SlideShare a Scribd company logo
การจัดทาหน่วยการเรียนรู้
รายวิชา ศ 21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบของทัศนธาตุ
เวลา 12 ชั่วโมง
มาตรฐาน
สาระการเรียนรู้
ความคิดรวบยอด
นาไปสู่
หลักฐานการเรียนรู้
แนวทางการจัด
ตัวชี้วัด
(ผู้เรียนรู้อะไร/
สมรรถนะสาคัญ
คุณลักษณะ
ชิ้นงาน/
เครื่องมือ คะแนน กิจกรรมการ
ทาอะไรได้)
เรียนรู้
ของผู้เรียน
อันพึงประสงค์ ภาระงาน
ประเมิน
1.บรรยายความ (ผู้เรียนรู้อะไร)
ทัศนธาตุเป็น
ผลงานการ
แบบ
20
-ศึกษาสิ่งแวดล้อม
แตกต่างและ
ความคล้ายคลึง
กันของงาน
ทัศนศิลป์และ
สิ่งแวดล้อมโดย
ใช้ความรู้เรื่อง
ทัศนธาตุ
2.ระบุและ
บรรยายหลักการ
ออกแบบงาน
ทัศนศิลป์ โดย
เน้นความเป็น
เอกภาพ ความ
กลมกลืน และ
ความสมดุล

องค์ประกอบพื้นฐาน
ทาให้เกิดงานทัศนศิลป์
ในสิ่งแวดล้อมก็
ประกอบด้วยทัศนธาตุ
(ผู้เรียนทาอะไรได้) แต่มีความแตกต่างและ
คล้ายคลึงกันออกไป
บรรยายความแตกต่าง
และความคล้ายคลึงกัน เราจึงควรเรียนรู้
ของงานทัศนศิลป์และ สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ และทาความ
สิ่งแวดล้อมโดยใช้
ความรู้เรื่องทัศนธาตุเป็น เข้าใจทัศนธาตุเพื่อจะ
ได้แยกแยะความ
สื่อได้
แตกต่างและความ
คล้ายคลึงกันของาน
ทัศนศิลป์และ
สิ่งแวดล้อม
ความแตกต่างและความ
คล้ายคลึงกันของทัศน
ธาตุในงานทัศนศิลป์และ
สิ่งแวดล้อม

วาดภาพที่ใช้
ทัศนธาตุเป็น
องค์ประกอบ
ความคิด
สร้างสรรค์

ประเมินผล
งานการวาด
ภาพ

และผลงานทัศนศิลป์
ที่มีคุณค่า และมี
ความสัมพันธ์กับ
มนุษย์ตามลักษณะ
เฉพาะของทัศนธาตุ
- ศึกษาจากใบความรู้
ปฏิบัติใบงานและ
บันทึกสาระสาคัญ
ลงในใบงาน
- นาเสนอผลงาน
ตนเอง
-วัดผลประเมินผล
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1
เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ
*********************************************************************
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 เรื่อง จุดสวยสร้างสรรค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชา ทัศนธาตุ รหัสวิชา ศ21101
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
วันที.่ ................เดือน.................................................พ.ศ. .......................
*****************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
มาตรฐานที่ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด
ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. ตัวชี้วัด
2.1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้
ความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ ศ.1.1 ม.1.1 )
(
3. สาระสาคัญ
จุด เป็นทัศนธาตุพื้นฐานที่ทาให้เกิดงานทัศนศิลป์ ซึ่งไม่มีขนาด ไม่มีความกว้าง ความยาว
ความลึก ไม่สามารถหาพื้นที่ได้ เป็นบ่อแห่งการเกิดทัศนธาตุอื่นๆ จึงควรเรียนรู้ และทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับพื้นฐานของจุด เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 อธิบายความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของจุดได้ถูกต้อง
4.2 สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุดได้ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน
4.3 นักเรียนปฏิบัติตน มีวินัย มีความมุ่งมั่นในการทางาน และอยู่อย่างพอเพียง
5. เนื้อหาสาระ
ทัศนธาตุ เป็นการผสมระหว่างคาว่า ทัศนะ กับคาว่า ธาตุ ทัศนะ หมายถึง การมองเห็น
ธาตุ หมายถึง วัตถุ หรือสิ่งที่มีตัวตน เมื่อนามารวมกัน ทัศนธาตุ หมายถึง วัตถุที่มองเห็น หรือสิ่งที่
มองเห็นได้ สัมผัสได้ด้วยสายตา
จุด Point คือ รอย หรือแต้ม ที่มีลักษณะกลมๆวัดขนาดไม่ได้ เป็นองค์ประกอบสาคัญ
อันดับแรกของงานศิลปะ จุดมี 2 ลักษณะ คือ จุดเกิดจากธรรมชาติสร้างสรรค์ และ เกิดโดยฝีมือ
ของมนุษย์สร้างสรรค์
6. ความเข้าใจที่ฝั่งแน่น
จุด ( point ) เป็น สิ่งที่ปรากฏบนพื้นระนาบที่มีขนาดเล็กที่สุด ไม่มีความกว้าง ความยาว
ความสูง ความหนา หรือความลึก จุดเป็นทัศนธาตุที่เล็กที่สุดและมีมิติเป็นศูนย์ จุดสามารถแสดง
ตาแหน่งได้เมื่อมีบริเวณว่างรองรับ จุดถือเป็นพื้นฐานเบื้องต้นที่สุดในการสร้างงานทัศนศิลป์ เป็น
ต้นกาเนิดของทัศนธาตุอื่นๆ เช่น เส้น รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว
ค่าความอ่อนแก่ แสงเงา เรา
สามารถพบเห็นจุดได้โดยทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ดวงดาวบนท้องฟ้า บนส่วนต่างๆของผิวพืชและ
สัตว์ บนก้อนหิน พื้นดิน
นอกจากจุดจะเป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอื่นๆแล้ว จุดยังเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้งาน
สร้างสรรค์ต่างๆมีความสมบูรณ์มากขึ้น
7. สมรรถนะ
จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษามรทศวรรษที่ สอง พ.ศ. 2552-2561
สมรรถนะ
ความสามารถ และทักษะ
การออกแบบการเรียนรู้
ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ
จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่
ชั้นสูง
ประเมิน ทักษะการสรุปลงความเห็น
ส่งเสริมการคิด
รักการเรียนรู้ ตั้งใจเรียนมีความเพียรพยายามในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้
เรียนรู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และน่าสนใจ
ต่างๆ
ทันสมัยและเหมาะสมต่อความ
ต้องการ และความถนัดของผู้เรียน
2. ชื่อสื่อการเรียนรู้ที่ท้าทาย ทันสมัย
และส่งเสริมการเรียนรู้
การสื่อสารอย่าง ฟัง ดู พูด อ่าน เขียน อย่างมีมารยาท
สรุปองค์ความรู้จากเรื่องที่ได้เรียนรู้
สร้างสรรค์
และพูด เขียน อธิบาย ชี้แจง จากเรื่องที่
ฟัง ดู และอ่านได้หลายแง่มุมอย่าง
สมเหตุสมผล
8. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
- ความมีวินัย
- ความมุ่งมั่นในการทางาน
- อยู่อย่างพอเพียง

9. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. ทดสอบความรู้
2. สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุด
3. สรุปองค์ความรู้
10. กรอบการวัดและประเมินผล
ชิ้นงาน/ภาระงาน/ร่องรอย มาตรฐานการเรียนรู้/ วิธีการวัด
หลักฐาน
ตัวชี้วัด

เครื่องมือ

เกณฑ์การวัด
ถูก 1-4 ข้อ ปรับปรุง
ถูก5-6 ข้อ ผ่าน
ถูก 7-8 ข้อ ดี
ถูก 9-10 ข้อ ดีเยี่ยม
1-4 ปรับปรุง
5-6 พอใช้
7-8 ดี
9-10 ดีมาก
0 ไม่ส่งงาน
1 ผ่าน
2 ดี
3 ดีมาก
1-4 ปรับปรุง
5-6 พอใช้
7-8 ดี
9-10 ดีมาก

K ความรู้
ทดสอบความรู้

สาระทัศนศิลป์
ศ. 1.1 ม 1/1

ตรวจข้อสอบ

ข้อสอบ

สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุด

สาระทัศนศิลป์
ศ. 1.1 ม 1/1

ตรวจผลงาน

แบบประเมิน
ผลงาน

สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา

สาระทัศนศิลป์
ศ. 1.1 ม 1/1

ประเมินแสดง แบบประเมิน
ความคิดเห็น การแสดง
ของนักเรียน ความคิดเห็น
ของนักเรียน
สังเกตการ
แบบสังเกต
เรียนรู้
การเรียนรู้
แบบร่วมมือ

P ทักษะกระบวนการ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
-การตอบคาถาม R-C-Aที่นาไปสู่ -กาหนดทิศทางและ
สังเกต
การกาหนดเป้าหมายและทิศทาง วางแผนไปสู่เป้าหมาย
สู่ความสาเร็จ
-ปฏิบัติตามแผนที่
กาหนดไว้และปรับปรุง
ให้สาเร็จตามเป้าหมาย
A คุณลักษณะฯ
- ระเบียบวินัย
สังเกต
- อยู่อย่างพอเพียง
พฤติกรรม
- มุ่งมั่นใจการทางาน

แบบสังเกต

1 ปฏิบัติ
0 ไม่ปฏิบัติ

แบบประเมิน
พฤติกรรม

1-2 ปรับปรุง
3-4 พอใช้
5-6 ดี

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (นาเข้าสู่บทเรียน)
1. จัดกลุ่มนักเรียนโดยคละความสามารถ ( เก่ง กลาง อ่อน ) กลุ่มละ 4 คน โดยให้
มีเก่ง 1 คน กลาง 2 คน และอ่อน 1คน และให้ตั้งชื่อกลุ่ม ตนเอง
2. ให้สมาชิกกลุ่มกาหนดเป้าหมายและข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม
3. สมาชิกกลุ่มรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกและแบ่งหน้าที่ของสมาชิกกลุ่มให้
ชัดเจนตามศักยภาพและความถนัดของแต่ละคน บันทึกใน แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม
ขั้นที่ 2 ขั้นประสบการณ์(ขั้นสอน)
4. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาสาระการเรียนรู้แก่นักเรียนและ
ทดสอบก่อนเรียน
5. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน โดยผู้สอนใช้คาถามกระตุ้นให้นักเรียนคิด
หาคาตอบ เช่น หากพูดถึงคาว่าศิลปะนักเรียนนึกถึงอะไร นักเรียนรู้จักองค์ประกอบของทัศนธาตุ
ใดบ้าง หรือ ให้นักเรียนสังเกตภาพผลงานศิลปะ จาก Power Point แล้วถามว่าในภาพนี้มีทัศนธาตุ
ใดเป็นองค์ประกอบบ้าง ให้นักเรียนร่วมกันตอบ
6. นักเรียนศึกษาความรู้ เรื่อง จุด จากใบความรู้ และ จากบทเรียนโปรแกรม
พร้อมฝึกปฏิบัติและตอบคาถามในบทเรียนโปรแกรม
7. ครูอธิบายเพิ่มเติมเสริมความเข้าใจแก่นักเรียน โดยใช้สื่อ Power Point เรื่อง
พื้นฐานของจุด
8. ให้นักเรียนดูภาพผลงานที่สร้างสรรค์จากจุด และจุดที่เกิดจากธรรมชาติ และ
ร่วมกันบอกความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของจุดจากภาพและธรรมชาติ
9. ครูเปิดเสียงดนตรี และให้นักเรียนแต่ละฝึกปฏิบัติจุดสวยด้วยเสียงดนตรี ด้วย
ความอิสระ ตามเสียงดนตรี
10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้พื้นฐานเรื่องจุด และนักเรียนสรุปองค์
ความรู้ที่เรียนในวันนี้ เป็นกิจกรรมนอกเวลาเรียน
ชั่วโมงที่ 2

ขั้นที่ 3 ขั้นประยุกต์ความรู้และสร้างสรรค์ผลงาน
11. ครูแจกใบงาน 1 เรื่อง จุดสีสร้างสรรค์ และวัสดุ อุปกรณ์ สีเมจิก กระดาษ
พร้อมฟังคาอธิบายจากครู
12. กลุ่มระดมความคิดสร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติสร้างภาพด้วยจุด โดยใช้
สีเมจิก กระดาษ ที่ครูแจกให้ จุดสร้างเป็นภาพตามความคิดและจินตนาการ อย่างอิสระ โดยตั้งชื่อ
ของภาพด้วย ใช้เวลา 5 นาที
13. ครูคอยให้คาชี้แนะในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมา
ประยุกต์ในการสร้างสรรค์ผลงานของกลุ่ม
ขั้นที่ 4 ชื่นชมผลงานของกลุ่ม
14. กลุ่มนาผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียน
ร่วมกันอภิปราย ถึงจุดในผลงาน และร่วมกันประเมินผลงาน
ขั้นที่ 5 ทดสอบและคิดคะแนน
15. นาคะแนนผลงานจุดสีสร้างสรรค์ ของสมาชิกกลุ่มทุกคนหาค่าเฉลี่ย เพื่อ
เป็นคะแนนของกลุ่ม และนาคะแนนกลุ่มที่ได้รวมกับคะแนนผลงานกลุ่ม จะได้คะแนนนกลุ่มซึ่ง
เป็นคะแนนรายบุคคล กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับคะแนนพิเศษ
ขั้นที่ 6 การเสริมแรงและให้รางวัล
15. ผู้สอนกล่าวคาชื่นชมนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ งานในหน้าที่
ของกลุ่ม ให้คะแนนพิเศษแก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด และปรบมือให้กาลังใจแก่นักเรียนกลุ่มอื่นๆ
ขั้นที่ 7 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้
16. ตัวแทนกลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อการเรีย นรู้ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค
ในการทางานกลุ่ม งานเดี่ยว และบันทึกผลการเรียนรู้ในแบบบันทึกผลการเรียนรู้ (คะแนน)
17. สมาชิกกลุ่มเก็บผลงานของกลุ่มในแฟ้มสะสมผลงานกลุ่ม
12. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม
2. (Power Point) ชุด พื้นฐานของจุด
3. ทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน
4. ใบความรู้และบทเรียนโปรแกรม เรื่อง จุด
5. ใบงาน เรื่อง จุดสวยตามเสียงดนตรี
6. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน
13. กิจกรรมนอกเวลาเรียน
1. สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ
2. บันทึกการอ่าน
3. บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนรู้
บันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับ ( สาหรับครู )
การประเมินผลการเรียน
ภาคเรียนที่ ………

หน่วยการเรียน..…………………………….………

เวลา .......
………………………………………………………… สัปดาห์
วันที่ประเมิน ................./....................../...........
ระดับ

วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้
1. จุดสวยตามเสียงเพลงความคิดจินตนาการ(กลุ่ม)
2. จุดสีสร้างสรรค์ (เดี่ยว)
3. ทักษะกระบวนการ
4. คุณลักษณะฯ
5. สรุปองค์ความรู้ (เดี่ยว)
6. สรุปหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เลขที่/ชื่อน.ร.

