และมีความหมายแตกต่างกันค�ำว่า “ คุณ” แปลว่า ความดี เป็ นค�ำที่
มีความหมายเป็ นทางนามธรรม ส่วนค�ำว่า “จริย” แปลว่า ความประพฤติกริยาที่ควรประพฤติเป็ นค�ำที่มีความ
หมายทางรูปธรรม ดังนัน จึงควรทีผ้ บริหารจะต้ องท�ำความเข้ าใจเกี่ยวกับความหมายของค�ำสองค�ำนี ้ให้ ถองแท้
้
่ ู
่
ก่อน (ดร.ส�ำราญ ศรี ค�ำมูล 2543)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (2538 : 189) ให้ ความหมายว่า” คุณธรรม หมายถึง
สภาพคุณงามความดี”
จรรยาบรรณและคุณธรรมจริยธรรมนักประเมินคือการวัดประเมินผลด้ วยจิตใจที่ดงามเที่ยงตรงซือสัตย์
ี
่
โดยหลักคุณธรรมจริ ยธรรมประจ�ำใจในตัวบุคคลหลอมรวมสร้ างความดีจรรยาบรรณที่มีลกษณะเด่นออกมา
ั
ทางการกระท�ำการประเมินในวิชาชีพ
ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทกษ์ (2556) ความหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความประพฤติสำหรับ
ั
�
สมาชิกวิชาชีพครู ซึงองค์กรวิชาชีพครูเป็ นผู้ก�ำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้ องถือปฏิบติโดยเคร่งครัด
่
ั
หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ
ความส�ำคัญ จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความส�ำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มี
ความส�ำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึงสรุปได้ ๓ ประการ คือ
่
bullet	 ๑. ปกปองการปฏิบตงานของสมาชิกในวิชาชีพ
้
ัิ
bullet	 ๒. รักษามาตรฐานวิชาชีพ
bullet	 ๓. พัฒนาวิชาชีพ
ลักษณะของจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จรรยาบรรณวิชาชีพครู จะต้ องมีลกษณะ ๔ ประการ คือ
ั
bullet	 ๑. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อผู้เรี ยน (Commitment to the student)
่
bullet	 ๒. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อสังคม (Commitment to the society)
่
bullet	 ๓. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อวิชาชีพ (Commitment to the profession)
่
bullet	 ๔. เป็ นค�ำมันสัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสถานปฏิบตงาน (Commitment to the employment
่
ัิ
practice)
จรรยาบรรณของผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา
	 1. มีความซื่อสัตย์ ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากการตรวจเยี่ยมและการประเมิน
	 2.ไม่น�ำความลับของข้ อมูลไปเปิ ดเผย
	 3. มีความอดกลัน และยืดหยุน
้
่