ผลการประเมิน
วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้
1
2 3 4 5

1.
2.
3.
4.
5.
6.
นักเรียนที่ยังมีปัญหา
…………………..………………………..……..
…………………………………………………….
ข้อเสนอแนะจากการประเมิน
................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.................................................................................

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน
9-10
ดีมาก
7-8
ดี
5-6
พอใช้
1-4
ปรับปรุง
1 ปรับปรุง
2 พอใช้ 3 ดี
วิธีการประเมิน
 แบบทดสอบ  ทักษะกระบวนการ
 สมุดแบบฝึกหัด  การนาเสนอ
 ประเมินตนเอง  การสังเกตของครู
 เพื่อนประเมินเพื่อน  ตรวจผลงาน
 สรุปองค์ความรู้  อื่นๆ........................
นักเรียนที่มีจุดแข็ง
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.
การดาเนินการขั้นต่อไป
.......................................................................
.......................................................................
.....................................................................
.......................................................................
กลุ่มที.่ ...................ม.1 ห้อง......................
ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และ
ภาระงานของนักเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ
แผนการจัดการีเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง จุดสวยสร้างสรรค์ รายวิชา ทัศนศิลป์
ผู้สอน นางยศวดี สันตรัตติ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของจุดได้ถูกต้อง
2. สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุดได้

ภาระงานของนักเรียน
1. จุดสวยตามเสียงดนตรี
2. จุดสีสร้างสรรค์
3. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา
4. บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย งมาใช้ในการเรียนรู้
คะแนนเก็บ
ที่

รายการ

คะแนนเข้าเรียน
1 จุดสีสร้างสรรค์ เดี่ยว
2 จุดสวยตามเสียงดนตรี
กลุ่ม
3 กระบวนการกลุ่ม
4 คุณลักษณะฯ
5 สรุปองค์ความรู้
6. บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการเรียนรู้
รวม

คะแนนเต็ม
2
6
10
10
6
3
3

40

ได้
แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม
จุดประสงค์การเรียนรู้ วางแผนการทางานกลุ่ม
คาแนะนา
1 สมาชิกกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนการทางาน
2. สมาชิกแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละอย่างตามความถนัด
3. จัดเขียนเป้าหมายและข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม
กิจกรรมที่ 1 แบ่งหน้าที่
ชื่อกลุ่ม……………………………………
ที่

หน้าที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

กาหนดเป้าหมายและข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
ข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้ รายวิชา ทัศนศิลป์ ศ 21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1

ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ เป็นการผสมระหว่างคาว่า ทัศนะ กับคาว่า ธาตุ ทัศนะ หมายถึง การมองเห็น
ธาตุ หมายถึง วัตถุ หรือสิ่งที่มีตัวตน เมื่อนามารวมกัน ทัศนธาตุ หมายถึง วัตถุที่มองเห็น หรือสิ่งที่
มองเห็นได้ สัมผัสได้ด้วยสายตา ส่วนต่างๆที่ประกอบกันเป็นภาพในทัศนศิลป์ ได้แก่ จุด เส้น
รูปร่าง รูปทรง สี เป็นต้น

พื้นฐานของจุด
จุด (Dot) คือ รอย หรือ แต้ม ที่มีลักษณะกลมๆ ไม่มีความกว้าง ความยาว ความหนา วัด
ขนาดไม่ได้ เป็นองค์ประกอบสาคัญอันดับ แรกของงานศิลปะ
จุด เป็นต้นกาเนิดของเส้น รูปร่าง รูปทรง แสงเงา พื้นผิว ฯลฯ เช่น นาจุดมาวางเรียงต่อกัน
จะเกิดเป็นเส้น และการนาจุดมาวางให้เหมาะสม ก็จะเกิดเป็นรูปร่าง รูปทรง และลักษณะผิว
จุด มี 2 ลักษณะคือ
1. จุดที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น
จุดในลายของพืช เช่น ลาต้น ใบ ดอก ผล
จุดในลายของสัตว์ เช่น แมว สุนัข กวาง
เสือ ฯลฯ

2. จุดที่เกิดจากมนุษย์สร้างสรรค์
โดยใช้จุดขนาดต่างๆ หรือวัสดุที่คล้ายจุดมาสร้างสรรค์
เป็นผลงานทางศิลปะ ได้แก่ การกด
จุด แต้ม จิ้มด้วยวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ดินสอ
ปากกา พู่กัน วัสดุปลายแหลม
หรือ เครื่องมืออื่น
ครูผู้สอน นางยศวดี

สันตรัตติ
แบบฝึกปฏิบัติที่ 1 จุดสีสร้างสรรค์
ให้นักเรียนถ่ายทอดผลงานศิลปะด้วยการจุดสีลงในกรอบที่กาหนดให้ โดยให้นักเรียนร่าง
ภาพด้วยดินสอเป็นรูปดอกไม้ที่ตนเองชอบ แล้วใช้สีเมจิกที่ครูแจกให้จุดสร้างเป็นภาพตามความคิด
และจินตนาการของนักเรียน โดยเน้นความเข้มของภาพด้วยจุดให้ชิดกัน และตั้งชื่อของภาพด้วย

การให้คะแนน
ความ
สวยงาม

(3)

ความคิด
ความ
รวมคะแนน
สร้างสรรค์ รับผิดชอบ

(4)

(3)

(10)
แบบประเมินผลงานแบบฝึกปฏิบัติที่
คาชี้แจง ครูเป็นผู้ ตรวจชิ้น งานของนักเรียน ให้กาเครื่องหมาย  ลงในช่องคะแนนที่เห็นว่าเป็น
จริงในแต่ละรายการ

ชื่อนักเรียน / คะแนนเต็ม
1...................................
2...................................
3...................................
4...................................
5...................................
6...................................
7...................................

ความสวยงาม
3 2 1

รายการประเมิน
ความคิดสร้างสรรค์
4 3 2 1

ความรับผิดชอบ
3 2 1

รวม
คะแนน
10
เกณฑ์การประเมินผลงานของนักเรียน
จุดสีสร้างสรรค์
ค่าน้าหนัก
ประเด็นการประเมิน
แนวการให้คะแนน
คะแนน
องค์ประกอบของภาพลงตัวใช้สีสันน่าสนใจ
3
องค์ประกอบของภาพยังไม่ลงตัวหรือยังใช้สีสันไม่น่าสนใจ
ความสวยงาม
2
องค์ประกอบของภาพไม่ลงตัวและใช้สีสันไม่น่าสนใจ
1
ผลงานแปลกใหม่ไม่ซ้าใคร
4
ผลงานแปลกใหม่แต่ยังเหมือนกับคนอื่น
3
ความคิดสร้างสรรค์
คล้าย ๆ กับคนอื่นแต่มีการพัฒนาปรับปรุง
2
เหมือนกับคนอื่นไม่แตกต่าง
1
จุด มีลักษณะถูกต้อง กลม ไม่มีเส้นปะปน ทั้งภาพ
3
จุดมีลักษณะกลม มีเส้นปะปนบ้างในภาพ
ความถูกต้อง
2
จุดมีเส้นปะปนทั้งภาพ
1
รวมคะแนน
10
เกณฑ์การประเมินผลงานของนักเรียน
จุดสวยตามเสียงดนตรี
ประเด็นการประเมิน
ความตรงต่อเวลา
ความถูกต้อง
ความสวยงาม
รวมคะแนน

ค่าน้าหนัก
คะแนน
2
1
2
1
2
1
6

แนวการให้คะแนน
งานเสร็จสมบูรณ์ตามเวลาที่กาหนด
หมดเวลางานยังไม่เสร็จสมบูรณ์
จุด มีลักษณะจุดที่ถูกต้อง ไม่มีความกว้าง ยาว และหนา
จุด มีลักษณะความกว้าง ยาว และหนา
มีสีสันสวยงาม สะอาด
มีสีสันสวยงาม สกปรก เลอะเทอะ
แผนที่ 1 ( กิจกรรมนอกเวลาเรียน)
วิชา ทัศนศิลป์
รหัสวิชา ศ 21101
จุดประสงค์การเรียนรู้

ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สรุป หลักปรัชญา จานวน 2 หน่วยการเรียน
ของเศรษฐกิจพอเพียง เวลา ................... นาที

กิจกรรม (เสริม)

เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ในการเรียนรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

กิจกรรม
1. นักเรียนได้นาหลักความพอประมาณมาใช้ในการเรียนรู้อย่างไรบ้าง

............................................................................................................................. ......................................................
.................................................................................................................................................................... ...............
.................................................................................................................... ...............................................................
.........................................................................................
2. นักเรียนมีวิธีอย่างไรที่จะทาให้ผลงานหรืองานที่รับผิดชอบประสบความสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ
............................................................................................................................. ......................................................
............................................................................................................................. ......................................................
.............................................................. .....................................................................................................................
........................................................................................
3. มีเหตุผลและความจาเป็นอะไรที่นักเรียนต้องเรียนรู้ในเรื่องนี้และต้องปฏิบัติงานดังกล่าว
............................................................................................................................. .............................................. ........
............................................................................................................................. ......................................................
..................................................................... ..............................................................................................................
........................................................................................
4. ขั้นตอนการปฏิบัติเป็นอย่างไร จึงทาให้นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้สาเร็จ
............................................................................................................................. .................................................... ..
............................................................................................................................. ......................................................
........................................................................... .....................................
5. นักเรียนได้เรียนรู้ ประสบการณ์ และเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียนอะไรบ้าง หรือได้รับความรู้ที่เพิ่มขึ้นในการ

เรียนรู้ในครั้งนี้
............................................................................................................................. ......................................................
............................................................................................................................. ......................................................
........................................................................................................................................................ ...........................
........................................................................................
............................................................................................................................................ .......................................
............................................................................................ ........................................../
6. นักเรียนใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมอะไรบ้างในการเรียนรู้และปฏิบัติงาน
............................................................................................................................. ......................................................
......................................................................................................................................... ..........................................
......................................................................................... ..........................................................................................
........................................................................................
7. นักเรียนมีความพึงพอใจ หรือ ชอบกิจกรรมใดในการเรียนรู้ในครั้งนี้ เพราะอะไร
............................................................................................................................. ......................................................
................................................................................................................................. ..................................................
................................................................................. ..................................................................................................
........................................................................................
..................................................................... ........................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล...............................................ชั้น....................เลขที่.............
แผนที่ 1 จุดสวยสร้างสรรค์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
ใบงาน
วิชา ทัศนศิลป์
เรื่อง จุดที่แตกต่างสร้าง จานวน 2 หน่วยการเรียน
รหัสวิชา ศ 21101
เวลา ................... นาที
ความสวยงาม
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของจุดใน
งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
คาแนะนา
ได้คะแนน
1. นักเรียนสังเกตจุดในงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
2. สังเกตความแตกต่างและความคล้ายคลึงของจุดทั้งสองอย่าง
……….……
3. บันทึกข้อมูลในแผนภาพ
คะแนนเต็ม...…
กิจกรรม
คะแนน
ความแตกต่าง
ความเหมือน
ความแตกต่าง

ศิลปะ

สิ่งแวดล้อม

วันที่………………เดือน……………..……………พ.ศ………….
กลุ่มที่..............................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1
เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ
*********************************************************************
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 เรื่อง เส้นสร้างสรรค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชา ทัศนธาตุ รหัสวิชา ศ21101
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
วันที.่ ................เดือน.................................................พ.ศ. .......................
*****************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
มาตรฐานที่ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด
ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. ตัวชี้วัด
1.1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้
ความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ ศ.1.1 ม.1.1 )
(
3. สาระสาคัญ
ทัศนธาตุเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ทาให้เกิดงานทัศนศิลป์ ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ
ย่อย ๆ ได้แก่ จุด เส้น รูปร่างรูปทรง สี และพื้นผิว เป็นต้น การเรียนรู้ เรื่องเส้น จึงมีความสาคัญ
เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานที่ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 เขียนสรุปเรื่องพื้นฐานของเส้น เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ เส้นใน
ทัศนธาตุและสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้อง
4.2 สร้างสรรค์งานศิลปะจากเส้นลักษณะต่างๆได้
5. เนื้อหาสาระ
เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ ของจุด หรือถ้าเรานาจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป ก็จะเกิด
เป็นเส้นขึ้นเส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง รูปร่าง
รูปทรง น้าหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่างรูปทรง
เส้นเป็นพื้นฐานที่สาคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดงความรู้สึก
และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะ คือเส้นตรง
(Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้เมื่อนามาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน
จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันอีกด้วย
6. ความเข้าใจที่ฝั่งแน่น
เส้นเป็นทัศนธาตุที่สาคัญในทางศิลปะ กล่าวได้ว่าเส้นเป็นจุดเริ่มต้นของการ
ออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด (จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม) เส้นเกิดจากจุดจานวน
มาก ที่นามาเรียงติดต่อเชื่อมโยงกันบนพื้นระนาบของทิศทางจนสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าเป็น
ลักษณะเส้นชนิดใด เช่น แนวตั้ง แนวนอน โค้ง คด แนวหยัก หักเห เมื่อนาเอามาประกอบ
แสดงทิศทางทาให้เกิดรูปร่าง รูปทรง เกิดเนื้อที่มีขนาด มีน้าหนัก มีปริมาตร ในทางปฏิบัติวิธี
ทาให้เกิดเส้นจะเกิดจากการขูด ขีด เขียนด้วยดินสอ ปากกาพู่กันหรือแปรงและเครื่องมืออื่นๆ ที่
สามารถทาให้เกิดเป็นเส้นได้ เส้นแบ่งตามลักษณะใหญ่ ๆ ได้ 5 ชนิด แต่ละชนิดจะมีคุณค่าและ
ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน
7. สมรรถนะ
จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษามรทศวรรษที่ สอง พ.ศ. 2552-2561
สมรรถนะ
ความสามารถ และทักษะ
การออกแบบการเรียนรู้
ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ
จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่
ชั้นสูง
ประเมิน ทักษะการสรุปลงความเห็น
ส่งเสริมการคิด
รักการเรียนรู้ ตั้งใจเรียนมีความเพียรพยายามในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้
เรียนรู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และน่าสนใจ
ต่างๆ
ทันสมัยและเหมาะสมต่อความ
ต้องการ และความถนัดของผู้เรียน
2. ชื่อสื่อการเรียนรู้ที่ท้าทาย ทันสมัย
และส่งเสริมการเรียนรู้
การสื่อสารอย่าง ฟัง ดู พูด อ่าน เขียน อย่างมีมารยาท
สรุปองค์ความรู้จากเรื่องที่ได้เรียนรู้
สร้างสรรค์
และพูด เขียน อธิบาย ชี้แจง จากเรื่องที่
ฟัง ดู และอ่านได้หลายแง่มุมอย่าง
สมเหตุสมผล
8. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
- ความมีวินัย
- ความมุ่งมั่นในการทางาน
- ความซื่อสัตย์
9. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. วิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของเส้นในทัศนธาตุและ
สิ่งแวดล้อม(ผังเวนน์ไดอะแกรม)
2. สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์จากเส้นลักษณะต่างๆ
3. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา
10. กรอบการวัดและประเมินผล
ชิ้นงาน/ภาระงาน/ร่องรอย
หลักฐาน
K ความรู้
วิเคราะห์เปรียบเทียบความ
เหมือนและความแตกต่าง
ของเส้นในทัศนธาตุและ
สิ่งแวดล้อม(ผังเวนน์
ไดอะแกรม)
สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
จากเส้นลักษณะต่างๆ

มาตรฐานการเรียนรู้/ วิธีการวัด เครื่องมือ
ตัวชี้วัด
สาระทัศนศิลป์
ตรวจผลงาน แบบ
ศ. 1.1 ม 1/1
ประเมินผล
งาน

สาระทัศนศิลป์
ศ. 1.1 ม 1/1

ตรวจผลงาน แบบ
ประเมิน
ผลงาน

สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา

สาระทัศนศิลป์
ศ. 1.1 ม 1/1

ประเมิน
แสดงความ
คิดเห็นของ
นักเรียน

P ทักษะกระบวนการ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ

-

สังเกตการ
เรียนรู้

เกณฑ์การวัด
1-4 ปรับปรุง
5-6 พอใช้
7-8 ดี
9-10 ดีมาก

1-4 ปรับปรุง
5-6 พอใช้
7-8 ดี
9-10 ดีมาก
แบบ
0 ไม่ส่งงาน
ประเมินการ 1 ผ่าน
แสดงความ 2 ดี
คิดเห็นของ 3 ดีมาก
นักเรียน
แบบสังเกต 1-4 ปรับปรุง
การเรียนรู้ 5-6 พอใช้
แบบร่วมมือ 7-8 ดี
9-10 ดีมาก
A คุณลักษณะฯ

- วินัย
สังเกต
- ความซื่อสัตย์
พฤติกรรม
- มุ่งมั่นใจการทางาน

แบบ
ประเมิน
พฤติกรรม

1-4 ปรับปรุง
5-6 พอใช้
7-8 ดี
9-10 ดีมาก

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (นาเข้าสู่บทเรียน)
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาสาระการเรียนรู้แก่นักเรียนและ
ทดสอบก่อนเรียน
2. ครูทบทวนความรู้เดิม เรื่อง จุดที่เรียนผ่านมา และเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่
3. นักเรียนดูภาพจาก Power Point และช่วยกันบอกเส้นลักษณะต่างๆที่
ปรากฏในภาพมี อะไรบ้าง
ขั้นที่ 2 ขั้นประสบการณ์(ขั้นสอน)
3. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ เรื่องเส้น โดยใช้ Power Point ประกอบการให้ความรู้
4. นักเรียนทบทวนความรู้จากใบความรู้ เรื่อง จุดสร้างสรรค์ และหนังสือเรียน
ศิลปะ ม.1
5. ครูให้นักเรียนดูภาพผลงานที่สร้างสรรค์จากเส้น และภาพเส้นในธรรมชาติ
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติ ใบงานที่ 1 เรื่อง เส้นธรรมชาติสร้างสรรค์
โดยร่วมกันวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงของเส้นในธรรมชาติและ ใน
ผลงานศิลปะ เป็น (ผังเวนน์ไดอะแกรม)
7. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานของตนเอง และร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เรียนมาเพื่อ
นาไปสรุปองค์ความรู้เป็น กิจกรรมนอกเวลาเรียน
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นที่ 3 ขั้นประยุกต์ความรู้และสร้างสรรค์ผลงาน
8. ครูแจกแบบฝึกปฏิบัติ โดยนักเรียนทาแบบฝึกปฏิบัติที่ 1 เรื่อง เส้นสร้างสรรค์
ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติสร้างภาพด้วยเส้นลักษณะต่างๆ ตามความคิดและจินตนาการของนักเรียน
โดยตั้งชื่อของภาพด้วย ใช้เวลา 30 นาที
9. กลุ่มระดมความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างสรรค์ผลงานจากการใช้เส้น โดย
ครูคอยให้คาชี้แนะในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ในการสร้างสรรค์
ผลงานของกลุ่ม
ขั้นที่ 4 ชื่นชมผลงานของกลุ่ม
10. กลุ่มนาผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียน
ร่วมกันอภิปราย ถึงองค์ประกอบของทัศนธาตุในผลงาน และร่วมกันประเมินผลงาน
ขั้นที่ 5 ทดสอบและคิดคะแนน
10. ทดสอบความรู้ท้ายหน่วย
11. นาคะแนนทดสอบความรู้ท้ายหน่วยของสมาชิกกลุ่มทุกคนหาค่าเฉลี่ย เพื่อ
เป็นคะแนนของกลุ่ม และนาคะแนนกลุ่มที่ได้รวมกับคะแนนผลงานกลุ่ม จะได้คะแนนนกลุ่มซึ่ง
เป็นคะแนนรายบุคคล กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับคะแนนพิเศษ
ขั้นที่ 6 การเสริมแรงและให้รางวัล
12. ผู้สอนกล่าวคาชื่นชมนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานในหน้าที่
ของกลุ่ม ให้คะแนนพิเศษแก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด และปรบมือให้กาลังใจแก่นักเรียนกลุ่มอื่นๆ
ขั้นที่ 7 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้
13. ตัวแทนกลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนรู้ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค
ในการทางานกลุ่ม งานเดี่ยว และบันทึกผลการเรียนรู้ในแบบบันทึกผลการเรี ยนรู้(คะแนน)
14. สมาชิกกลุ่มเก็บผลงานของกลุ่มในแฟ้มสะสมผลงานกลุ่ม
12. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. (Power Point) ชุด เส้นสร้างสรรค์
3. ทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน
4. ใบความรู้ เรื่อง เส้นสร้างสรรค์
5. แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง เส้นสร้างสรรค์
6. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน
7. ใบงาน เรื่อง เส้นธรรมชาติสร้างสรรค์
13. กิจกรรมนอกเวลาเรียน
สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ
บันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับ ( สาหรับครู )
การประเมินผลการเรียน
ภาคเรียนที่ 1

หน่วยการเรียน..…………………………….………

เวลา .......
………………………………………………………… สัปดาห์
วันที่ประเมิน ................./....................../...........
ระดับ

วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้
1. วาดภาพที่ใช้เส้นลัษณะต่างๆเป็นองค์ประกอบตาม
ความคิดจินตนาการ
2. ทดสอบความรู้ท้ายหน่วย
3. เขียนบรรยายความแตกต่าง
4. คุณลักษณะฯ
5. สมรรถนะ

เลขที่/ชื่อน.ร.

ผลการประเมิน
วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้
1
2 3 4 5

1.
2.
3.
4.
5.
6.
นักเรียนที่ยังมีปัญหา
…………………..………………………..……..
…………………………………………………….
ข้อเสนอแนะจากการประเมิน
................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.................................................................................

เกณฑ์การประเมิน
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง

คะแนน
4
3
2
1

วิธีการประเมิน
 แบบทดสอบ  ทักษะการปฏิบัติ
 สมุดแบบฝึกหัด  การนาเสนอ
 ประเมินตนเอง  การสังเกตของครู
 เพื่อนประเมินเพื่อน  ตรวจผลงาน
 อื่นๆ...........................................................
นักเรียนที่มีจุดแข็ง
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.
การดาเนินการขั้นต่อไป
.......................................................................
.......................................................................
.....................................................................
.......................................................................
กลุ่มที่....................ม.1 ห้อง......................
ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ
แผนการจัดการีเรียนรู้ ที่ 2 เรื่อง เส้นสร้างสรรค์ รายวิชา ทัศนศิลป์
ผู้สอน นางยศวดี สันตรัตติ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1 เขียนสรุปความหมาย เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ เส้นในทัศนธาตุ
และสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้อง
2 สร้างสรรค์งานศิลปะจากเส้นลักษณะต่างๆได้

ภาระงานของนักเรียน
1. ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง ข้อสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
2. วิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของเส้นในทัศนธาตุและ
สิ่งแวดล้อม(ผังเวนน์ไดอะแกรม)
3. สร้างสรรค์ผลงานศิลปะจากเส้นลักษณะต่างๆ
4. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา
ใบความรู้
เรื่อง เส้น

เส้น (Line)
เส้นเป็นทัศนธาตุที่สาคัญในทางศิลปะ กล่าวได้ว่าเส้นเป็นจุดเริ่มต้นของการ
ออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด (จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม) เส้นเกิดจากจุดจานวน
มาก ที่นามาเรียงติดต่อเชื่อมโยงกันบนพื้นระนาบของทิศทางจนสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าเป็น
ลักษณะเส้นชนิดใด เช่น แนวตั้ง แนวนอน โค้ง คด แนวหยัก หักเห เมื่อนาเอามาประกอบ
แสดงทิศทางทาให้เกิดรูปร่าง รูปทรง เกิดเนื้อที่มีขนาด มีน้าหนัก มีปริมาตร ในทางปฏิบัติวิธีทา
ให้เกิดเส้นจะเกิดจากการขูด ขีด เขียนด้วยดินสอ ปากกาพู่กันหรือแปรงและเครื่องมืออื่นๆ ที่
สามารถทาให้เกิดเป็นเส้นได้ เส้นแบ่งตามลักษณะใหญ่ ๆ ได้ 5 ชนิด แต่ละชนิดจะมีคุณค่าและ
ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน ดังนี้
1. เส้นตรง (Straight Lines) มี 3 ลักษณะ คือ
1.1 เส้นตั้ง ให้ทิศทางแนวตั้งหรือดิ่งลงมา ให้ความรู้สึ กมั่นคง แข็งแรง สง่า
งาม เป็นระเบียบ เช่น ตึกสูง ๆ เสาไฟฟ้า ต้นไม้ คนยืนตรง เป็นต้น

1.2 เส้นนอน เส้นราบ หรือเส้นระดับ ให้ทิศทางในแนวนอนหรือราบ ให้
ความรู้สึกสงบนิ่ง ราบเรียบ ปลอดภัย ไม่มีอันตราย เช่น ทะเลที่สงบเงียบปราศจากคลื่น เส้นทางที่
ราบเรียบ คนนอนพักผ่อน เป็นต้น
1.3 เส้นตรงเฉียง ให้ทิศทางทแยง ให้ความรู้สึกไม่ตรง โน้มเอียง เป็นเส้นทางเดินของแสงสว่าง
ความรวดเร็ว เช่น แสงสว่างของดวงอาทิตย์ แสงสว่างของดวงไฟ เป็นต้น