	 4. มีความยุติธรรม รายงานสิงที่ค้นพบตามหลักฐานที่ปรากฏ
่
	 5. อุทิศเวลาอย่างเต็มที่ตามวัตถุประสงค์และขอบเขตของงานที่ได้ รับมอบหมาย
จริ งๆแล้ วครูท�ำงานเกี่ยวกับการวัดผล (Measurement) จะต้ องมีจรรยาบรรณและคุณธรรมประจ�ำใจ
อยู่แล้ วที่จะให้ คะแนนเด็กนักเรี ยน คือการก�ำหนดตัวเลขให้ กบวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฎการณ์ หรื อ
ั
พฤติกรรมต่าง ๆ วัดทางตรงและ วัดทางอ้ อม ก็จะต้ องเที่ยงตรงไม่ลำเอียงเที่ยงธรรม ใช้ วิจารณญาณของ
�
ครูผ้ ประเมินมาใช้ ในการตัดสินใจ เพื่อให้ ได้ ผลเป็ นอย่างใดอย่างหนึง เช่น เด็กชายแดงได้ คะแนนวิชาภาษา
ู
่
ไทย 42 คะแนนซึงไม่ถง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผาน แต่วาเด็กคนนี ้เป็ นคนดีก็เลยให้ ผาน ในมุมมองอีกมุม
่ ึ
่
่
่
นึงคือถ้ าเด็กคนนี ้เป็ นคนดีจริ งๆ (เห็นจากการสังเกตพฤติกรรม การกระท�ำ) แล้ วอยากให้ ผานก็นาจะท�ำได้ แต่
่
่
่
เพือความเป็ นธรรมก็ต้องให้ คนอืนทีไม่ผาน ผ่านด้ วยเหมือนกันจึงจะมีความเทียงธรรม มุมมองนี ้น่าจะเรียกว่า
่
่ ่ ่
่
คุณธรรมจริ ยธรรมประจ�ำใจในตัวครูมากกว่า ซึงต่างจากคุณธรรมจริ ยธรรมของนักประเมิน
่
Sutithep Aj. (2555)ในการท�ำหน้ าที่ประเมินของผู้ประเมิน ประเด็นและสาระส�ำคัญที่ผ้ ประเมินจะต้ อง
ู
พิจารณา “ตัดสิน” เกี่ยวกับความเหมาะสมมากน้ อยเพียงใด พร้ อมทังให้ ข้อเสนอแนะในฐานะของ ผู้เชี่ยวชาญ
้
ผู้ชำนาญและผู้ทมประสบการณ์ เพือให้ ผ้ รับการประเมินหรือหน่วยงานองค์การทีรับการประเมิน ได้ นำข้ อชี ้แนะ
�
ี่ ี
่ ู
่
�
ข้ อแนะน�ำและข้ อเสนอที่เหมาะสมสอดคล้ องกับบริ บทของตนเองของหน่วยงานและขององค์กรไปปรับปรุ ง
พัฒนาให้ ดีขึ ้น ฉะนันผู้ประเมินจึงจ�ำเป็ นต้ องธ�ำรงรักษาและทรงไว้ ซงคุณธรรมจริ ยธรรมดังต่อไปนี ้
้
ึ่
เป็ นผู้ที่มีความเที่ยงตรง ต้ องมีความรู้ ความสามารถ หรื อมีศกยภาพอย่างเพียงพอในการประเมินได้
ั
ตรงกับเปาหมายและวัตถุประสงค์ มีความรู้และมีความรอบรู้วาจะต้ องประเมินอะไร ประเมินเพื่ออะไร และ
้
่
จะใช้ วิธีการประเมินอย่างไร ตลอดจนสามารถให้ คณค่าหรื อก�ำหนดคุณค่าของผลการประเมินได้ อย่างเที่ยง
ุ
ตรง ผลการประเมินต้ องสามารถใช้ ในการอ้ างอิงได้
เป็ นผู้ที่สามารถก�ำหนดระบบการประเมิน ออกแบบการประเมินได้ อย่างครอบคลุมครบถ้ วนสมบูรณ์
เหมาะสม ตามคุณลักษณะของส่วนบุคคลของหน่วยงานและขององค์การที่จะท�ำการประเมิน โดยไม่ล�ำเอียง
เลือกท�ำการประเมินเพียงคนใดคนหนึง หรื อเพียงหน่วยใดหน่วยหนึงเท่านัน
่
่
้
เป็ นผู้ที่มีความรู้ ความเข้ าใจ และสามารถประยุกต์ใช้ ศาสตร์ ทางการวัดและประเมินผลได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ วัดตามหลักวิชาการ ก�ำหนดเกณฑ์และตัดสินใจอย่างยุติธรรม ปราศจากความล�ำเอียงต้ อง
ด�ำเนินการด้ วยความบริ สทธิ์ใจ ตรงตามหลักฐานและข้ อมูลเชิงประจักษ์
ุ
มีความซื่อสัตย์สจริ ต ไม่ใช้ หลักวิชาการวัดและประเมินผลไปในทางเสื่อมเสียและน�ำมาซึงความเสื่อม
ุ
่
เสียในเกียรติภมิของนักประเมิน ไม่แปลงข้ อมูลข้ อเท็จจริ ง ไม่แก้ ข้อมูลข้ อเท็จจริ งไม่กระท�ำการใดๆ กับข้ อมูล
ู
ข้ อเท็จจริ งที่จะส่งผลให้ การประเมินผิดเพี ้ยนไปจากความเป็ นจริ งตามสภาพการณ์
มีความรับผิดชอบ ผู้ประเมินจะต้ องเป็ นผู้ที่มีความรับผิดชอบงานการวัดประเมินตามภารกิจและหน้ าที่
ที่ได้ รับมอบหมาย รับผิดชอบผลงานการวัดและประเมินด้ วยหลักคุณธรรม จริ ยธรรม ต้ องด�ำเนินการประเมิน
ให้ บรรลุผลส�ำเร็ จตามเปาหมายของการวัดและประเมิน และต้ องด�ำเนินการสอดคล้ องตามแผนการด�ำเนิน
้
การและแผนปฏิบตการที่ก�ำหนด ภายใต้ กฎระเบียบขององค์การ
ัิ
มีความละเอียดรอบคอบ เพือให้ ได้ ข้อมูลประกอบพิจารณาในการวัดและประเมินอย่างครบถ้ วนสมบูรณ์
่
ผู้ประเมินต้ องเป็ นผู้ที่มีความละเอียดรอบคอบ พิจารณาเก็บรวบรวมข้ อมูลอย่างครบถ้ วนทุกมิตทกแง่ทกมุม
ิ ุ
ุ
ในทุกระบบและทุกกระบวนการ เพื่อช่วยให้ ผลการวัดและประเมินมีความเที่ยงตรง
มีความมานะพยายาม มีความอดทนหรือมีความวิริยะ อุตสาหะ ไม่ท้อถอย ในการวัดและประเมิน เพราะ
การวัดและประเมินเป็ นงานที่ต้องใช้ ความละเอียดรอบคอบ อดทนทุมเทก�ำลังกายก�ำลังสติปัญญา ต้ องต่อสู้
่
กับความเหนื่อยยาก เบื่อหน่ายและท้ อแท้ ฉะนันผู้ที่ท�ำหน้ าที่ในการวัดและประเมินจึงต้ องมีวิริยะ อุตสาหะ
้
มีความมานะพยายาม อดทน เพื่อให้ ได้ หลักฐานข้ อมูล ข้ อเท็จจริ ง ที่จะช่วยให้ การวัดและประเมินมีคณค่า
ุ
บรรลุตามวัตถุประสงค์และเปาหมาย
้
มีความรู้ มีความรอบรู้ รู้ เท่าทันในความก้ าวหน้ าและความเปลี่ยนแปลงของศาสตร์ ในการวัดและ
ประเมิน รู้เท่าทันและมีความสามารถในการประยุกต์ใช้ ศาสตร์ ใหม่ๆ หรื อนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการวัด
และประเมินในยุคปั จจุบน
ั
“หัวใจการเป็ นครูคคือความเมตตาลูกศิษย์ทดี ท�ำได้ ไม่ดี แต่จะคอยช่วยส่งเสริมให้ ได้ ดี คือครูผ้ ประเสริฐ
ี่
ู
มีคณธรรรมประจ�ำใจ คือ เมตตา สิงนี ้จะเป็ นเครื่ องชี ้วัดว่าครูดีหรื อไม่ดี หากแต่ใช่วาจะท�ำให้ เที่ยงตรงอย่าง
ุ
่
่
เดียวแล้ วบอกว่านี ้แหละคือจรรยาบรรณการประเมินของครู”