2. เส้นโค้ง (Curve Line) มี 3 ลักษณะ คือ
2.1 เส้นโค้งของวงกลม ให้ความรู้สึกอ่อนโยน อ่อนช้อย นิ่มนวล ความเศร้า
เช่น ภาพคนที่อ่อนน้อม ภาพวาดแบบไทย ภาพต้นไม้ที่ เหี่ยวเฉา เป็นต้น
2.2 เส้นโค้งอิสระ ถ้าเส้นโค้งขึ้นสูงจะแสดงถึงความเจริญเติบโต ก้าวหน้า
เช่น การเจริญงอกงามของพืช ความก้าวหน้าของชีวิต เปลวไฟ ลวดลายในศิลปะไทย เป็นต้น
2.3 เส้นโค้งคด หรือก้นหอย ให้ความรู้สึกมีพลังหมุนอย่างรุนแรง การ
คลี่คลายขยายตัวออกไปไม่มีสิ้นสุด เช่น พายุหมุน กังหันหมุน การคลายเกลียว เป็นต้น
3. เส้นคด (Winding Line) ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด เช่น ทางที่
คดเคี้ยว แม่น้า ลาธาร คลื่นทะเล การวาดภาพน้าในศิลปะไทย เป็นต้น
4. เส้นฟันปลาหรือซิกแซ็ก (Zigzag Line) ให้ความรู้สึกไม่ราบรื่น เคลื่อนไหวอย่าง
รุนแรง ตื่นเต้น เช่น เส้นทางที่ขรุขระ ฟันเลื่อย การตื่นเต้นตกใจกลัว การขัดแย้ง เป็นต้น
5. เส้นประหรือเส้นขาด (Jagged Lines) ให้ความรู้สึกไม่เป็นระเบียบ สับสนวุ่นวาย
ไม่มั่นคง เก่า เสื่อมโทรม อันตราย เช่น สิ่งที่ปรักหักพังกาลังจะแตกสลาย รอยร้าวของวัตถุ และ
ลายเส้นที่แสดงความไม่แน่นอน เป็นต้น
ความสาคัญของเส้น
1. ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วน ๆ
2. กาหนดขอบเขตของที่ว่าง หมายถึง ทาให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา
3. กาหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทาให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น
4. ทาหน้าที่เป็นน้าหนักอ่อนแก่ ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาด้วยเส้น
5. ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูป และโครงสร้างของภาพ
แผนที่ 1องค์ประกอบของทัศนธาตุ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
ใบงาน
วิชา ทัศนศิลป์
จานวน 2 หน่วยการเรียน
เรื่อง เส้นธรรมชาติ
รหัสวิชา ศ 21101
เวลา ................... นาที
สร้างสรรค์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของเส้นใน
งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
คาแนะนา
ได้คะแนน
1. นักเรียนสังเกตเส้นในงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
2. สังเกตความแตกต่างและความคล้ายคลึงของเส้นทั้งสองอย่าง
……….……
3. บันทึกข้อมูลในแผนภาพ
คะแนนเต็ม...…
กิจกรรม
คะแนน
ความแตกต่าง
ความเหมือน
ความแตกต่าง

เส้นในศิลปะ

เส้นในสิ่งแวดล้อม

วันที่………………เดือน……………..……………พ.ศ………….
กลุ่มที่..................................................................................................................................................
แบบฝึกปฏิบัติที่ 1 เส้นสร้างสรรค์
ให้นักเรียนถ่ายทอดผลงานศิลปะด้วยการเส้นลักษณะต่างๆลงในกรอบที่กาหนดให้ โดยให้
นักเรียนร่างภาพด้วยดินสอเป็นรูปภาชนะต่างๆ เช่น แจกัน ขวด แล้วใช้ดินสอ ดินสอสี ปากกา
สร้างเป็นภาพตามความคิดและจินตนาการของนักเรียน โดยเน้นความเข้มของภาพด้วยเส้นให้ชิด
กัน และตั้งชื่อของภาพด้วย

การให้คะแนน
ความ
สวยงาม

(3)

ความคิด
ความ
รวมคะแนน
สร้างสรรค์ รับผิดชอบ

(4)

(3)

(10)
หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1
เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ
*********************************************************************
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง รูปร่าง รูปทรง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชา ทัศนธาตุ รหัสวิชา ศ21101
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
วันที.่ ................เดือน.................................................พ.ศ. .......................
*****************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
มาตรฐานที่ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดส้างสรรค์
ร
วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด
ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. ตัวชี้วัด
1.1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้
ความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ ศ.1.1 ม.1.1 )
(
3. สาระสาคัญ
รูปร่าง คือ เส้นรอบนอกของวัตถุจากต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดโครงสร้างทั้งหมดของวัตถุ
ที่
ปรากฎแก่สายตาในลักษณะ 3 มิติ ซึ่งในการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะจาเป็นต้องมีความรู้
เกี่ยวกับรูปร่างรูปทรง อันจะนาไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะที่มีประสิทธิภาพ
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรงได้ถูกต้อง
2. นักเรียนสร้างสรรค์ภาพด้วยรูปร่าง รูปทรงได้อย่างสวยงาม
5. เนื้อหาสาระ
รูปร่าง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกทางกายภาพของวัตถุ สิ่งของเครื่องใช้ คน สัตว์
และ พืช มีลักษณะเป็น 2 มิติ มีความกว้างและความยาว
รูปร่าง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1.รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นต้น
2.รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รูปร่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีโครงสร้าง
แน่นอน เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และรูปวงกลม เป็นต้น
3.รูปร่างอิสระ (Free Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นตามความต้องการของผู้
สร้างสรรค์ ให้ความรู้สึกที่เป็นเสรี ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนของตัวเอง เป็นไปตามอิทธิพลของ
สิ่งแวดล้อม เช่น รูปร่างของหยดน้า เมฆ และควัน เป็นต้น
รูปทรง (Form) หมายถึง โครงสร้างทั้งหมดของวัตถุที่ปรากฎแก่สายตาในลักษณะ 3
มิติ คือมีทั้งส่วนกว้าง ส่วนยาว ส่วนหนาหรือลึก คือ จะให้ความรู้สึกเป็นแท่ง มีเนื้อที่ภายใน มี
ปริมาตร และมีน้าหนัก
6. ความเข้าใจที่ฝั่งแน่น
รูปร่าง เป็นรูปร่างภายนอกของวัตถุต่างๆ มี 3 ลักษณะ คือ รูปร่างธรรมชาติ รูปร่าง
เลขาคณิต และรูปร่างอิสระ ส่วน รูปทรง มีคาวมกว้าง ยาว หนา องค์ประกอบของศิลปะระหว่าง
รูปร่างกับรูปทรงทั้งสองส่วนประกอบนั้น เป็นผลที่เกิดจากการนาเอาเส้นลักษณะต่างๆ มาประกอบ
กันให้เป็นเนื้อหาสาระเรื่องราวทางทัศนศิลป์
7. สมรรถนะ
จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษามรทศวรรษที่ สอง พ.ศ. 2552-2561
สมรรถนะ
ความสามารถ และทักษะ
การออกแบบการเรียนรู้
ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ
จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่
ชั้นสูง
ประเมิน ทักษะการสรุปลงความเห็น
ส่งเสริมการคิด
รักการเรียนรู้ ตั้งใจเรียนมีความเพียรพยายามในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้
เรียนรู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และน่าสนใจ
ต่างๆ
ทันสมัยและเหมาะสมต่อความ
ต้องการ และความถนัดของผู้เรียน
2. ชื่อสื่อการเรียนรู้ที่ท้าทาย ทันสมัย
และส่งเสริมการเรียนรู้
การสื่อสารอย่าง ฟัง ดู พูด อ่าน เขียน อย่างมีมารยาท
สรุปองค์ความรู้จากเรื่องที่ได้เรียนรู้
สร้างสรรค์
และพูด เขียน อธิบาย ชี้แจง จากเรื่องที่
ฟัง ดู และอ่านได้หลายแง่มุมอย่าง
สมเหตุสมผล

8. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
- ความมีวินัย
- ความมุ่งมั่นในการทางาน
- อยู่อย่างพอเพียง
9. ชิ้นงาน/ภาระงาน

1. แบบฝึกปฏิบัติ
2. สร้างสรรค์ภาพด้วยรูปร่าง และรูปทรงได้
3. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา
10. กรอบการวัดและประเมินผล
ชิ้นงาน/ภาระงาน/ร่องรอย
หลักฐาน
สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา

มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระทัศนศิลป์
ศ. 1.1 ม 1/1

สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
จากรูปร่างรูปทรงลักษณะ
ต่างๆ

สาระทัศนศิลป์
ศ. 1.1 ม 1/1

P ทักษะกระบวนการ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ

-

วิธีการวัด
ประเมิน
แสดงความ
คิดเห็นของ
นักเรียน

เครื่องมือ

แบบ
ประเมิน
การแสดง
ความ
คิดเห็น
ของ
นักเรียน
ตรวจผลงาน แบบ
ประเมิน
ผลงาน
สังเกตการ
เรียนรู้

เกณฑ์การวัด
0 ไม่ส่งงาน
1 ผ่าน
2 ดี
3 ดีมาก

1-4 ปรับปรุง
5-6 พอใช้
7-8 ดี
9-10 ดีมาก
แบบ
1-4 ปรับปรุง
สังเกตการ 5-6 พอใช้
A คุณลักษณะฯ

- วินัย
สังเกต
- อยู่อย่างพอเพียง
พฤติกรรม
- มุ่งมั่นใจการทางาน

เรียนรู้
แบบ
ร่วมมือ
แบบ
ประเมิน
พฤติกรรม

7-8 ดี
9-10 ดีมาก
1-2 ปรับปรุง
3-4 พอใช้
5-6 ดี

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (นาเข้าสู่บทเรียน)
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาสาระการเรียนรู้แก่นักเรียน
2. ครูทบทวนความรู้เดิม เรื่อง เส้นที่เรียนผ่านมา และเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่
3. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่าง ขวดน้าพลาสติก ลูกบอล แจกัน และรูปทรง
เลขาคณิต แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบว่าสิ่งของแต่ละอย่างที่เห็นมีรูปร่างลักษณะอย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นประสบการณ์(ขั้นสอน)
3. ครูให้ความรู้ เรื่อง รูปร่าง รูปทรง ด้วยสื่อ Power Point
4. นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมจากใบความรู้ เรื่อง รูปร่างรูปทรง
5. นักเรียนศึกษาเพิ่มเติม จากบทเรียนโปรแกรม พร้อมฝึกปฏิบัติกิจรรมใน
บทเรียน
5. กลุ่มนักเรียนช่วยกันสร้างรูปร่างด้วยวิธีเจาะกระดาษ ตามขั้นตอนดังนี้
- ตัดกระดาษให้มีขนาด 3 X 3 นิ้ว
พับครึ่งของกระดาษ
ใช้กรรไกรตัดเจาะกระดาษ ให้เกิดช่องขนาดต่างๆ แต่ไม่ขาดจากัน
กระดาษที่ถูกตัดออกจะทาให้เกิดรูปร่างภายในมากมาย
คลี่แผ่นกระดาษออก ถ้ายังไม่พอใจให้พับกระดาษตามรอยเดิมแล้วเจาะ
เพิ่ม
นากระดาษที่เจาะของสมาชิกกลุ่มทุกคนมาจัดวางในกระดาษที่กาหนให้
ทากาวติดในกระดาษแข็ง
6. นาเสนอผลงานกลุ่มร่วมกัน

ชั่วโมงที่ 2

ขั้นที่ 3 ขั้นประยุกต์ความรู้และสร้างสรรค์ผลงาน
7. ครูแจกแบบใบงาน เรื่อง อัศจรรย์รูปร่าง รูปทรง ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติสร้าง
ภาพด้วยรูปร่าง รูปทรง ลักษณะต่างๆ ตามความคิดและจินตนาการของนักเรียน โดยตั้งชื่อของภาพ
ด้วย ใช้เวลา 30 นาที
8. ครูอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานให้นักเรียนทราบ
เขียนกรอบขนาดกว้าง 7 นิ้ว ยาว 7 นิ้ว ลงในกระดาษที่กาหนดให้
แบ่งตารางเป็นช่อง ช่องละ 1 นิ้ว
ออกแบบรูปร่างเรขาคณิต และรูปทรง ลงในตารางแต่ละช่อง
ระบายสีลงในช่องที่เกิดขึ้นทุกช่องจนเต็มทั้งภาพ
9. กลุ่มระดมความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างสรรค์ผลงานจากการใช้รูปร่างและ
รูปทรงต่างๆมาผสมผสานกันตามความคิดจิตนาการของกลุ่ม โดยครูคอยให้คาชี้แนะในการ
ปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ในการสร้างสรรค์ผลงานของกลุ่ม
ขั้นที่ 4 ชื่นชมผลงานของกลุ่ม
9. กลุ่มนาผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียน
ร่วมกันอภิปราย ถึงรูปร่าง รูปทรง ในผลงาน และร่วมกันประเมินผลงาน
ขั้นที่ 5 ทดสอบและคิดคะแนน
10. นาคะแนนจากการปฏิบัติของสมาชิกกลุ่มทุกคนหาค่าเฉลี่ย เพื่อเป็นคะแนน
ของกลุ่ม และนาคะแนนกลุ่มที่ได้รวมกับคะแนนผลงานกลุ่ม จะได้คะแนนนกลุ่มซึ่งเป็นคะแนน
รายบุคคล กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับคะแนนพิเศษ
ขั้นที่ 6 การเสริมแรงและให้รางวัล
12. ผู้สอนกล่าวคาชื่นชมนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานในหน้าที่
ของกลุ่ม ให้คะแนนพิเศษแก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด และปรบมือให้กาลังใจแก่นักเรียนกลุ่มอื่นๆ
ขั้นที่ 7 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้
13. ตัวแทนกลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนรู้ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค
ในการทางานกลุ่ม งานเดี่ยว และบันทึกผลการเรียนรู้ในแบบบันทึกผลการเรียนรู้ (คะแนน)
14. สมาชิกกลุ่มเก็บผลงานของกลุ่มในแฟ้มสะสมผลงานกลุ่ม
12. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. (Power Point) ชุด รูปร่าง รูปทรง
3. บทเรียนโปรแกรม เรื่อง รุปร่างรูปทรง
4. ใบความรู้ เรื่อง รูปร่าง รูปทรง
5. ใบงาน เรื่อง รูปร่าง รูปทรง
6. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน
7. ใบงาน เรื่อง อัศจรรย์ รูปร่าง รูปทรง
13. กิจกรรมนอกเวลาเรียน
- สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ
บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนรู้
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
kroojaja
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
Kruthai Kidsdee
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
cm carent
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
SophinyaDara
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
peter dontoom
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
Ict Krutao
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
บุญรักษา ของฉัน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
sripayom
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 

Similar to Ar 7-705-6327-1131-doc

วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนวัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนpiromnsw2
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Designkrumew
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)krutitirut
 
แฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียนแฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียน
mildkim21
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการPamkritsaya3147
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
arisara
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
panida428
 

Similar to Ar 7-705-6327-1131-doc (20)

วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนวัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
 
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
2ดุษณีย์
2ดุษณีย์2ดุษณีย์
2ดุษณีย์
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Design
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
 
แฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียนแฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียน
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ชุดกิจกรรมที่ 1
ชุดกิจกรรมที่  1ชุดกิจกรรมที่  1
ชุดกิจกรรมที่ 1
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Ar 7-705-6327-1131-doc

  • 1. การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ รายวิชา ศ 21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบของทัศนธาตุ เวลา 12 ชั่วโมง มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ ความคิดรวบยอด นาไปสู่ หลักฐานการเรียนรู้ แนวทางการจัด ตัวชี้วัด (ผู้เรียนรู้อะไร/ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะ ชิ้นงาน/ เครื่องมือ คะแนน กิจกรรมการ ทาอะไรได้) เรียนรู้ ของผู้เรียน อันพึงประสงค์ ภาระงาน ประเมิน 1.บรรยายความ (ผู้เรียนรู้อะไร) ทัศนธาตุเป็น ผลงานการ แบบ 20 -ศึกษาสิ่งแวดล้อม แตกต่างและ ความคล้ายคลึง กันของงาน ทัศนศิลป์และ สิ่งแวดล้อมโดย ใช้ความรู้เรื่อง ทัศนธาตุ 2.ระบุและ บรรยายหลักการ ออกแบบงาน ทัศนศิลป์ โดย เน้นความเป็น เอกภาพ ความ กลมกลืน และ ความสมดุล องค์ประกอบพื้นฐาน ทาให้เกิดงานทัศนศิลป์ ในสิ่งแวดล้อมก็ ประกอบด้วยทัศนธาตุ (ผู้เรียนทาอะไรได้) แต่มีความแตกต่างและ คล้ายคลึงกันออกไป บรรยายความแตกต่าง และความคล้ายคลึงกัน เราจึงควรเรียนรู้ ของงานทัศนศิลป์และ สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ และทาความ สิ่งแวดล้อมโดยใช้ ความรู้เรื่องทัศนธาตุเป็น เข้าใจทัศนธาตุเพื่อจะ ได้แยกแยะความ สื่อได้ แตกต่างและความ คล้ายคลึงกันของาน ทัศนศิลป์และ สิ่งแวดล้อม ความแตกต่างและความ คล้ายคลึงกันของทัศน ธาตุในงานทัศนศิลป์และ สิ่งแวดล้อม วาดภาพที่ใช้ ทัศนธาตุเป็น องค์ประกอบ ความคิด สร้างสรรค์ ประเมินผล งานการวาด ภาพ และผลงานทัศนศิลป์ ที่มีคุณค่า และมี ความสัมพันธ์กับ มนุษย์ตามลักษณะ เฉพาะของทัศนธาตุ - ศึกษาจากใบความรู้ ปฏิบัติใบงานและ บันทึกสาระสาคัญ ลงในใบงาน - นาเสนอผลงาน ตนเอง -วัดผลประเมินผล
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ ********************************************************************* แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 เรื่อง จุดสวยสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ทัศนธาตุ รหัสวิชา ศ21101 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง วันที.่ ................เดือน.................................................พ.ศ. ....................... ***************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐานที่ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ตัวชี้วัด 2.1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ ความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ ศ.1.1 ม.1.1 ) ( 3. สาระสาคัญ จุด เป็นทัศนธาตุพื้นฐานที่ทาให้เกิดงานทัศนศิลป์ ซึ่งไม่มีขนาด ไม่มีความกว้าง ความยาว ความลึก ไม่สามารถหาพื้นที่ได้ เป็นบ่อแห่งการเกิดทัศนธาตุอื่นๆ จึงควรเรียนรู้ และทาความเข้าใจ เกี่ยวกับพื้นฐานของจุด เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 อธิบายความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของจุดได้ถูกต้อง 4.2 สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุดได้ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4.3 นักเรียนปฏิบัติตน มีวินัย มีความมุ่งมั่นในการทางาน และอยู่อย่างพอเพียง
  • 3. 5. เนื้อหาสาระ ทัศนธาตุ เป็นการผสมระหว่างคาว่า ทัศนะ กับคาว่า ธาตุ ทัศนะ หมายถึง การมองเห็น ธาตุ หมายถึง วัตถุ หรือสิ่งที่มีตัวตน เมื่อนามารวมกัน ทัศนธาตุ หมายถึง วัตถุที่มองเห็น หรือสิ่งที่ มองเห็นได้ สัมผัสได้ด้วยสายตา จุด Point คือ รอย หรือแต้ม ที่มีลักษณะกลมๆวัดขนาดไม่ได้ เป็นองค์ประกอบสาคัญ อันดับแรกของงานศิลปะ จุดมี 2 ลักษณะ คือ จุดเกิดจากธรรมชาติสร้างสรรค์ และ เกิดโดยฝีมือ ของมนุษย์สร้างสรรค์ 6. ความเข้าใจที่ฝั่งแน่น จุด ( point ) เป็น สิ่งที่ปรากฏบนพื้นระนาบที่มีขนาดเล็กที่สุด ไม่มีความกว้าง ความยาว ความสูง ความหนา หรือความลึก จุดเป็นทัศนธาตุที่เล็กที่สุดและมีมิติเป็นศูนย์ จุดสามารถแสดง ตาแหน่งได้เมื่อมีบริเวณว่างรองรับ จุดถือเป็นพื้นฐานเบื้องต้นที่สุดในการสร้างงานทัศนศิลป์ เป็น ต้นกาเนิดของทัศนธาตุอื่นๆ เช่น เส้น รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว ค่าความอ่อนแก่ แสงเงา เรา สามารถพบเห็นจุดได้โดยทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ดวงดาวบนท้องฟ้า บนส่วนต่างๆของผิวพืชและ สัตว์ บนก้อนหิน พื้นดิน นอกจากจุดจะเป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอื่นๆแล้ว จุดยังเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้งาน สร้างสรรค์ต่างๆมีความสมบูรณ์มากขึ้น 7. สมรรถนะ จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษามรทศวรรษที่ สอง พ.ศ. 2552-2561 สมรรถนะ ความสามารถ และทักษะ การออกแบบการเรียนรู้ ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่ ชั้นสูง ประเมิน ทักษะการสรุปลงความเห็น ส่งเสริมการคิด รักการเรียนรู้ ตั้งใจเรียนมีความเพียรพยายามในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ เรียนรู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และน่าสนใจ ต่างๆ ทันสมัยและเหมาะสมต่อความ ต้องการ และความถนัดของผู้เรียน 2. ชื่อสื่อการเรียนรู้ที่ท้าทาย ทันสมัย และส่งเสริมการเรียนรู้ การสื่อสารอย่าง ฟัง ดู พูด อ่าน เขียน อย่างมีมารยาท สรุปองค์ความรู้จากเรื่องที่ได้เรียนรู้ สร้างสรรค์ และพูด เขียน อธิบาย ชี้แจง จากเรื่องที่
  • 4. ฟัง ดู และอ่านได้หลายแง่มุมอย่าง สมเหตุสมผล 8. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - ความมีวินัย - ความมุ่งมั่นในการทางาน - อยู่อย่างพอเพียง 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. ทดสอบความรู้ 2. สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุด 3. สรุปองค์ความรู้ 10. กรอบการวัดและประเมินผล ชิ้นงาน/ภาระงาน/ร่องรอย มาตรฐานการเรียนรู้/ วิธีการวัด หลักฐาน ตัวชี้วัด เครื่องมือ เกณฑ์การวัด ถูก 1-4 ข้อ ปรับปรุง ถูก5-6 ข้อ ผ่าน ถูก 7-8 ข้อ ดี ถูก 9-10 ข้อ ดีเยี่ยม 1-4 ปรับปรุง 5-6 พอใช้ 7-8 ดี 9-10 ดีมาก 0 ไม่ส่งงาน 1 ผ่าน 2 ดี 3 ดีมาก 1-4 ปรับปรุง 5-6 พอใช้ 7-8 ดี 9-10 ดีมาก K ความรู้ ทดสอบความรู้ สาระทัศนศิลป์ ศ. 1.1 ม 1/1 ตรวจข้อสอบ ข้อสอบ สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุด สาระทัศนศิลป์ ศ. 1.1 ม 1/1 ตรวจผลงาน แบบประเมิน ผลงาน สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา สาระทัศนศิลป์ ศ. 1.1 ม 1/1 ประเมินแสดง แบบประเมิน ความคิดเห็น การแสดง ของนักเรียน ความคิดเห็น ของนักเรียน สังเกตการ แบบสังเกต เรียนรู้ การเรียนรู้ แบบร่วมมือ P ทักษะกระบวนการ การเรียนรู้แบบร่วมมือ
  • 5. -การตอบคาถาม R-C-Aที่นาไปสู่ -กาหนดทิศทางและ สังเกต การกาหนดเป้าหมายและทิศทาง วางแผนไปสู่เป้าหมาย สู่ความสาเร็จ -ปฏิบัติตามแผนที่ กาหนดไว้และปรับปรุง ให้สาเร็จตามเป้าหมาย A คุณลักษณะฯ - ระเบียบวินัย สังเกต - อยู่อย่างพอเพียง พฤติกรรม - มุ่งมั่นใจการทางาน แบบสังเกต 1 ปฏิบัติ 0 ไม่ปฏิบัติ แบบประเมิน พฤติกรรม 1-2 ปรับปรุง 3-4 พอใช้ 5-6 ดี 11. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (นาเข้าสู่บทเรียน) 1. จัดกลุ่มนักเรียนโดยคละความสามารถ ( เก่ง กลาง อ่อน ) กลุ่มละ 4 คน โดยให้ มีเก่ง 1 คน กลาง 2 คน และอ่อน 1คน และให้ตั้งชื่อกลุ่ม ตนเอง 2. ให้สมาชิกกลุ่มกาหนดเป้าหมายและข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม 3. สมาชิกกลุ่มรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกและแบ่งหน้าที่ของสมาชิกกลุ่มให้ ชัดเจนตามศักยภาพและความถนัดของแต่ละคน บันทึกใน แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม ขั้นที่ 2 ขั้นประสบการณ์(ขั้นสอน) 4. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาสาระการเรียนรู้แก่นักเรียนและ ทดสอบก่อนเรียน 5. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน โดยผู้สอนใช้คาถามกระตุ้นให้นักเรียนคิด หาคาตอบ เช่น หากพูดถึงคาว่าศิลปะนักเรียนนึกถึงอะไร นักเรียนรู้จักองค์ประกอบของทัศนธาตุ ใดบ้าง หรือ ให้นักเรียนสังเกตภาพผลงานศิลปะ จาก Power Point แล้วถามว่าในภาพนี้มีทัศนธาตุ ใดเป็นองค์ประกอบบ้าง ให้นักเรียนร่วมกันตอบ 6. นักเรียนศึกษาความรู้ เรื่อง จุด จากใบความรู้ และ จากบทเรียนโปรแกรม พร้อมฝึกปฏิบัติและตอบคาถามในบทเรียนโปรแกรม 7. ครูอธิบายเพิ่มเติมเสริมความเข้าใจแก่นักเรียน โดยใช้สื่อ Power Point เรื่อง พื้นฐานของจุด
  • 6. 8. ให้นักเรียนดูภาพผลงานที่สร้างสรรค์จากจุด และจุดที่เกิดจากธรรมชาติ และ ร่วมกันบอกความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของจุดจากภาพและธรรมชาติ 9. ครูเปิดเสียงดนตรี และให้นักเรียนแต่ละฝึกปฏิบัติจุดสวยด้วยเสียงดนตรี ด้วย ความอิสระ ตามเสียงดนตรี 10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้พื้นฐานเรื่องจุด และนักเรียนสรุปองค์ ความรู้ที่เรียนในวันนี้ เป็นกิจกรรมนอกเวลาเรียน ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นประยุกต์ความรู้และสร้างสรรค์ผลงาน 11. ครูแจกใบงาน 1 เรื่อง จุดสีสร้างสรรค์ และวัสดุ อุปกรณ์ สีเมจิก กระดาษ พร้อมฟังคาอธิบายจากครู 12. กลุ่มระดมความคิดสร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติสร้างภาพด้วยจุด โดยใช้ สีเมจิก กระดาษ ที่ครูแจกให้ จุดสร้างเป็นภาพตามความคิดและจินตนาการ อย่างอิสระ โดยตั้งชื่อ ของภาพด้วย ใช้เวลา 5 นาที 13. ครูคอยให้คาชี้แนะในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมา ประยุกต์ในการสร้างสรรค์ผลงานของกลุ่ม ขั้นที่ 4 ชื่นชมผลงานของกลุ่ม 14. กลุ่มนาผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปราย ถึงจุดในผลงาน และร่วมกันประเมินผลงาน ขั้นที่ 5 ทดสอบและคิดคะแนน 15. นาคะแนนผลงานจุดสีสร้างสรรค์ ของสมาชิกกลุ่มทุกคนหาค่าเฉลี่ย เพื่อ เป็นคะแนนของกลุ่ม และนาคะแนนกลุ่มที่ได้รวมกับคะแนนผลงานกลุ่ม จะได้คะแนนนกลุ่มซึ่ง เป็นคะแนนรายบุคคล กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับคะแนนพิเศษ ขั้นที่ 6 การเสริมแรงและให้รางวัล 15. ผู้สอนกล่าวคาชื่นชมนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ งานในหน้าที่ ของกลุ่ม ให้คะแนนพิเศษแก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด และปรบมือให้กาลังใจแก่นักเรียนกลุ่มอื่นๆ ขั้นที่ 7 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้
  • 7. 16. ตัวแทนกลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อการเรีย นรู้ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค ในการทางานกลุ่ม งานเดี่ยว และบันทึกผลการเรียนรู้ในแบบบันทึกผลการเรียนรู้ (คะแนน) 17. สมาชิกกลุ่มเก็บผลงานของกลุ่มในแฟ้มสะสมผลงานกลุ่ม 12. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม 2. (Power Point) ชุด พื้นฐานของจุด 3. ทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน 4. ใบความรู้และบทเรียนโปรแกรม เรื่อง จุด 5. ใบงาน เรื่อง จุดสวยตามเสียงดนตรี 6. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน 13. กิจกรรมนอกเวลาเรียน 1. สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ 2. บันทึกการอ่าน 3. บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนรู้