เอกการสารอ้ างอิง

http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-2/ethics/01.html (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556)
http://www.edu.chula.ac.th/knowledge/rule/adm-rule.htm (เข ้าถึง 2 ตุลาคม 2556)
http://www.dld.go.th/feedingstandard/index.php/community-of-prac-

tice/78-2010-07-10-23-59-28/282-2010-06-20-07-16-13 (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556)

www.rtna.ac.th/rtnaQA/download/Reference02.doc (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556)

More Related Content

Viewers also liked

สิทธิพร ปัญญาพรวิทยา
สิทธิพร ปัญญาพรวิทยาสิทธิพร ปัญญาพรวิทยา
สิทธิพร ปัญญาพรวิทยาAum Soodtaling
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมAum Soodtaling
 
Position Paper - State of Broadband in the Philippines
Position Paper - State of Broadband in the PhilippinesPosition Paper - State of Broadband in the Philippines
Position Paper - State of Broadband in the PhilippinesVirgilio "Toy" Paralisan
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินAum Soodtaling
 
Project on easy day and customer analysis
Project on easy day and customer analysis Project on easy day and customer analysis
Project on easy day and customer analysis manalishah26
 
Project on easy day
Project on easy dayProject on easy day
Project on easy daymanalishah26
 

Viewers also liked (10)

สิทธิพร ปัญญาพรวิทยา
สิทธิพร ปัญญาพรวิทยาสิทธิพร ปัญญาพรวิทยา
สิทธิพร ปัญญาพรวิทยา
 
houston bankruptcy attorneys
houston bankruptcy attorneyshouston bankruptcy attorneys
houston bankruptcy attorneys
 
filing bankruptcy
filing bankruptcyfiling bankruptcy
filing bankruptcy
 
bankruptcy Houston Texas
bankruptcy Houston Texasbankruptcy Houston Texas
bankruptcy Houston Texas
 
bankruptcy code
bankruptcy codebankruptcy code
bankruptcy code
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
 
Position Paper - State of Broadband in the Philippines
Position Paper - State of Broadband in the PhilippinesPosition Paper - State of Broadband in the Philippines
Position Paper - State of Broadband in the Philippines
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมิน
 
Project on easy day and customer analysis
Project on easy day and customer analysis Project on easy day and customer analysis
Project on easy day and customer analysis
 
Project on easy day
Project on easy dayProject on easy day
Project on easy day
 

Similar to คุณธรรม ผู้ประเมิน

ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4paewwaew
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlbergNew Born
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlbergya035
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กsasiwan_memee
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Min Chatchadaporn
 

Similar to คุณธรรม ผู้ประเมิน (20)

ศีลธรรม
ศีลธรรมศีลธรรม
ศีลธรรม
 
ศศ
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
แนะแนว
แนะแนวแนะแนว
แนะแนว
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)
 