  • 8. บันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับ ( สาหรับครู ) การประเมินผลการเรียน ภาคเรียนที่ ……… หน่วยการเรียน..…………………………….……… เวลา ....... ………………………………………………………… สัปดาห์ วันที่ประเมิน ................./....................../........... ระดับ วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้ 1. จุดสวยตามเสียงเพลงความคิดจินตนาการ(กลุ่ม) 2. จุดสีสร้างสรรค์ (เดี่ยว) 3. ทักษะกระบวนการ 4. คุณลักษณะฯ 5. สรุปองค์ความรู้ (เดี่ยว) 6. สรุปหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เลขที่/ชื่อน.ร. ผลการประเมิน วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้ 1 2 3 4 5 1. 2. 3. 4. 5. 6. นักเรียนที่ยังมีปัญหา …………………..………………………..…….. ……………………………………………………. ข้อเสนอแนะจากการประเมิน ................................................................................ .................................................................................. .................................................................................. ................................................................................. เกณฑ์การประเมิน คะแนน 9-10 ดีมาก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ 1-4 ปรับปรุง 1 ปรับปรุง 2 พอใช้ 3 ดี วิธีการประเมิน  แบบทดสอบ  ทักษะกระบวนการ  สมุดแบบฝึกหัด  การนาเสนอ  ประเมินตนเอง  การสังเกตของครู  เพื่อนประเมินเพื่อน  ตรวจผลงาน  สรุปองค์ความรู้  อื่นๆ........................ นักเรียนที่มีจุดแข็ง ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... . การดาเนินการขั้นต่อไป ....................................................................... ....................................................................... ..................................................................... ....................................................................... กลุ่มที.่ ...................ม.1 ห้อง......................
  • 9. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และ ภาระงานของนักเรียน หน่วยที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ แผนการจัดการีเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง จุดสวยสร้างสรรค์ รายวิชา ทัศนศิลป์ ผู้สอน นางยศวดี สันตรัตติ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของจุดได้ถูกต้อง 2. สร้างสรรค์งานศิลปะจากจุดได้ ภาระงานของนักเรียน 1. จุดสวยตามเสียงดนตรี 2. จุดสีสร้างสรรค์ 3. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา 4. บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย งมาใช้ในการเรียนรู้ คะแนนเก็บ ที่ รายการ คะแนนเข้าเรียน 1 จุดสีสร้างสรรค์ เดี่ยว 2 จุดสวยตามเสียงดนตรี กลุ่ม 3 กระบวนการกลุ่ม 4 คุณลักษณะฯ 5 สรุปองค์ความรู้ 6. บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการเรียนรู้ รวม คะแนนเต็ม 2 6 10 10 6 3 3 40 ได้
  • 10. แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม จุดประสงค์การเรียนรู้ วางแผนการทางานกลุ่ม คาแนะนา 1 สมาชิกกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนการทางาน 2. สมาชิกแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละอย่างตามความถนัด 3. จัดเขียนเป้าหมายและข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม กิจกรรมที่ 1 แบ่งหน้าที่ ชื่อกลุ่ม…………………………………… ที่ หน้าที่รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ กาหนดเป้าหมายและข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… ข้อตกลงในการเรียนรู้ของกลุ่ม ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 11. ใบความรู้ รายวิชา ทัศนศิลป์ ศ 21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1 ทัศนธาตุ ทัศนธาตุ เป็นการผสมระหว่างคาว่า ทัศนะ กับคาว่า ธาตุ ทัศนะ หมายถึง การมองเห็น ธาตุ หมายถึง วัตถุ หรือสิ่งที่มีตัวตน เมื่อนามารวมกัน ทัศนธาตุ หมายถึง วัตถุที่มองเห็น หรือสิ่งที่ มองเห็นได้ สัมผัสได้ด้วยสายตา ส่วนต่างๆที่ประกอบกันเป็นภาพในทัศนศิลป์ ได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี เป็นต้น พื้นฐานของจุด จุด (Dot) คือ รอย หรือ แต้ม ที่มีลักษณะกลมๆ ไม่มีความกว้าง ความยาว ความหนา วัด ขนาดไม่ได้ เป็นองค์ประกอบสาคัญอันดับ แรกของงานศิลปะ จุด เป็นต้นกาเนิดของเส้น รูปร่าง รูปทรง แสงเงา พื้นผิว ฯลฯ เช่น นาจุดมาวางเรียงต่อกัน จะเกิดเป็นเส้น และการนาจุดมาวางให้เหมาะสม ก็จะเกิดเป็นรูปร่าง รูปทรง และลักษณะผิว จุด มี 2 ลักษณะคือ 1. จุดที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น จุดในลายของพืช เช่น ลาต้น ใบ ดอก ผล จุดในลายของสัตว์ เช่น แมว สุนัข กวาง เสือ ฯลฯ 2. จุดที่เกิดจากมนุษย์สร้างสรรค์ โดยใช้จุดขนาดต่างๆ หรือวัสดุที่คล้ายจุดมาสร้างสรรค์ เป็นผลงานทางศิลปะ ได้แก่ การกด จุด แต้ม จิ้มด้วยวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ดินสอ ปากกา พู่กัน วัสดุปลายแหลม หรือ เครื่องมืออื่น ครูผู้สอน นางยศวดี สันตรัตติ
  • 12. แบบฝึกปฏิบัติที่ 1 จุดสีสร้างสรรค์ ให้นักเรียนถ่ายทอดผลงานศิลปะด้วยการจุดสีลงในกรอบที่กาหนดให้ โดยให้นักเรียนร่าง ภาพด้วยดินสอเป็นรูปดอกไม้ที่ตนเองชอบ แล้วใช้สีเมจิกที่ครูแจกให้จุดสร้างเป็นภาพตามความคิด และจินตนาการของนักเรียน โดยเน้นความเข้มของภาพด้วยจุดให้ชิดกัน และตั้งชื่อของภาพด้วย การให้คะแนน ความ สวยงาม (3) ความคิด ความ รวมคะแนน สร้างสรรค์ รับผิดชอบ (4) (3) (10)
  • 13. แบบประเมินผลงานแบบฝึกปฏิบัติที่ คาชี้แจง ครูเป็นผู้ ตรวจชิ้น งานของนักเรียน ให้กาเครื่องหมาย  ลงในช่องคะแนนที่เห็นว่าเป็น จริงในแต่ละรายการ ชื่อนักเรียน / คะแนนเต็ม 1................................... 2................................... 3................................... 4................................... 5................................... 6................................... 7................................... ความสวยงาม 3 2 1 รายการประเมิน ความคิดสร้างสรรค์ 4 3 2 1 ความรับผิดชอบ 3 2 1 รวม คะแนน 10
  • 14. เกณฑ์การประเมินผลงานของนักเรียน จุดสีสร้างสรรค์ ค่าน้าหนัก ประเด็นการประเมิน แนวการให้คะแนน คะแนน องค์ประกอบของภาพลงตัวใช้สีสันน่าสนใจ 3 องค์ประกอบของภาพยังไม่ลงตัวหรือยังใช้สีสันไม่น่าสนใจ ความสวยงาม 2 องค์ประกอบของภาพไม่ลงตัวและใช้สีสันไม่น่าสนใจ 1 ผลงานแปลกใหม่ไม่ซ้าใคร 4 ผลงานแปลกใหม่แต่ยังเหมือนกับคนอื่น 3 ความคิดสร้างสรรค์ คล้าย ๆ กับคนอื่นแต่มีการพัฒนาปรับปรุง 2 เหมือนกับคนอื่นไม่แตกต่าง 1 จุด มีลักษณะถูกต้อง กลม ไม่มีเส้นปะปน ทั้งภาพ 3 จุดมีลักษณะกลม มีเส้นปะปนบ้างในภาพ ความถูกต้อง 2 จุดมีเส้นปะปนทั้งภาพ 1 รวมคะแนน 10
  • 15. เกณฑ์การประเมินผลงานของนักเรียน จุดสวยตามเสียงดนตรี ประเด็นการประเมิน ความตรงต่อเวลา ความถูกต้อง ความสวยงาม รวมคะแนน ค่าน้าหนัก คะแนน 2 1 2 1 2 1 6 แนวการให้คะแนน งานเสร็จสมบูรณ์ตามเวลาที่กาหนด หมดเวลางานยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จุด มีลักษณะจุดที่ถูกต้อง ไม่มีความกว้าง ยาว และหนา จุด มีลักษณะความกว้าง ยาว และหนา มีสีสันสวยงาม สะอาด มีสีสันสวยงาม สกปรก เลอะเทอะ
  • 16. แผนที่ 1 ( กิจกรรมนอกเวลาเรียน) วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 21101 จุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง สรุป หลักปรัชญา จานวน 2 หน่วยการเรียน ของเศรษฐกิจพอเพียง เวลา ................... นาที กิจกรรม (เสริม) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการเรียนรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน กิจกรรม 1. นักเรียนได้นาหลักความพอประมาณมาใช้ในการเรียนรู้อย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. ...................................................... .................................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... ............................................................... ......................................................................................... 2. นักเรียนมีวิธีอย่างไรที่จะทาให้ผลงานหรืองานที่รับผิดชอบประสบความสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... .............................................................. ..................................................................................................................... ........................................................................................ 3. มีเหตุผลและความจาเป็นอะไรที่นักเรียนต้องเรียนรู้ในเรื่องนี้และต้องปฏิบัติงานดังกล่าว ............................................................................................................................. .............................................. ........ ............................................................................................................................. ...................................................... ..................................................................... .............................................................................................................. ........................................................................................ 4. ขั้นตอนการปฏิบัติเป็นอย่างไร จึงทาให้นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้สาเร็จ ............................................................................................................................. .................................................... .. ............................................................................................................................. ...................................................... ........................................................................... ..................................... 5. นักเรียนได้เรียนรู้ ประสบการณ์ และเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียนอะไรบ้าง หรือได้รับความรู้ที่เพิ่มขึ้นในการ เรียนรู้ในครั้งนี้ ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ........................................................................................................................................................ ........................... ........................................................................................
  • 17. ............................................................................................................................................ ....................................... ............................................................................................ ........................................../ 6. นักเรียนใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมอะไรบ้างในการเรียนรู้และปฏิบัติงาน ............................................................................................................................. ...................................................... ......................................................................................................................................... .......................................... ......................................................................................... .......................................................................................... ........................................................................................ 7. นักเรียนมีความพึงพอใจ หรือ ชอบกิจกรรมใดในการเรียนรู้ในครั้งนี้ เพราะอะไร ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................. .................................................. ................................................................................. .................................................................................................. ........................................................................................ ..................................................................... ........................................................................................ ชื่อ...........................................นามสกุล...............................................ชั้น....................เลขที่.............
  • 18. แผนที่ 1 จุดสวยสร้างสรรค์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ใบงาน วิชา ทัศนศิลป์ เรื่อง จุดที่แตกต่างสร้าง จานวน 2 หน่วยการเรียน รหัสวิชา ศ 21101 เวลา ................... นาที ความสวยงาม จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของจุดใน งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม คาแนะนา ได้คะแนน 1. นักเรียนสังเกตจุดในงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม 2. สังเกตความแตกต่างและความคล้ายคลึงของจุดทั้งสองอย่าง ……….…… 3. บันทึกข้อมูลในแผนภาพ คะแนนเต็ม...… กิจกรรม คะแนน ความแตกต่าง ความเหมือน ความแตกต่าง ศิลปะ สิ่งแวดล้อม วันที่………………เดือน……………..……………พ.ศ…………. กลุ่มที่..............................................................................................................................................