คุณธรรม ผู้ประเมิน

  • 1. คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณครู จรรยาบรรณ หมายถึง มาตรฐานของความประพฤติ และการใช้ ดลพินิจทางศีลธรรมที่วาด้ วยการกระ ุ ่ ท�ำของบุคคล บริ ษัท องค์กร ว่าถูกหรื อผิด สมควรหรื อไม่สมควรหรื อการศึกษาและวิธีการปฏิบตเกี่ยวกับการ ัิ ตัดสินใจภายในกรอบของมาตรฐานทางศีลธรรม หรื อการศึกษาว่ามีพฤติกรรมอะไรบ้ างที่ ถูก หรื อ ดี สมควร หรื อไม่สมควร ค�ำว่า”คุณธรรมจริ ยธรรม” นี ้ เป็ นค�ำที่คนส่วนใหญ่จะกล่าวควบคู่กนเสมอ จนท�ำให้ เข้ าใจผิดได้ ว่า ั ค�ำทังสองค�ำมีความหมายอย่างเดียวกันหรื อมีความหมายเหมือนกัน แท้ ที่จริ งแล้ วค�ำว่า “คุณธรรม” กับค�ำ ้ ว่า”จริ ยธรรม” เป็ นค�ำแยกออกได้ 2 ค�ำ และมีความหมายแตกต่างกันค�ำว่า “ คุณ” แปลว่า ความดี เป็ นค�ำที่ มีความหมายเป็ นทางนามธรรม ส่วนค�ำว่า “จริย” แปลว่า ความประพฤติกริยาที่ควรประพฤติเป็ นค�ำที่มีความ หมายทางรูปธรรม ดังนัน จึงควรทีผ้ บริหารจะต้ องท�ำความเข้ าใจเกี่ยวกับความหมายของค�ำสองค�ำนี ้ให้ ถองแท้ ้ ่ ู ่ ก่อน (ดร.ส�ำราญ ศรี ค�ำมูล 2543) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (2538 : 189) ให้ ความหมายว่า” คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี” จรรยาบรรณและคุณธรรมจริยธรรมนักประเมินคือการวัดประเมินผลด้ วยจิตใจที่ดงามเที่ยงตรงซือสัตย์ ี ่ โดยหลักคุณธรรมจริ ยธรรมประจ�ำใจในตัวบุคคลหลอมรวมสร้ างความดีจรรยาบรรณที่มีลกษณะเด่นออกมา ั ทางการกระท�ำการประเมินในวิชาชีพ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทกษ์ (2556) ความหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความประพฤติสำหรับ ั � สมาชิกวิชาชีพครู ซึงองค์กรวิชาชีพครูเป็ นผู้ก�ำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้ องถือปฏิบติโดยเคร่งครัด ่ ั หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ ความส�ำคัญ จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความส�ำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มี ความส�ำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึงสรุปได้ ๓ ประการ คือ ่ bullet ๑. ปกปองการปฏิบตงานของสมาชิกในวิชาชีพ ้ ัิ bullet ๒. รักษามาตรฐานวิชาชีพ bullet ๓. พัฒนาวิชาชีพ ลักษณะของจรรยาบรรณวิชาชีพครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู จะต้ องมีลกษณะ ๔ ประการ คือ ั bullet ๑. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อผู้เรี ยน (Commitment to the student) ่ bullet ๒. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อสังคม (Commitment to the society) ่ bullet ๓. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อวิชาชีพ (Commitment to the profession) ่ bullet ๔. เป็ นค�ำมันสัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสถานปฏิบตงาน (Commitment to the employment ่ ัิ practice)
  • 2. จรรยาบรรณของผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา 1. มีความซื่อสัตย์ ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากการตรวจเยี่ยมและการประเมิน 2.ไม่น�ำความลับของข้ อมูลไปเปิ ดเผย 3. มีความอดกลัน และยืดหยุน ้ ่ 4. มีความยุติธรรม รายงานสิงที่ค้นพบตามหลักฐานที่ปรากฏ ่ 5. อุทิศเวลาอย่างเต็มที่ตามวัตถุประสงค์และขอบเขตของงานที่ได้ รับมอบหมาย จริ งๆแล้ วครูท�ำงานเกี่ยวกับการวัดผล (Measurement) จะต้ องมีจรรยาบรรณและคุณธรรมประจ�ำใจ อยู่แล้ วที่จะให้ คะแนนเด็กนักเรี ยน คือการก�ำหนดตัวเลขให้ กบวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฎการณ์ หรื อ ั พฤติกรรมต่าง ๆ วัดทางตรงและ วัดทางอ้ อม ก็จะต้ องเที่ยงตรงไม่ลำเอียงเที่ยงธรรม ใช้ วิจารณญาณของ � ครูผ้ ประเมินมาใช้ ในการตัดสินใจ เพื่อให้ ได้ ผลเป็ นอย่างใดอย่างหนึง เช่น เด็กชายแดงได้ คะแนนวิชาภาษา ู ่ ไทย 42 คะแนนซึงไม่ถง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผาน แต่วาเด็กคนนี ้เป็ นคนดีก็เลยให้ ผาน ในมุมมองอีกมุม ่ ึ ่ ่ ่ นึงคือถ้ าเด็กคนนี ้เป็ นคนดีจริ งๆ (เห็นจากการสังเกตพฤติกรรม การกระท�ำ) แล้ วอยากให้ ผานก็นาจะท�ำได้ แต่ ่ ่ ่ เพือความเป็ นธรรมก็ต้องให้ คนอืนทีไม่ผาน ผ่านด้ วยเหมือนกันจึงจะมีความเทียงธรรม มุมมองนี ้น่าจะเรียกว่า ่ ่ ่ ่ ่ คุณธรรมจริ ยธรรมประจ�ำใจในตัวครูมากกว่า ซึงต่างจากคุณธรรมจริ ยธรรมของนักประเมิน ่ Sutithep Aj. (2555)ในการท�ำหน้ าที่ประเมินของผู้ประเมิน ประเด็นและสาระส�ำคัญที่ผ้ ประเมินจะต้ อง ู พิจารณา “ตัดสิน” เกี่ยวกับความเหมาะสมมากน้ อยเพียงใด พร้ อมทังให้ ข้อเสนอแนะในฐานะของ ผู้เชี่ยวชาญ ้ ผู้ชำนาญและผู้ทมประสบการณ์ เพือให้ ผ้ รับการประเมินหรือหน่วยงานองค์การทีรับการประเมิน ได้ นำข้ อชี ้แนะ � ี่ ี ่ ู ่ � ข้ อแนะน�ำและข้ อเสนอที่เหมาะสมสอดคล้ องกับบริ บทของตนเองของหน่วยงานและขององค์กรไปปรับปรุ ง พัฒนาให้ ดีขึ ้น ฉะนันผู้ประเมินจึงจ�ำเป็ นต้ องธ�ำรงรักษาและทรงไว้ ซงคุณธรรมจริ ยธรรมดังต่อไปนี ้ ้ ึ่ เป็ นผู้ที่มีความเที่ยงตรง ต้ องมีความรู้ ความสามารถ หรื อมีศกยภาพอย่างเพียงพอในการประเมินได้ ั ตรงกับเปาหมายและวัตถุประสงค์ มีความรู้และมีความรอบรู้วาจะต้ องประเมินอะไร ประเมินเพื่ออะไร และ ้ ่ จะใช้ วิธีการประเมินอย่างไร ตลอดจนสามารถให้ คณค่าหรื อก�ำหนดคุณค่าของผลการประเมินได้ อย่างเที่ยง ุ ตรง ผลการประเมินต้ องสามารถใช้ ในการอ้ างอิงได้ เป็ นผู้ที่สามารถก�ำหนดระบบการประเมิน ออกแบบการประเมินได้ อย่างครอบคลุมครบถ้ วนสมบูรณ์ เหมาะสม ตามคุณลักษณะของส่วนบุคคลของหน่วยงานและขององค์การที่จะท�ำการประเมิน โดยไม่ล�ำเอียง เลือกท�ำการประเมินเพียงคนใดคนหนึง หรื อเพียงหน่วยใดหน่วยหนึงเท่านัน ่ ่ ้ เป็ นผู้ที่มีความรู้ ความเข้ าใจ และสามารถประยุกต์ใช้ ศาสตร์ ทางการวัดและประเมินผลได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ วัดตามหลักวิชาการ ก�ำหนดเกณฑ์และตัดสินใจอย่างยุติธรรม ปราศจากความล�ำเอียงต้ อง ด�ำเนินการด้ วยความบริ สทธิ์ใจ ตรงตามหลักฐานและข้ อมูลเชิงประจักษ์ ุ มีความซื่อสัตย์สจริ ต ไม่ใช้ หลักวิชาการวัดและประเมินผลไปในทางเสื่อมเสียและน�ำมาซึงความเสื่อม ุ ่ เสียในเกียรติภมิของนักประเมิน ไม่แปลงข้ อมูลข้ อเท็จจริ ง ไม่แก้ ข้อมูลข้ อเท็จจริ งไม่กระท�ำการใดๆ กับข้ อมูล ู ข้ อเท็จจริ งที่จะส่งผลให้ การประเมินผิดเพี ้ยนไปจากความเป็ นจริ งตามสภาพการณ์ มีความรับผิดชอบ ผู้ประเมินจะต้ องเป็ นผู้ที่มีความรับผิดชอบงานการวัดประเมินตามภารกิจและหน้ าที่ ที่ได้ รับมอบหมาย รับผิดชอบผลงานการวัดและประเมินด้ วยหลักคุณธรรม จริ ยธรรม ต้ องด�ำเนินการประเมิน
  • 3. ให้ บรรลุผลส�ำเร็ จตามเปาหมายของการวัดและประเมิน และต้ องด�ำเนินการสอดคล้ องตามแผนการด�ำเนิน ้ การและแผนปฏิบตการที่ก�ำหนด ภายใต้ กฎระเบียบขององค์การ ัิ มีความละเอียดรอบคอบ เพือให้ ได้ ข้อมูลประกอบพิจารณาในการวัดและประเมินอย่างครบถ้ วนสมบูรณ์ ่ ผู้ประเมินต้ องเป็ นผู้ที่มีความละเอียดรอบคอบ พิจารณาเก็บรวบรวมข้ อมูลอย่างครบถ้ วนทุกมิตทกแง่ทกมุม ิ ุ ุ ในทุกระบบและทุกกระบวนการ เพื่อช่วยให้ ผลการวัดและประเมินมีความเที่ยงตรง มีความมานะพยายาม มีความอดทนหรือมีความวิริยะ อุตสาหะ ไม่ท้อถอย ในการวัดและประเมิน เพราะ การวัดและประเมินเป็ นงานที่ต้องใช้ ความละเอียดรอบคอบ อดทนทุมเทก�ำลังกายก�ำลังสติปัญญา ต้ องต่อสู้ ่ กับความเหนื่อยยาก เบื่อหน่ายและท้ อแท้ ฉะนันผู้ที่ท�ำหน้ าที่ในการวัดและประเมินจึงต้ องมีวิริยะ อุตสาหะ ้ มีความมานะพยายาม อดทน เพื่อให้ ได้ หลักฐานข้ อมูล ข้ อเท็จจริ ง ที่จะช่วยให้ การวัดและประเมินมีคณค่า ุ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเปาหมาย ้ มีความรู้ มีความรอบรู้ รู้ เท่าทันในความก้ าวหน้ าและความเปลี่ยนแปลงของศาสตร์ ในการวัดและ ประเมิน รู้เท่าทันและมีความสามารถในการประยุกต์ใช้ ศาสตร์ ใหม่ๆ หรื อนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการวัด และประเมินในยุคปั จจุบน ั “หัวใจการเป็ นครูคคือความเมตตาลูกศิษย์ทดี ท�ำได้ ไม่ดี แต่จะคอยช่วยส่งเสริมให้ ได้ ดี คือครูผ้ ประเสริฐ ี่ ู มีคณธรรรมประจ�ำใจ คือ เมตตา สิงนี ้จะเป็ นเครื่ องชี ้วัดว่าครูดีหรื อไม่ดี หากแต่ใช่วาจะท�ำให้ เที่ยงตรงอย่าง ุ ่ ่ เดียวแล้ วบอกว่านี ้แหละคือจรรยาบรรณการประเมินของครู” เอกการสารอ้ างอิง http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-2/ethics/01.html (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556) http://www.edu.chula.ac.th/knowledge/rule/adm-rule.htm (เข ้าถึง 2 ตุลาคม 2556) http://www.dld.go.th/feedingstandard/index.php/community-of-prac- tice/78-2010-07-10-23-59-28/282-2010-06-20-07-16-13 (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556) www.rtna.ac.th/rtnaQA/download/Reference02.doc (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556)