  • 19. หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ ********************************************************************* แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 เรื่อง เส้นสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ทัศนธาตุ รหัสวิชา ศ21101 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง วันที.่ ................เดือน.................................................พ.ศ. ....................... ***************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐานที่ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ตัวชี้วัด 1.1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ ความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ ศ.1.1 ม.1.1 ) ( 3. สาระสาคัญ ทัศนธาตุเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ทาให้เกิดงานทัศนศิลป์ ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ ย่อย ๆ ได้แก่ จุด เส้น รูปร่างรูปทรง สี และพื้นผิว เป็นต้น การเรียนรู้ เรื่องเส้น จึงมีความสาคัญ เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานที่ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 เขียนสรุปเรื่องพื้นฐานของเส้น เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ เส้นใน ทัศนธาตุและสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้อง 4.2 สร้างสรรค์งานศิลปะจากเส้นลักษณะต่างๆได้ 5. เนื้อหาสาระ เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ ของจุด หรือถ้าเรานาจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป ก็จะเกิด เป็นเส้นขึ้นเส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้าหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่างรูปทรง เส้นเป็นพื้นฐานที่สาคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดงความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะ คือเส้นตรง
  • 20. (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้เมื่อนามาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันอีกด้วย 6. ความเข้าใจที่ฝั่งแน่น เส้นเป็นทัศนธาตุที่สาคัญในทางศิลปะ กล่าวได้ว่าเส้นเป็นจุดเริ่มต้นของการ ออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด (จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม) เส้นเกิดจากจุดจานวน มาก ที่นามาเรียงติดต่อเชื่อมโยงกันบนพื้นระนาบของทิศทางจนสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าเป็น ลักษณะเส้นชนิดใด เช่น แนวตั้ง แนวนอน โค้ง คด แนวหยัก หักเห เมื่อนาเอามาประกอบ แสดงทิศทางทาให้เกิดรูปร่าง รูปทรง เกิดเนื้อที่มีขนาด มีน้าหนัก มีปริมาตร ในทางปฏิบัติวิธี ทาให้เกิดเส้นจะเกิดจากการขูด ขีด เขียนด้วยดินสอ ปากกาพู่กันหรือแปรงและเครื่องมืออื่นๆ ที่ สามารถทาให้เกิดเป็นเส้นได้ เส้นแบ่งตามลักษณะใหญ่ ๆ ได้ 5 ชนิด แต่ละชนิดจะมีคุณค่าและ ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน 7. สมรรถนะ จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษามรทศวรรษที่ สอง พ.ศ. 2552-2561 สมรรถนะ ความสามารถ และทักษะ การออกแบบการเรียนรู้ ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่ ชั้นสูง ประเมิน ทักษะการสรุปลงความเห็น ส่งเสริมการคิด รักการเรียนรู้ ตั้งใจเรียนมีความเพียรพยายามในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ เรียนรู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และน่าสนใจ ต่างๆ ทันสมัยและเหมาะสมต่อความ ต้องการ และความถนัดของผู้เรียน 2. ชื่อสื่อการเรียนรู้ที่ท้าทาย ทันสมัย และส่งเสริมการเรียนรู้ การสื่อสารอย่าง ฟัง ดู พูด อ่าน เขียน อย่างมีมารยาท สรุปองค์ความรู้จากเรื่องที่ได้เรียนรู้ สร้างสรรค์ และพูด เขียน อธิบาย ชี้แจง จากเรื่องที่ ฟัง ดู และอ่านได้หลายแง่มุมอย่าง สมเหตุสมผล 8. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - ความมีวินัย - ความมุ่งมั่นในการทางาน
  • 21. - ความซื่อสัตย์ 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. วิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของเส้นในทัศนธาตุและ สิ่งแวดล้อม(ผังเวนน์ไดอะแกรม) 2. สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์จากเส้นลักษณะต่างๆ 3. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา 10. กรอบการวัดและประเมินผล ชิ้นงาน/ภาระงาน/ร่องรอย หลักฐาน K ความรู้ วิเคราะห์เปรียบเทียบความ เหมือนและความแตกต่าง ของเส้นในทัศนธาตุและ สิ่งแวดล้อม(ผังเวนน์ ไดอะแกรม) สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ จากเส้นลักษณะต่างๆ มาตรฐานการเรียนรู้/ วิธีการวัด เครื่องมือ ตัวชี้วัด สาระทัศนศิลป์ ตรวจผลงาน แบบ ศ. 1.1 ม 1/1 ประเมินผล งาน สาระทัศนศิลป์ ศ. 1.1 ม 1/1 ตรวจผลงาน แบบ ประเมิน ผลงาน สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา สาระทัศนศิลป์ ศ. 1.1 ม 1/1 ประเมิน แสดงความ คิดเห็นของ นักเรียน P ทักษะกระบวนการ การเรียนรู้แบบร่วมมือ - สังเกตการ เรียนรู้ เกณฑ์การวัด 1-4 ปรับปรุง 5-6 พอใช้ 7-8 ดี 9-10 ดีมาก 1-4 ปรับปรุง 5-6 พอใช้ 7-8 ดี 9-10 ดีมาก แบบ 0 ไม่ส่งงาน ประเมินการ 1 ผ่าน แสดงความ 2 ดี คิดเห็นของ 3 ดีมาก นักเรียน แบบสังเกต 1-4 ปรับปรุง การเรียนรู้ 5-6 พอใช้ แบบร่วมมือ 7-8 ดี 9-10 ดีมาก
  • 22. A คุณลักษณะฯ - วินัย สังเกต - ความซื่อสัตย์ พฤติกรรม - มุ่งมั่นใจการทางาน แบบ ประเมิน พฤติกรรม 1-4 ปรับปรุง 5-6 พอใช้ 7-8 ดี 9-10 ดีมาก 11. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (นาเข้าสู่บทเรียน) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาสาระการเรียนรู้แก่นักเรียนและ ทดสอบก่อนเรียน 2. ครูทบทวนความรู้เดิม เรื่อง จุดที่เรียนผ่านมา และเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ 3. นักเรียนดูภาพจาก Power Point และช่วยกันบอกเส้นลักษณะต่างๆที่ ปรากฏในภาพมี อะไรบ้าง ขั้นที่ 2 ขั้นประสบการณ์(ขั้นสอน) 3. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ เรื่องเส้น โดยใช้ Power Point ประกอบการให้ความรู้ 4. นักเรียนทบทวนความรู้จากใบความรู้ เรื่อง จุดสร้างสรรค์ และหนังสือเรียน ศิลปะ ม.1 5. ครูให้นักเรียนดูภาพผลงานที่สร้างสรรค์จากเส้น และภาพเส้นในธรรมชาติ 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติ ใบงานที่ 1 เรื่อง เส้นธรรมชาติสร้างสรรค์ โดยร่วมกันวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงของเส้นในธรรมชาติและ ใน ผลงานศิลปะ เป็น (ผังเวนน์ไดอะแกรม) 7. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานของตนเอง และร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เรียนมาเพื่อ นาไปสรุปองค์ความรู้เป็น กิจกรรมนอกเวลาเรียน
  • 23. ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นประยุกต์ความรู้และสร้างสรรค์ผลงาน 8. ครูแจกแบบฝึกปฏิบัติ โดยนักเรียนทาแบบฝึกปฏิบัติที่ 1 เรื่อง เส้นสร้างสรรค์ ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติสร้างภาพด้วยเส้นลักษณะต่างๆ ตามความคิดและจินตนาการของนักเรียน โดยตั้งชื่อของภาพด้วย ใช้เวลา 30 นาที 9. กลุ่มระดมความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างสรรค์ผลงานจากการใช้เส้น โดย ครูคอยให้คาชี้แนะในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ในการสร้างสรรค์ ผลงานของกลุ่ม ขั้นที่ 4 ชื่นชมผลงานของกลุ่ม 10. กลุ่มนาผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปราย ถึงองค์ประกอบของทัศนธาตุในผลงาน และร่วมกันประเมินผลงาน ขั้นที่ 5 ทดสอบและคิดคะแนน 10. ทดสอบความรู้ท้ายหน่วย 11. นาคะแนนทดสอบความรู้ท้ายหน่วยของสมาชิกกลุ่มทุกคนหาค่าเฉลี่ย เพื่อ เป็นคะแนนของกลุ่ม และนาคะแนนกลุ่มที่ได้รวมกับคะแนนผลงานกลุ่ม จะได้คะแนนนกลุ่มซึ่ง เป็นคะแนนรายบุคคล กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับคะแนนพิเศษ ขั้นที่ 6 การเสริมแรงและให้รางวัล 12. ผู้สอนกล่าวคาชื่นชมนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ของกลุ่ม ให้คะแนนพิเศษแก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด และปรบมือให้กาลังใจแก่นักเรียนกลุ่มอื่นๆ ขั้นที่ 7 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้ 13. ตัวแทนกลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนรู้ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค ในการทางานกลุ่ม งานเดี่ยว และบันทึกผลการเรียนรู้ในแบบบันทึกผลการเรี ยนรู้(คะแนน) 14. สมาชิกกลุ่มเก็บผลงานของกลุ่มในแฟ้มสะสมผลงานกลุ่ม 12. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. (Power Point) ชุด เส้นสร้างสรรค์ 3. ทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน 4. ใบความรู้ เรื่อง เส้นสร้างสรรค์
  • 24. 5. แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง เส้นสร้างสรรค์ 6. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน 7. ใบงาน เรื่อง เส้นธรรมชาติสร้างสรรค์ 13. กิจกรรมนอกเวลาเรียน สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ
  • 25. บันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับ ( สาหรับครู ) การประเมินผลการเรียน ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียน..…………………………….……… เวลา ....... ………………………………………………………… สัปดาห์ วันที่ประเมิน ................./....................../........... ระดับ วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้ 1. วาดภาพที่ใช้เส้นลัษณะต่างๆเป็นองค์ประกอบตาม ความคิดจินตนาการ 2. ทดสอบความรู้ท้ายหน่วย 3. เขียนบรรยายความแตกต่าง 4. คุณลักษณะฯ 5. สมรรถนะ เลขที่/ชื่อน.ร. ผลการประเมิน วัตถุประสงค์/ผลการเรียนรู้ 1 2 3 4 5 1. 2. 3. 4. 5. 6. นักเรียนที่ยังมีปัญหา …………………..………………………..…….. ……………………………………………………. ข้อเสนอแนะจากการประเมิน ................................................................................ .................................................................................. .................................................................................. ................................................................................. เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง คะแนน 4 3 2 1 วิธีการประเมิน  แบบทดสอบ  ทักษะการปฏิบัติ  สมุดแบบฝึกหัด  การนาเสนอ  ประเมินตนเอง  การสังเกตของครู  เพื่อนประเมินเพื่อน  ตรวจผลงาน  อื่นๆ........................................................... นักเรียนที่มีจุดแข็ง ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... . การดาเนินการขั้นต่อไป ....................................................................... ....................................................................... ..................................................................... ....................................................................... กลุ่มที่....................ม.1 ห้อง......................
  • 26. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน หน่วยที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ แผนการจัดการีเรียนรู้ ที่ 2 เรื่อง เส้นสร้างสรรค์ รายวิชา ทัศนศิลป์ ผู้สอน นางยศวดี สันตรัตติ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 เขียนสรุปความหมาย เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ เส้นในทัศนธาตุ และสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้อง 2 สร้างสรรค์งานศิลปะจากเส้นลักษณะต่างๆได้ ภาระงานของนักเรียน 1. ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง ข้อสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของเส้นในทัศนธาตุและ สิ่งแวดล้อม(ผังเวนน์ไดอะแกรม) 3. สร้างสรรค์ผลงานศิลปะจากเส้นลักษณะต่างๆ 4. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา
  • 27. ใบความรู้ เรื่อง เส้น เส้น (Line) เส้นเป็นทัศนธาตุที่สาคัญในทางศิลปะ กล่าวได้ว่าเส้นเป็นจุดเริ่มต้นของการ ออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด (จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม) เส้นเกิดจากจุดจานวน มาก ที่นามาเรียงติดต่อเชื่อมโยงกันบนพื้นระนาบของทิศทางจนสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าเป็น ลักษณะเส้นชนิดใด เช่น แนวตั้ง แนวนอน โค้ง คด แนวหยัก หักเห เมื่อนาเอามาประกอบ แสดงทิศทางทาให้เกิดรูปร่าง รูปทรง เกิดเนื้อที่มีขนาด มีน้าหนัก มีปริมาตร ในทางปฏิบัติวิธีทา ให้เกิดเส้นจะเกิดจากการขูด ขีด เขียนด้วยดินสอ ปากกาพู่กันหรือแปรงและเครื่องมืออื่นๆ ที่ สามารถทาให้เกิดเป็นเส้นได้ เส้นแบ่งตามลักษณะใหญ่ ๆ ได้ 5 ชนิด แต่ละชนิดจะมีคุณค่าและ ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน ดังนี้ 1. เส้นตรง (Straight Lines) มี 3 ลักษณะ คือ 1.1 เส้นตั้ง ให้ทิศทางแนวตั้งหรือดิ่งลงมา ให้ความรู้สึ กมั่นคง แข็งแรง สง่า งาม เป็นระเบียบ เช่น ตึกสูง ๆ เสาไฟฟ้า ต้นไม้ คนยืนตรง เป็นต้น 1.2 เส้นนอน เส้นราบ หรือเส้นระดับ ให้ทิศทางในแนวนอนหรือราบ ให้ ความรู้สึกสงบนิ่ง ราบเรียบ ปลอดภัย ไม่มีอันตราย เช่น ทะเลที่สงบเงียบปราศจากคลื่น เส้นทางที่ ราบเรียบ คนนอนพักผ่อน เป็นต้น
  • 28. 1.3 เส้นตรงเฉียง ให้ทิศทางทแยง ให้ความรู้สึกไม่ตรง โน้มเอียง เป็นเส้นทางเดินของแสงสว่าง ความรวดเร็ว เช่น แสงสว่างของดวงอาทิตย์ แสงสว่างของดวงไฟ เป็นต้น 2. เส้นโค้ง (Curve Line) มี 3 ลักษณะ คือ 2.1 เส้นโค้งของวงกลม ให้ความรู้สึกอ่อนโยน อ่อนช้อย นิ่มนวล ความเศร้า เช่น ภาพคนที่อ่อนน้อม ภาพวาดแบบไทย ภาพต้นไม้ที่ เหี่ยวเฉา เป็นต้น 2.2 เส้นโค้งอิสระ ถ้าเส้นโค้งขึ้นสูงจะแสดงถึงความเจริญเติบโต ก้าวหน้า เช่น การเจริญงอกงามของพืช ความก้าวหน้าของชีวิต เปลวไฟ ลวดลายในศิลปะไทย เป็นต้น 2.3 เส้นโค้งคด หรือก้นหอย ให้ความรู้สึกมีพลังหมุนอย่างรุนแรง การ คลี่คลายขยายตัวออกไปไม่มีสิ้นสุด เช่น พายุหมุน กังหันหมุน การคลายเกลียว เป็นต้น 3. เส้นคด (Winding Line) ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด เช่น ทางที่ คดเคี้ยว แม่น้า ลาธาร คลื่นทะเล การวาดภาพน้าในศิลปะไทย เป็นต้น 4. เส้นฟันปลาหรือซิกแซ็ก (Zigzag Line) ให้ความรู้สึกไม่ราบรื่น เคลื่อนไหวอย่าง รุนแรง ตื่นเต้น เช่น เส้นทางที่ขรุขระ ฟันเลื่อย การตื่นเต้นตกใจกลัว การขัดแย้ง เป็นต้น 5. เส้นประหรือเส้นขาด (Jagged Lines) ให้ความรู้สึกไม่เป็นระเบียบ สับสนวุ่นวาย ไม่มั่นคง เก่า เสื่อมโทรม อันตราย เช่น สิ่งที่ปรักหักพังกาลังจะแตกสลาย รอยร้าวของวัตถุ และ ลายเส้นที่แสดงความไม่แน่นอน เป็นต้น ความสาคัญของเส้น 1. ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วน ๆ 2. กาหนดขอบเขตของที่ว่าง หมายถึง ทาให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา 3. กาหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทาให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น 4. ทาหน้าที่เป็นน้าหนักอ่อนแก่ ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาด้วยเส้น 5. ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูป และโครงสร้างของภาพ
  • 29. แผนที่ 1องค์ประกอบของทัศนธาตุ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ใบงาน วิชา ทัศนศิลป์ จานวน 2 หน่วยการเรียน เรื่อง เส้นธรรมชาติ รหัสวิชา ศ 21101 เวลา ................... นาที สร้างสรรค์ จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของเส้นใน งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม คาแนะนา ได้คะแนน 1. นักเรียนสังเกตเส้นในงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม 2. สังเกตความแตกต่างและความคล้ายคลึงของเส้นทั้งสองอย่าง ……….…… 3. บันทึกข้อมูลในแผนภาพ คะแนนเต็ม...… กิจกรรม คะแนน ความแตกต่าง ความเหมือน ความแตกต่าง เส้นในศิลปะ เส้นในสิ่งแวดล้อม วันที่………………เดือน……………..……………พ.ศ…………. กลุ่มที่..................................................................................................................................................
  • 30. แบบฝึกปฏิบัติที่ 1 เส้นสร้างสรรค์ ให้นักเรียนถ่ายทอดผลงานศิลปะด้วยการเส้นลักษณะต่างๆลงในกรอบที่กาหนดให้ โดยให้ นักเรียนร่างภาพด้วยดินสอเป็นรูปภาชนะต่างๆ เช่น แจกัน ขวด แล้วใช้ดินสอ ดินสอสี ปากกา สร้างเป็นภาพตามความคิดและจินตนาการของนักเรียน โดยเน้นความเข้มของภาพด้วยเส้นให้ชิด กัน และตั้งชื่อของภาพด้วย การให้คะแนน ความ สวยงาม (3) ความคิด ความ รวมคะแนน สร้างสรรค์ รับผิดชอบ (4) (3) (10)
  • 31. หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบทัศนธาตุ ********************************************************************* แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง รูปร่าง รูปทรง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ทัศนธาตุ รหัสวิชา ศ21101 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง วันที.่ ................เดือน.................................................พ.ศ. ....................... ***************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐานที่ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดส้างสรรค์ ร วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ตัวชี้วัด 1.1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ ความรู้ เรื่อง ทัศนธาตุ ศ.1.1 ม.1.1 ) ( 3. สาระสาคัญ รูปร่าง คือ เส้นรอบนอกของวัตถุจากต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดโครงสร้างทั้งหมดของวัตถุ ที่ ปรากฎแก่สายตาในลักษณะ 3 มิติ ซึ่งในการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะจาเป็นต้องมีความรู้ เกี่ยวกับรูปร่างรูปทรง อันจะนาไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะที่มีประสิทธิภาพ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรงได้ถูกต้อง 2. นักเรียนสร้างสรรค์ภาพด้วยรูปร่าง รูปทรงได้อย่างสวยงาม 5. เนื้อหาสาระ รูปร่าง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกทางกายภาพของวัตถุ สิ่งของเครื่องใช้ คน สัตว์ และ พืช มีลักษณะเป็น 2 มิติ มีความกว้างและความยาว
  • 32. รูปร่าง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1.รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นต้น 2.รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รูปร่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีโครงสร้าง แน่นอน เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และรูปวงกลม เป็นต้น 3.รูปร่างอิสระ (Free Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นตามความต้องการของผู้ สร้างสรรค์ ให้ความรู้สึกที่เป็นเสรี ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนของตัวเอง เป็นไปตามอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม เช่น รูปร่างของหยดน้า เมฆ และควัน เป็นต้น รูปทรง (Form) หมายถึง โครงสร้างทั้งหมดของวัตถุที่ปรากฎแก่สายตาในลักษณะ 3 มิติ คือมีทั้งส่วนกว้าง ส่วนยาว ส่วนหนาหรือลึก คือ จะให้ความรู้สึกเป็นแท่ง มีเนื้อที่ภายใน มี ปริมาตร และมีน้าหนัก 6. ความเข้าใจที่ฝั่งแน่น รูปร่าง เป็นรูปร่างภายนอกของวัตถุต่างๆ มี 3 ลักษณะ คือ รูปร่างธรรมชาติ รูปร่าง เลขาคณิต และรูปร่างอิสระ ส่วน รูปทรง มีคาวมกว้าง ยาว หนา องค์ประกอบของศิลปะระหว่าง รูปร่างกับรูปทรงทั้งสองส่วนประกอบนั้น เป็นผลที่เกิดจากการนาเอาเส้นลักษณะต่างๆ มาประกอบ กันให้เป็นเนื้อหาสาระเรื่องราวทางทัศนศิลป์ 7. สมรรถนะ จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษามรทศวรรษที่ สอง พ.ศ. 2552-2561 สมรรถนะ ความสามารถ และทักษะ การออกแบบการเรียนรู้ ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่ ชั้นสูง ประเมิน ทักษะการสรุปลงความเห็น ส่งเสริมการคิด รักการเรียนรู้ ตั้งใจเรียนมีความเพียรพยายามในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ เรียนรู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และน่าสนใจ ต่างๆ ทันสมัยและเหมาะสมต่อความ ต้องการ และความถนัดของผู้เรียน 2. ชื่อสื่อการเรียนรู้ที่ท้าทาย ทันสมัย และส่งเสริมการเรียนรู้ การสื่อสารอย่าง ฟัง ดู พูด อ่าน เขียน อย่างมีมารยาท สรุปองค์ความรู้จากเรื่องที่ได้เรียนรู้ สร้างสรรค์ และพูด เขียน อธิบาย ชี้แจง จากเรื่องที่
  • 33. ฟัง ดู และอ่านได้หลายแง่มุมอย่าง สมเหตุสมผล 8. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - ความมีวินัย - ความมุ่งมั่นในการทางาน - อยู่อย่างพอเพียง 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบฝึกปฏิบัติ 2. สร้างสรรค์ภาพด้วยรูปร่าง และรูปทรงได้ 3. สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา 10. กรอบการวัดและประเมินผล ชิ้นงาน/ภาระงาน/ร่องรอย หลักฐาน สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระทัศนศิลป์ ศ. 1.1 ม 1/1 สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ จากรูปร่างรูปทรงลักษณะ ต่างๆ สาระทัศนศิลป์ ศ. 1.1 ม 1/1 P ทักษะกระบวนการ การเรียนรู้แบบร่วมมือ - วิธีการวัด ประเมิน แสดงความ คิดเห็นของ นักเรียน เครื่องมือ แบบ ประเมิน การแสดง ความ คิดเห็น ของ นักเรียน ตรวจผลงาน แบบ ประเมิน ผลงาน สังเกตการ เรียนรู้ เกณฑ์การวัด 0 ไม่ส่งงาน 1 ผ่าน 2 ดี 3 ดีมาก 1-4 ปรับปรุง 5-6 พอใช้ 7-8 ดี 9-10 ดีมาก แบบ 1-4 ปรับปรุง สังเกตการ 5-6 พอใช้
  • 34. A คุณลักษณะฯ - วินัย สังเกต - อยู่อย่างพอเพียง พฤติกรรม - มุ่งมั่นใจการทางาน เรียนรู้ แบบ ร่วมมือ แบบ ประเมิน พฤติกรรม 7-8 ดี 9-10 ดีมาก 1-2 ปรับปรุง 3-4 พอใช้ 5-6 ดี 11. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม (นาเข้าสู่บทเรียน) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาสาระการเรียนรู้แก่นักเรียน 2. ครูทบทวนความรู้เดิม เรื่อง เส้นที่เรียนผ่านมา และเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ 3. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่าง ขวดน้าพลาสติก ลูกบอล แจกัน และรูปทรง เลขาคณิต แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบว่าสิ่งของแต่ละอย่างที่เห็นมีรูปร่างลักษณะอย่างไร ขั้นที่ 2 ขั้นประสบการณ์(ขั้นสอน) 3. ครูให้ความรู้ เรื่อง รูปร่าง รูปทรง ด้วยสื่อ Power Point 4. นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมจากใบความรู้ เรื่อง รูปร่างรูปทรง 5. นักเรียนศึกษาเพิ่มเติม จากบทเรียนโปรแกรม พร้อมฝึกปฏิบัติกิจรรมใน บทเรียน 5. กลุ่มนักเรียนช่วยกันสร้างรูปร่างด้วยวิธีเจาะกระดาษ ตามขั้นตอนดังนี้ - ตัดกระดาษให้มีขนาด 3 X 3 นิ้ว พับครึ่งของกระดาษ ใช้กรรไกรตัดเจาะกระดาษ ให้เกิดช่องขนาดต่างๆ แต่ไม่ขาดจากัน กระดาษที่ถูกตัดออกจะทาให้เกิดรูปร่างภายในมากมาย คลี่แผ่นกระดาษออก ถ้ายังไม่พอใจให้พับกระดาษตามรอยเดิมแล้วเจาะ เพิ่ม นากระดาษที่เจาะของสมาชิกกลุ่มทุกคนมาจัดวางในกระดาษที่กาหนให้ ทากาวติดในกระดาษแข็ง
  • 35. 6. นาเสนอผลงานกลุ่มร่วมกัน ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นประยุกต์ความรู้และสร้างสรรค์ผลงาน 7. ครูแจกแบบใบงาน เรื่อง อัศจรรย์รูปร่าง รูปทรง ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติสร้าง ภาพด้วยรูปร่าง รูปทรง ลักษณะต่างๆ ตามความคิดและจินตนาการของนักเรียน โดยตั้งชื่อของภาพ ด้วย ใช้เวลา 30 นาที 8. ครูอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานให้นักเรียนทราบ เขียนกรอบขนาดกว้าง 7 นิ้ว ยาว 7 นิ้ว ลงในกระดาษที่กาหนดให้ แบ่งตารางเป็นช่อง ช่องละ 1 นิ้ว ออกแบบรูปร่างเรขาคณิต และรูปทรง ลงในตารางแต่ละช่อง ระบายสีลงในช่องที่เกิดขึ้นทุกช่องจนเต็มทั้งภาพ 9. กลุ่มระดมความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างสรรค์ผลงานจากการใช้รูปร่างและ รูปทรงต่างๆมาผสมผสานกันตามความคิดจิตนาการของกลุ่ม โดยครูคอยให้คาชี้แนะในการ ปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ในการสร้างสรรค์ผลงานของกลุ่ม ขั้นที่ 4 ชื่นชมผลงานของกลุ่ม 9. กลุ่มนาผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปราย ถึงรูปร่าง รูปทรง ในผลงาน และร่วมกันประเมินผลงาน ขั้นที่ 5 ทดสอบและคิดคะแนน 10. นาคะแนนจากการปฏิบัติของสมาชิกกลุ่มทุกคนหาค่าเฉลี่ย เพื่อเป็นคะแนน
  • 36. ของกลุ่ม และนาคะแนนกลุ่มที่ได้รวมกับคะแนนผลงานกลุ่ม จะได้คะแนนนกลุ่มซึ่งเป็นคะแนน รายบุคคล กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับคะแนนพิเศษ ขั้นที่ 6 การเสริมแรงและให้รางวัล 12. ผู้สอนกล่าวคาชื่นชมนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ของกลุ่ม ให้คะแนนพิเศษแก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด และปรบมือให้กาลังใจแก่นักเรียนกลุ่มอื่นๆ ขั้นที่ 7 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้ 13. ตัวแทนกลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนรู้ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค ในการทางานกลุ่ม งานเดี่ยว และบันทึกผลการเรียนรู้ในแบบบันทึกผลการเรียนรู้ (คะแนน) 14. สมาชิกกลุ่มเก็บผลงานของกลุ่มในแฟ้มสะสมผลงานกลุ่ม 12. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. (Power Point) ชุด รูปร่าง รูปทรง 3. บทเรียนโปรแกรม เรื่อง รุปร่างรูปทรง 4. ใบความรู้ เรื่อง รูปร่าง รูปทรง 5. ใบงาน เรื่อง รูปร่าง รูปทรง 6. ใบแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และภาระงานของนักเรียน 7. ใบงาน เรื่อง อัศจรรย์ รูปร่าง รูปทรง 13. กิจกรรมนอกเวลาเรียน - สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ บันทึกการเรียนรู้และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนรู้