SlideShare a Scribd company logo
ภาคผนวก
Mahasarakham University
125
ภาคผนวก ก
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ
Mahasarakham University
126
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินบทเพลงพื้นบ้านอีสาน
1. นายประยุกต์ ประทุมทิพย์ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ
สํานักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 จังหวัดยโสธร
แต่งหนังสือเรื่อง 31 เคล็ดลับสู่การเป็นครูมืออาชีพ
บทความเรื่อง โรงเรียนทีปราศจากความล้มเหลว
แต่งเพลงเกี่ยวกับชีวิตครู ชุด คนโคก
ผู้กํากับภาพยนตร์เรื่อง ก่องข้าวบรรเทาหิว
งานวิจัยทางการศึกษา การแต่งตําราการปรับปรุงภูมิทัศน์
โรงเรียน เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรการสอน
2. นายเนรมิต ทามณี
ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านหนองโสน กลุ่มสวาท-ศรีแก้ว
อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
การศึกษาปริญญาตรีด้านดนตรี มศว. ประสานมิตร
ปริญญาโทด้านบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง
มีความเชี่ยวชาญในด้านประสานเสียงดนตรี
และบริหารการจัดการศึกษา
3. พระอาจารย์สมพงษ์ ถาวรธมฺโฒ
เจ้าอาวาสวัดด่านมุทิตา บ้านศรีแก้ว ตําบลศรีแก้ว
อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร การศึกษาจบปริญญาตรี
เป็นมีผู้มีความเสียสละ ทุ่มเท ให้กับธรรมชาติศึกษาและ
สิ่งแวดล้อมจนมีผลงานปรากฏเป็นรูปธรรม
จนได้รับรางวัล ลูกโลกสีเขียว จากบริษัท ป.ต.ท.
แห่งประเทศไทย ปราชญ์ชาวบ้าน
ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น
Mahasarakham University
127
4. นายวัฒนา พุฒิชาติ นายอําเภอเลิงนกทา
นายอําเภอนักพัฒนา ผู้ริเริ่มโครงการเก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา
เทิดไท้องค์ภูมินทร์ ครบรอบ 84 พรรษา
กําลังศึกษาปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์การปกครอง
ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารชนบท
5. นายไพรัช เคนวิเศษ ผู้อํานวยการสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จังหวัดยโสธร
ผู้เชี่ยวชาญด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย/คู่มือฝึกอบรม
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ นิ่มตลุง หัวหน้าภาควิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รักชาติ ท่าโพธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
การวัดและประเมินผล
3. นายอัศนีย์ศักดิ์ ศิริชัย ผู้อํานวยการเชี่ยวชาญ
โรงเรียนพระญาณสังวร อําเภอคําเขื่อนแก้ว
จังหวัดยโสธร
ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการศึกษา
4. นายระพิน สุวรรณมุข ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ยโสธร เขต 2
ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา
5. ดร.พระมหาวรรณชัย ดาเพ็ง รองอธิการมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยธาตุพนม
จังหวัดนครพนม ปริญญาเอกหลักสูตร-การสอน
มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร
การสอน และภูมิปัญญาท้องถิ่น
Mahasarakham University
128
ภาคผนวก ข
ตัวอย่างบทเพลงพื้นบ้านอีสาน และคู่มือการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมสําหรับนักเรียน
Mahasarakham University
129
แนวคิดในการแต่งบทเพลงพื้นบ้านอีสานเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ
นักเรียนและประชาชนชาวตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ผู้วิจัยจึงขอนําเสนอ แนวคิดใน
การแต่งบทเพลงในแต่ละเพลง พร้อมทั้งเนื้อเพลงที่ผู้วิจัยได้เขียนขึ้น ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ผลจากการศึกษาดังกล่าวเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา การปลุกจิตสํานึก สร้างองค์
ความรู้เห็นคุณค่าเกิดความยั่งยืน ได้ประพันธ์บทเพลงพื้นบ้านอีสาน ให้เหมาะสมสอดคล้องกับ
สภาวการณ์ ที่ได้จากการศึกษาเอกสาร ลงสํารวจพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย และการสัมภาษณ์
จากการแต่งคําประพันธ์เพลง 21 เพลง ได้คัดสรรค์มีความเหมาะสม สอดคล้อง คัดเหลือไว้ เพลง
มีความเหมาะสม ในการนําไปใช้เรียกว่า อัลบั้มเพลง ได้ตั้งชื่อชุดเพลงว่า ฮักนะสิ่งแวดล้อมทําการ
บันทึกเสียงใน แผ่น CD ระบบ COMPACT DISC DIGITAL VIDEO
ผู้ทําการบันทึกเสียง เรียบเรียงเสียงดนตรี นายเนรมิต ธามณี ผู้อํานวยการโรงเรียน
บ้านหนองโสน กลุ่มโรงเรียนสวาท-ศรีแก้ว จบปริญญาตรีด้านดนตรี ปริญญาโท ด้านบริหารการศึกษา
เป็นที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี
การคัดเลือกนักร้อง เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วม และได้ประพันธ์เพลงเองคือนางสาว
วาสิณี คําหา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ร้องเพลง ประพันธ์เพลง ไม่เหมือนวันวาน โปงลางศรีแก้ว
ยโสธร และนางสาวสุกัญญา คําหา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้องเพลง อีสาน นักเรียนโรงเรียนศรี
แก้วประชาสรรค์ ตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
นักร้องชายชื่อนายนภทีป์ หนองแคน จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กําลังศึกษาต่อ
ปริญญาตรี
หมอลําลําเพลินศรีแก้ว คุณครูวงวาด มาฆะเซ็นต์ หมอลํากลอนแม่เขี่ยม สุขเนตร ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น บ้านมันปลา อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
การเลือกทํานองเพลง ภาษา จังหวะ ทํานอง ออกมาในรูปแบบเพลงพื้นบ้านอีสาน ให้
เข้ากับรสนิยมของคนฟังในท้องถิ่นอีสาน การใช้ถ้อยคําให้เกิดอรรถรส ซาบซึ้งกินใจ จะมีคําผญา ซึ่งเป็น
คมลึกซึ้งกินใจ มาจากคําว่าปรัชญา นั่นเอง สะท้อนให้เห็นการดํารงชีวิตความเป็นอย่างพอเพียง
วัฒนธรรมภูมิปัญญาตามวิถีไทย
การสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้านอีสานเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้วิจัย
ได้รวบรวมบทเพลงลงไว้ในชุด “ฮักนะสิ่งแวดล้อม” จํานวน 13 บทเพลง ดังนี้
บทเพลงที่ 1 ชื่อเพลง โปงลางศรีแก้ว
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้องโดย
นายนภทีป์ หนองแคน บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็วให้เกิดความเร้าใจ
ในการเปิดวงดนตรีโปงลาง เป็นการแนะนําวงโปงลาง ใช้ชื่อเพลงโปงลางศรีแก้ว ให้ผู้ฟังได้เห็น
ภาพลักษณ์บริบทตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การดํารงชีวิต อาชีพ วัฒนธรรมประเพณี การรักษาป่าดงปู่ตา ตลอดการ
ป้องกันไฟป่า
เนื้อเพลง โปงลางศรีแก้ว
(สร้อย) โปงลาง ดนตรี ศรีแก้ว..มาแล้ว..สร้างความบันเทิง..บ้านหนูอยู่อําเภอ.
เลิง เชิญมาเบิ่ง เมือง..ยโสธร..............
Mahasarakham University
130
1......เสียงเพลง..ส่งเสียงแจ้วแจ้ว....ศรีแก้วเป็นชื่อตําบล ชายขอบของป่าชุมชน
ทิวทัศน์น่ายล คือ ภูหมากยาง ภูอ่างกบถิ่นเรารักป่า ดงปู่ตา ป่าสวยริมทาง ไฟ ป่าป้องกันกั้นกาง
ชุมชนสร้าง คนสามัคคี
2….สายธาร น้ําใส..ไหลผ่าน ... ชาวบ้านเรียกลําน้ําโพง ห้วยหนอง หล่อเลี้ยง
เชื่อมโยง ให้ป่าดงสวยงามขจี ทางการ ท่านริเริ่มส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ ยางพารา ไร่สวน พืชมี ทํา
นาปี ปลูกอ้อย ปลูกมัน
3......... ป่าเขา ต้นน้ํา ลําธาร ฝายชลประทานท่านคงได้ยิน ชลอน้ําตกไหลริน
งามซอก โขดหินเรีรายลดหลั่น ไปเที่ยวกันไหมน้องนาง ภูบักยาง เหมือนแดนสวรรค์ ไม้ป่า จันทร์ผา
นาพันธุ์ เสียงจั๊กจั่น ร้องลําในดง
4...........ชาวบ้านทุกคนใจดี..ประเพณี ยึดมั่น มานาน บั้งไฟและงานสงกรานต์
ตาหวาน คนงาม คิ้วโก่ง
โปงลาง..ศรีแก้วประชาสรรค์..คิดฮอดกัน..แหน่นะโฉมยง ไผน้อสิเมือนําไปส่ง สิได้ย่างข้ามท่ง โบกมือ
อําลา……....
(สร้อย) โปงลาง ดนตรี ศรีแก้ว..มาแล้ว..สร้างความบันเทิง..บ้านหนูอยู่อําเภอ.
เลิง เชิญมาเบิ่ง เมือง..ยโสธร..............
บทเพลงที่ 2 ชื่อเพลง ยโสธร
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้องโดย
นางสาววาสิณี คําหา บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็ว เพื่อประกอบการ
รําเซิ้งบั้งไฟ เป็นการแนะนําจังหวัดยโสธร โดยเนื้อหา มาจากคําขวัญประจําจังหวัดว่า. ยโสธรเมืองบั้งไฟ
โก้ แตงโมหวาน หมอนขวานผ้า แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ และมีสถานที่ทางศาสนาเป็นที่เคารพนับถือชาว
จังหวัดยโสธรคือพระธาตุอานนท์ กล่าวถึงวัฒนธรรมประเพณี ความเป็นอยู่ การดํารงชีวิต ให้
จินตนาการ เห็นภาพลักษณ์โดยรวมของจังหวัดยโสธร
เนื้อเพลง ยโสธร
......ยโสธร เมือง บั้งไฟ โก้ แตงโม รสหวาน ซ่านจิต
ศรีฐาน หมอนขวาน ผ้า ขิด แหล่งผลิต ข้าว มะลิ ชั้นดี
.......ยโสธร น้ําชี ไหลผ่าน ชาวบ้าน ทําเกษตร อินทรีย์
ดํารงตน ในประเพณี ตามวิถี แห่ง ความพอเพียง
.........พญาแถน ดินแดน สวรรค์ นานาพันธุ์ ไม้ดอก รายเรียง
ฝูงปลา แหวกว่าย คู่เคียง ฟังสําเนียง เสียง สกุณา
........ก้มกราบ พระธาตุ อานนท์ โปรดจงดล คุ้มครอง เถิดหนา
ดอกบัวหลวง กราบลง บูชา คุณพระรักษา…ชาวยโสธร
บทเพลงที่ 3 ชื่อเพลง ลําเพลินศรีแก้ว
3.แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับ
ร้องโดยครูวงวาด มาฆะเซ็นต์ บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็ว ลําเพลิน
เพลงพื้นบ้านอีสานมีความสนุกสนาน เนื้อหา ธรรมชาติ คน สัตว์ แหล่งน้ําลําธาร ป่าไม้ ให้มีการพึ่งพา
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมองเห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ การทํานา ทําไร่ ทําการเกษตรอินทรีย์ ตาม
Mahasarakham University
131
นโยบายแผนยุทธศาสตร์จังหวัดยโสธร ใช้ประกอบท่ารํา ประกอบวงโปงลาง แสดงการถ่ายเผยแพร่สู่
สาธารณชน
เนื้อเพลง ลําเพลินศรีแก้ว
(เกริ่นด้วยผญา)...พี่น้องเอย...ไผหว่าศรีแก้วเศร้า..สิจูงแขนลาวไปเบิ่ง...ภูอ่างกบ..
ภูหมากยาง ยังเจิ่นเทิน มันสิเศร้าจังได๋...วัดด่านมุทิตารักษาป่าไม้…คนก็เพิ่งอาศัยกัน..คือดังปลาอาศัยน้ํา
น้ําก็เพิ่งวังปลา ปลาอาศัยวังเวิน ล่องลอยอยู่ในน้ํา คนมีศีลดินมีน้ํา บ่ห่อนขาดเขินบก...ฝูงหมู่สกุณานก
บินซ่วนชมปลายไม้....ไทเมือง เมืองไกล้..ไปมาได้จอดแหว่ น้ําใจดีหลายแท้..แว..ศรีแก้ว ..จังค่อยเมือ
.................
.......ศรีแก้วประชาสรรค์...ลําเพลินไห่ ลายโปงลางฮีตเก่า...เซิญมาลํา..กันเถิดเจ้า
มาย้อนเข้า..ใส่แคน...พี่น้องเอย.......................(ดนตรี).................................
1.........จั่งหว่าเปิด ผ้ากั้ง เห็นนั่งกันเป็นแถว... อยากได้แนวหมอลํา....ไห่อ้ายรอ
เรียนจบแล้ว.............
..ศรีแก้วเป็นซื่อตําบล หากไครสน ก็รีบเชิญมา จะพาขุดมัน ตัดอ้อย เบิ่งสาวส่ํา
น้อย อาบน้ําริม..โพง... อําเภอบ่ไกล้ บ่ไกล เมืองนกทาใหญ่ อยู่ไกล้ถนน ปูปลาก็มีมากล้น...ชาวบ้าน
ทุกคน อยู่อย่างพอเพียง.. ทําการเกษตรอินทรีย์ ชาวบ้านมีนาสวนพืชไร่..เดียวนี้ยิ่งไปกันใหญ่ แข่งกับ
ปักษ์ไต้ ปลูกยางพารา.............โอย..เด้ชายตีกลองน้ํา สาวงามลงท่า น้องมาคอยอยู่ถ่ารออ้ายอยู่โพง
หย่างโย่งๆเดินผ่านมาเห็น เชิญหลบแสงตะเว็น สุ่มเย็นหายฮ้อน.....เซินๆถ่อน เซินลอยไหลล่อง มาฮัก
กับอีน้องสบายได้อยู่นํา..ขอไห่หมั่นหมายรักใจปอง เงินค่าดองบ่พอ บ่หว่าหยังดอกเด้ออ้าย........
2............โอย..เด้..ชาย ถึงปีนี้มีงานน้อยใหญ่ บุญบั้งไฟ บ้านน้อง คนย่อง
หม่วนหลาย...ฟ้อนยักย้ายส่ายท่าลีลา คือดั่งนางพญาหงส์ เสิ่นลงจากเทิงฟ้า.....
ประเพณีที่เคยยึดมั่น สร้างสรรค์ตามฮีตตามคลอง รักใคร่สามัคคีปองดอง ตุ้มพี่ตุ้มน้อง หม่วนซื่น..โฮ
แซว...........( พูดผญา....ฮักกันไว้ คือข้าวเหนียวหนึ่งไหม่ อย่าเพแตกม้างคือนน้ําถูกข้าวเหนียว...)
3.........โอย..เด้..ชาย..เห็นรอยยิ้มพิมพ์ใจภาพพี่ สาวศรีแก้วผู่นี่ หวังไว้บ่วาย
อยากได้อ้ายมาเป็นผู้นําทาง ให้เจ้าพาถากถางไห่นาตากล้า พาน้องหล่าหาอยู่หากิน เก็บฝากเงินออมสิน
อดออมเอาไว้.... ขอให้-เป็นผู้ขยัน บ่มีวันจน ขัดสนเงินทอง
ตื่นเช้าเข้ามาหาเห็ด กางวันเสร็จ /ใส่เบ็ด/ใส่มอง ใส่ตุ้ม/ใส่ไช/ กลางหนอง
จ้องๆมองไต้แมงจินูน....... ศรีแก้วนั้น ยังมีป่าสมบูรณ์ เพิ่มพูนรักษา กันเถิดหนาพวกเฮา.
...มาเด้ออ้ายๆ .. ชายงามบ้านเผิ่น สาวลําเพลิน อยากเอิ้น รําร่ายส่ายแขน มาย้อนแคน คือดังยูงรํา
แพน อยู่แถนเมืองฟ้า.........
4.......โอย..เด้ชาย..จื่อจําไว้ สาวลําเพลินเด้อพี่ หวังหยับสวนบักมี้ มาซ่นห่มขนุน
ภายหน้าพุ้นบุญฮ่วมนํากัน ให้มีความสัมพันธ์สามัคคีกันไว้ กลมเกลียวมั่นคือดั่งข้าวเหนียวนึ่งไหม่ อย่าได้
เพแตกม้างคือน้ําถูกข้าวเหนียว น้องนี่เที่ยวหาโอ่หาลํา สิได้คนงามต่าวคืนเมือบ้าน นงคราญ
หล่าขอลาเมือก่อน คิดถึงคราวได้ย้อนมาฟ้อนฮ่วมกัน มื้อนี่นั้น ลาลงโค้งต่าว ๆๆ ลาผู้บ่าวส่ําน้อย
ฮิมฮ้านห่างกันสาวหมอลํา.....ศรีแก้ว ประชาสรรค์ .... จะกลับเมือนอนฝัน...คิดฮอดแฟนเพลง......
บทเพลงที่ 4 ชื่อเพลง เก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า เป็นเพลง
Mahasarakham University
132
ส่งเสริมโครงการเก้าขุน เก้าแอ่งน้ํา เทิดไท้องค์ภูมินทร์ ครบรอบ 84 พรรษา เป็นโครงการของอําเภอ
เลิงนกทา จังหวัดยโสธร เป็นการอนุรักษ์แหล่งต้นน้ําลําธาร ลักษณะพื้นที่ของอําเภอเลิงนกทา เป็น
กําเนิดต้นน้ําลําธาร มีภูเขา 9 ภูเขา ที่กําเหนิดลําน้ํา ลําธาร 9 แอ่งน้ํา มีการสร้างฝายกักน้ํา ฝาย
ชลประทานขนาดเล็ก ฝายชะลอน้ํา ตามขุนเขาในเขตท้องที่อําเภอเลิงนกทา ทําให้เกิดความอุดมสมบูรณ์
ชุ่มชื้น ในการทําการเกษตร ทําสวนผลไม้ ปลูดพืชผักสวนครัว ในบทเพลงนี้จะกล่าวถึงแหล่งลําธาร ให้
เกิดความตระหนัก อนุรักษ์แหล่งน้ําร่วมกัน เกิดความภูมิใจรักท้องถิ่น
เนื้อเพลง เก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา
1......เลิงนกทา แหล่งเกิด ต้นน้ําลําธาร สายธาร เลี้ยงลูกหลาน ชาวบ้าน
อาบกินการเกษตร ทํานา พลิกฟื้น ผืนดิน อ่างสร้งหิน หินลับ ฝายชลประทาน
2......อ่างห้วยลิงโจน ลําโพง เชื่อมโยง สายใย น้ําเซไหล คนอาศัย ข้าวปลา
อาหาร ลําห้วยสะแบก อ่างหนองแฝก ไหลเป็นสายธาร เบิ่งสาวตาหวาน ตีกลองน้ํา อาบน้ํา
ลําเซ
3......ฟังเสียงซุง ตีดตุง ... ฟังเสียงแคน แหล่นแตร....... ธรรมชาติที่
สร้างสรรค์ ช่วยกันรักษา อย่าให้พังเพ เปรียบดัง ลุ่มน้ํา ลําเซ ไหลเลี้ยงถ่ายเท เลี้ยงชีพ เพิ่มพูน
4........เก้าขุนเขา เก้าแอ่งลําธารไหลริน แด่องค์ภูมินทร์ ไหลริน บ่มี
สิ้นสูญ คน รักษาป่า ป่ารักษ์น้ํา เพิ่มความสมบูรณ์ ธรรมชาติ เกื้อกูล เกิดความสมดุลย์ อย่าได้ทําลาย
....
บทเพลงที่ 5 ชื่อเพลง อีสาน
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดยนางสาวสุกัญญา คําหา บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า เป็นเพลงที่
กล่าวถึงพื้นที่ภาคอีสานโดยภาพรวมว่า แผ่นดินอีสาน เป็นพื้นที่ มีความแห้งแล้ง แฝงไว้ด้วยความงาม
ของไม้หลากสี ลักษณะดินไม่อุ้มน้ํา ทําให้เกิดความแห้ง มีแนวความคิดที่จะพื้นที่อีสานเป็นสีเขียว เช่น
โครงการโขง ชี มูล โครงการสูบน้ําด้วยพลังไฟฟ้าจากแม่น้ําโขง และพยามจะพลิกฟื้นทุ่งกุลาร้องไห้
เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ จําหน่ายทั่วโลก ภาคอีสาน หากมีแหล่งน้ํา ฝนตกตามฤดูกาล จะทําให้ภาค
อีสานมีความสมบูรณ์มั่งคั่งได้
เนื้อเพลง อีสาน
1...........ยามแล้ง....สีแดงดอกจาน..เบ่งบาน เต็มทุ่งอีสาน
ดอกคูณ สีเหลือง สวยงามตระการ...พะยอมหอมหวาน..หางนกยูงชูช่อ..
2...........ยามนี้....ล้วนมีแมกไม้...ผลิใบ ให้เขียว เลียนล้อ ผักติ้ว ผักเม็ก ล้อม
ลมป้อยอ.....กระโดนเล่าหนอ..สอพลอนางไพร..
3...........ลําเซ.ลําชี - ลํามูล.ลําโขง เชื่อมโยงสายใย พลิกแผ่นดิน อีสาน
กลับมาหายฟื้น คืนไข้.. น้ําฝน ร่วงหล่นลงไพร..ไม้งาม...
4..................อีสาน....เสียงแคนประสาน...หมอลํา พร่ําวอน ตอนค่ําจักจั่ก
เรไร ร้องรํา ย้ํายาม แดนดินถิ่นงาม อีสานบ้านเฮา......
บทเพลงที่ 6 ชื่อเพลง โลกฮ้อน ญ้อนไผ
Mahasarakham University
133
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดยนายนภทีป์ หนองแคน บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ช่ะช่ะช่ะ
กลุ่มเป้าหมายผู้ฟังวัยรุ่น จังหวะเร็วกล่าวถึงการสื่อสารของผู้นําท้องถิ่น ถ่ายทอดให้ชาวบ้านรับรู้เข้าใจ
ปัญหาบ้านเมือง สภาวะโลกร้อน การกําจัดขยะ น้ําเน่า น้ําเสีย หมอกควันพิษ การใช้สารพิษเคมี การ
ใช้ปุ๋ย แนะนําการทําเกษตรยั่งยืน เป็นการตั้งคําถามว่าโลกร้อนเพราะฝีมือใคร มีการใช้กฎหมาย
สิ่งแวดล้อมให้เคร่งครัดแล้วหรือยัง ให้ความรู้เกษตรกร การทํานา การใช้ปุ๋ย การเผาอ้อยเผาซัง การ
แก้ไขปัญหาขยะรีไซเคิล
เนื้อเพลง โลกฮ้อน ญ้อนไผ
(.........เสียงตามสายผู้ใหญ่บ้านประกาศ มื้อนี้อย่าขาด มาฟัง ชี้แจง ปัญหา
มากมายหน่ายแหนง ผู้ใหญ่จะแจ้ง... ปัญหาบ้านเมือง...........)
……..บ้านเฮานับมื้อสิฮ้อน เผิ่นหว่าย้อน ชุมเฮา เผาป่า เผาอ้อย เผาซังในนา
ดินลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง
...........เกษตรกรรมทํานาเดียวนี้ ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง ไถนา ควายเหล็ก ยิ่ง
แพง ควายไม่ขี้ กุดจี่ ก็ไป
...............พลังงาน..ไฟฟ้า จะหมด น้ําเขื่อนลด อยากได้นิวเครียร์ โรงงาน
ปล่อยน้ําเน่า น้ําเสีย แถมน้องเมีย เจ้าอยากนอนห้องแอร์..
...............โรงงาน อุตสาหกรรมใหญ่ กรุงเทพ กรุงไทย มีมากมาย แท้ พ่น
พิษ หมอกควันละแหม รถติดเป็นแพ มีแต่พ่นควันดํา....
..............เกษตรผสมผสาน หมู่เฮาอีสานเคยเฮ็ดเคยทํา แรงงานต้นทุนก็ต่ํา ให้
ลองมาทําเกษตรอินทรีย์ .....
...............ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยสด แล้วก็งด สารพิษเคมี ภูมิปัญญา..
ท้องถิ่นเฮามีทิดสา ทิดสี หันมาส่อยกัน....
……..คัดแยกจํากัดขยะ มลภาวะมวลพิษไม่มี ของเก่าเก็บขายราคาดี
เมียเก่าทิดสีเก็บไว้ใช้เอง
บทเพลงที่ 7 ชื่อเพลง ผูกพันสายใย
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็ว เป็นเพลงที่
เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มนุษย์กับธรรมชาติมีความสัมพันธ์ พึ่งพา
อาศัย เหตุการณ์เป็นข่าวเกิดขึ้นในประเทศไทย ฝนตกดินถล่ม น้ําท่วม เกิดจากน้ํามือของมนุษย์ทําลาย
ป่า แม้กระทั่งขุดรากไม้เพื่อทําของใช้ในบ้าน โต๊ะ เก้าอี้กําลังได้รับความนิยม ทําให้ไม่มีรากไม้ยึดหน้าผิว
ดิน ทําให้ดินถล่มทับบ้านเรือนเกิดความเสียหาย แม่น้ําลําคลองตื้นเขิน ท่อระบายน้ําอุดตัน บทเพลง
อีสานนี้ เป็นข้อเตือนใจ จิตตระหนักระบบนิเวศวิทยา และความสมดุลย์ของธรรมชาติ
เนื้อเพลง ผูกพันสายใย
1.......คนสัตว์ป่า...เป็นสายใยผูกพัน ขาดสิ่งหนึ่งอันก็ผันเกิดปัญหา
มีคน มีสัตว์ มีพืชพันธุ์ไม้ป่า แน่นอนหละหนา....ฝนฟ้าก็ตกดี
2........มาบัดนี้....ธรรมชาติเปลี่ยนแปลง เกิดความแห้งแล้งภัยร้ายก็มากมี
Mahasarakham University
134
น้ําท่วม เมืองจม ดินถล่มกันทุกปี สัตว์ป่าเคยมี.....ก็หลบลี้หนีภัย
3..........ธรรมชาติขาดหายถูกคนทําลายมากมายให้เห็น
โลกที่เคยร่มเย็นต้องกลับกลายเป็นโลกร้อนกันไป ป่าที่เคยสมบูรณ์ค้ําจุนคนสัตว์ผูกพันสายใย
สายน้ําลําธารน้อยใหญ่ก็ตื้นเขินกันไปขาดความสมดุลย์
4.......... มาช่วยกัน....ต้องช่วยกันรักษา ต้นไม้สัตว์ป่า......อย่าให้มันสิ้นสูญ
หยุดทําลาย......หยุดการทารุญ สร้างความสมดุลย์.....เกื้อหนุนกันเถิดเอย
บทเพลงที่ 8 ชื่อเพลง ไม่เหมือนวันวาน
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับ
ร้องโดย นางสาววาสิณี คําหา บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า เป็นเพลง
ชี้ให้เห็นถึงเมืองไทยในอดีตเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ํา เมืองแห่งแผ่นดินธรรมแผ่นทองด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารการ
เกษตรกรรม ที่มีความอุดมสมบูรณ์ แต่ในยุคปัจจุบัน เกิดภัยวิบัติ เดือดร้อน ถ้าถึงรุ่นลูกหลานแล้วจะ
เป็นอย่างไร มนุษย์อย่าเอาเปรียบธรรมชาติมากเกินไป ยังมีเวลาที่จะหันมาช่วยกันรักษาโลกของเราให้
หายป่วย
เนื้อเพลง ไม่เหมือนวันวาน
1......... ผืนแผ่นดินธรรม งามล้ํา..ด้วยแผ่นดินทอง
รวมเผ่าไทย..ทั้งผอง อยู่ครอบครอง..ทํามาหากิน
ธรรมชาติ..สวยสด งามงด..สาย..ธารไหลริน
หล่อเลี้ยง..ชีวิน ข้าวในนา..ปลาอยู่..ในหนอง
2.......... ผืนแผ่นดินไทย สดใส..พืชป่านาพันธุ์
คุณค่าสูง..อนันต์ โอบคุ้มกัน..พวกเราทั้งผอง
เกิดภัย..วิบัติ น้ําท่วม..จนน้ําตานอง
แล้วใคร..เล่าจ้อง ทําลายป่า..ต้นน้ํา..ลําธาร
3....โลกใหญ่ใบนี้...ได้อยู่ สุขสําราญ โลกคือบ้าน เดียวกัน คนได้อาศัย
ฝากสายลมผ่าน..วานสายน้ํา ย้ําใจ วอนทุกใจ...ความสดใส..กลับคืนมา..
4......ผืนแผ่นดินไทย ร่วมมือ..ร่วมใจ..เถิดหนา
ยังไม่หมด..เวลา มาสร้างปลูก.. เพื่อลูกเพื่อหลาน ฤดูกาลเปลี่ยนไปแล้ว....ไม่เหมือนวันวาน
หยุดได้ไหม..อยากถาม ก่อนโลกใบงามของเราดับ
บทเพลงที่ 9 ชื่อเพลง มีป่ามีฝนคนมีกิน
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า มีความ
หมายถึงการดําเนินชีวิต ของชาวอีสานจะมีความสุขอย่างเปี่ยมล้นเมื่อมีฝนตกลงมา แสดงถึงความอุดม
สมบูรณ์ คงจะต้องไม่อดอยากจะมีอาหารเกิดจากธรรมชาติ ปูปลา ผัก ผลไม้ป่า แมลง ตลอดจนทั่ว
ท้องทุ่งนาเขียวขจีการทํานาก็ได้ผล ขายพืชพันธุ์การเกษตร มีข้าวเต็มยุ้งฉาง รายได้เศรษฐกิจดี ดังนั้น
เมื่อมีน้ํามีฝนคนต้องมีกิน ตามความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์
เนื้อเพลง มีป่ามีฝนคนมีกิน
Mahasarakham University
135
1.........ฟ้าฮ้องหน่ําๆ..ฝนตกพรําๆ..เขียดจะนาฮ้อง...น้ําท่า เต็มห้วย เต็มหนอง
....พ่อ-แหม่-ผี่-น้อง-ก็มีแฮงใจ…..ทุ่งนา ป่าเขียว ดอกกะเจียว หน่อไม้ไหล่....ใบขามอ่อน..ต้มอึ่งไข่.....ปิ้ง
กบไงกับตําบักแตง
2...บ้านนาอีสาน..ไผหว่ากันดาร....บ่แหม่นดอก มีน้ํา มีป่า มีเห็ดออก....ผักอี
รอกก็เก็บมาแกง…ค้องกะปอม...ตึกแห..แหย่ไข่มดแดง หรือไปหาแมงแคง เก็บผักกะแยง..ตามนาหน้าฝน
3.........พืชสมุนไพร ไปเก็บผักหวาน หาของป่า มีหมากไม้นานา บักหวดข่า
บักหว่า ก้นโกนขิง ข่า ตระไคร้ ใบอีตู่อยู่..ใกล้โพน เก็บผักติ้ว ผักกะโดน ป่าหน้าฝน บ่อึดอาหาร
4..........ฟ้าฮ้องครืนๆ..ฝนตกทั้งคืน....ไห่นาน้ําห่ง.......นาข้าวเขียว..เต็มท่ง
รวงข้าวป่ง..ล้อลมเบิกบาน อยู่อย่างเพียงพอ....ก็สุขแล้วหนอ หมู่เฮาอีสาน......จักจั่นดังกังวาล......กล่อมทุ่ง
อีสาน...สวรรค์บ้านนา....
บทเพลงที่ 10 ชื่อเพลง ชมป่าศรีแก้ว
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดย นางเขี่ยม สุขเนตรบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ลํากลอน หรือชาว
อีสานเรียกว่าลําทางสั้นเนื้อหาบรรยายถึงความสมบูรณ์ของป่าตําบลศรีแก้ว กล่าวถึงคําขวัญประจําหมู่บ้าน
แหล่งปูแป้ง ถิ่นหอยหอม ภูเขาล้อมหลาย หน่อหวายแกงแซบ การประกอบอาชีพ สมุนไพร ปลุก
จิตสํานึกให้มีการรักป่า การอนุรักษ์ทุ่งดอกกะเจียวบาน เชิญชวนท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ ความงามของ
ธรรมชาติ ตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
เนื้อเพลง ลําทางสั้น (ชมป่าศรีแก้ว)
………….โอ..ละน้อ..ปี่หลี่..น้อแก้มเจ้าปี่หลี่....อ้ายนี่มักเจ้าหนี่อยากให้เมือนํา...นุ่ง
ส่งแอวต่ําๆละอยู่ใต้ สายบือ เสื้อเอวลอยนะหรือ เผิ่นกะเขินต่องย่อง หน้าก็งามขาวผ่องทาแป้งใสๆ นั่ง
ย่องย้อลงไปนี่จะแหม่นมันยาก ย้านแต่เห็นฮุดาก บ่อคือหน้าขาวๆ เอามืองุ้มมือซาว ...อุกนําเด่........
........... โอย..ละนา..นวลเอย........ (ลํา) ฟังเจ้าฟัง บุพผังดอกข่า ข่อยสิพา
เบิ่งป่า ชมนก ชมดง ติดกับห้วยน้ําโพง ตําบลศรีแก้ว หากหว่าไผเห็นแล้ว สิบ่ออยากมา ชมต้น
จันทร์ผา ต้นยาง ต้นดู่ รักษากันแต่ปู่ สืบต่อตายาย ทางปูปลากะหลาย อึ่ง กบ เขียดน้อย หรือหว่า
อยากก้อย กิน ไข่มดแดง แมงจินูนแมงแคง หากินกะง่าย เข่ากอไผ่หน่อไม้กะมี มีของดีสมุนไพร
พื้นบ้าน ถ้าบ่อขี้คร้านหาอยู่หากิน ในท้องถิ่นยังมีปูแป้ง อีกเป็นแหล่งของบักหอยหอม ภูล้อม
หลาย ป่าหวาย ป่าเพ็ก มีผักเม็ก ผักติ้ว ผักกะโดน ครั้นหว่าอยู่ในโพนกะมีเห็ดปลวก อยากหมกฮวก
กะยังพอมี เฮากะมีของดีหากเฮามีป่า แต่มะลางปู้ย่า มีภูมิปัญญา ให้มีดอนปู่ตา รักษาป่าไม้ ลูกหลาน
ได้หาอยู่หากิน เกิดเต็มดินมีเห็ดละโงก ย่างเข้าโคกหาดอกกะเจียว อนุรักษ์ท่องเที่ยว ธรรมชาติศึกษา
อําเภอเลิงนกทา พอมีให้เบิ่ง ตุ้มเปิดเปิ่ง ๆๆๆไผอยากไปเบิ่งมาเมือนํากัน สิได้เห็นสวรรค์ของคนบ้านป่า
สีนานวล ซ่วนน้อง..ไว้แหน่...ท่อนั้น....แหล่ว...........
บทเพลงที่ 11 ชื่อเพลง ลําทางยาว(ธรรมชาติพึ่งพา)
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดย นางเขี่ยม สุขเนตรบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ลํากลอนทางยาว
หมอแคนนายสีธาตุ กุดเชียงหมี บรรยายถึงสรรพสิ่งที่เกิดมาต้องมีการพึ่งพากัน เป็นห่วงโซ่อาหาร จะใช้
คําบรรยายเนื้อหาแทรกคําผญา คําคม สุภาษิตอีสาน ให้เกิดเป็นคติสอนใจ ที่บรรพบุรุษได้สั่งสม
Mahasarakham University
136
ประสบการณ์ ชี้นําการดําเนินชีวิตตามระบบของชีวิต ระเบียบของสังคม(ตามฮีต ตามคลอง) จะมีความ
อยู่เย็นเป็นสุข แต่ในยุคปัจจุบันยุคสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เมืองไทยเป็นเมืองเกษตรกรรม
เพื่อเป็นการรองรับความเจริญอย่ารวดเร็ว โดยการดํารงตนตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เนื้อเพลง ลําทางยาว(ธรรมชาติพึ่งพา)
…..โอ โอ ฟังเด้อ ญาติพี่น้องผองหมู่เฮาอีสาน..... เฮาอยู่สําราญชุ่มเย็นบ่อมี
ฮ้อน ..... ย้อนหว่าโจกๆจ้นฝนหล่น ลงมายาม คําทักทาย คําถามเห็น กัน ยามพ้อหน้า หว่าจังได๋ ลุง
ป้าทางบ้านเฮา..บ้านเจ้า ฝนตกดีบ่หน่อ.. เอาละน้อคุณผ่อ.. ตอบหว่ามาปีนี้ได้ฟ้าใหม่ฝนดี ......ชลนะทีมี
เต็มห่ง..ตามหนอง...ตามท่ง..ท้องวัวควายกะโก่ง เพราะหญ่าป่งเขียวขจี มีตัวอ้วน ตัวพี ไว้ใส่ไถตกนาตา
กล้า ดําละบ้ออีหล่าไฮ่ใหญ่นาโพนโก ข้าวเขียวงามพะโล ไฮ่สะแบงนาโพนค้อ ชาวนานั้นบ้อก็คึดต่อ แต่
นําฝน ฝนตกตามฤดูกาลปูปลาอาหาร หากินง่าย ไปดอนไล่กระต่าย
ไปไฮ่เดินเข้าโค่ก เห็ดละโงกอยู่เลาะทาง ..........ดอกกะเจียวเขียวเหลืองเต็มป่า..เก็บเอามาลวกกินกับป่น
บ่อับจนข้าวอยู่เล้า ปลากะอยู่ในสา พริกตระไคร้ โหระพาปลูกแคบแคแจฮั้ว วัวควายเลี้ยงปลาปูหมูเป็ด
ไก่ ปุ๋ยคอกกะได้ใช้ ไห้มีอยู่มีกิน ดินส่วนหนึ่งให้จ่งไว้ปลูกที่อาศัย ความพอเพียงสุขใจ ไทยอีสานให่จื่อ
จําเด้อเจ้า คือพ่อแหม่ เผิ่นเว้า เตือนไว้ให่ทุกคน.. ทุกข์บ่มีเสื้อผ้าฝาเฮือนดีพอลี้อยู่ ทุกข์บ่มีข้าวอยู่ท้อง
สินอนลี้อยู่จั่งได๋...¬ หันให่นํามาใช้เศรษฐกิจใหม่ของในหลวง ไทยทั้งปวง สุขสําราญ ปานสวรรค์เมืองฟ้า
แหงนเบิ่งฟ้าโล่งแจ้งเดือนอร่าม งามตา ลมโชยมาพาพัดสุ่มเย็นหายฮ้อน ดึกมาสิข่อนๆ เสียงบ่าวสะนู
หวาย ดังดื่นดี้ดื่น ๆๆ....ตอนกลางคืนเสียงแคนบ่าวเลอะบ้าน ลอยตามลมลอดใบไผ่....กล่อมบ้านป่านา
ไพร กบเขียดฮ้อง เสียงก้องกล่อมบรรเลง.............โอยๆ..นา.....
..........นี้แหละป้า......เผิ่นหว่าเมืองอีสานนี้ มีดินดําน้ําชุ่ม จั่งหว่าปลากุ่มป้อน
คือแข่..นั่นแก่งหาง จั่งหว่าปลานางบ้อนคือเสียงนั่นฟ้าหลั่น ฟังเสียงจักจั่นฮ้อง..คือเสียงฟ้าสิหล่วงบน..
.........คนมีศีล ดินมีน้ํา บ่ห่อนขาดเขินบก ฝูงหมู่กา สกุณานก บินซ่วนซมปลายไม้ บ้านเมืองเฮานี้ ให้
พากันฮักป่า ป่าก็ฮักแม่น้ํา ไหลก้ําเข้าอยู่ดิน ฝนตกรินไหลลงห้วย วัวควายได้นอนบวก......ฮวกกบฮวก
เขียดน้อย สิลอยล่อง แม่นที................
...โอย....น้อ..น้องเอย....... ...........ดังเช่นนั้น คนเฮานี้กะต้องเผิ่งอาศัยกัน คือ
ดั่งปลาเผิ่งน้ํา น้ําก็เผิ่งวังปลา ปลาอาศัยวังเวินจึงลอยในน้ํา ทามอาศัยห้วย วัวควายอาศัยแอก ตาแฮก
อาศัยไก่ต้ม จึงโดนอุ้มจากคอน คือดังคอนอาศัยอาศัยไม้ นกไส่อาศัยโกลน คนก็อาศัยคน รักษาป่าไม้
ดินก็อุ้มน้ําไว้ สัตว์ป่าได้หากิน…..ดินก็อาศัยหญ้า นาทามเผิ่งน้ําแก่ง สิ่งทั้งหลายฮักแพง ก็เผิ่งกันโดยด้าม
คามอาศัยหม้อ หมอมออาศัยส่อง ฆ้องตีต้อง จึ่งค่อยดัง วังอาศัยห้วย วัวควายกินหญ้าอ่อน หยุดสา
ก่อน อย่าทําลายตัดป่าไม้ เผาถิ่ม...แหม่นบ่ยัง..... ขอให้รักษาไว้ป่าใหญ่ดอนปู่ตา มูลพ่อแม่ ภูมิปัญญาผู้
เฒ่าแก่ เป็นของดีแท้ ๆ ๆ ๆ รักษาไม้ ให่ลูกหลาน...... เอาละน้อท่อนี้ พวกหมูชาวอีสาน ขอให้
ยาว ๆ ไว้คือสินไชนั่นถางไห่..ฮักกันไว้ให้ คือฝนแสนห่า ตกลงมาจากฟ้า ไหลโฮมโห่ง แหม่นสู่หนอง
..........โอ....น้องเอย..
บทเพลงที่ 12 ชื่อเพลง ลําเต้ย(พืชผักสวนครัว)
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดย นางเขี่ยม สุขเนตรบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ลํากลอน ลําเต้ย
หมอแคนนายสีธาตุ กุดเชียงหมี เป็นหลักปรัชญาการดําเนินชีวิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่
แบ่งเนื้อที่ส่วนหนึ่งไว้ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ปลูกผักปลอดสารพิษ สามารถนําไปขาย ซื้อในสิ่งที่
Mahasarakham University
137
เราทําไม่ได้ เป็นการประหยัดเงินตรา ได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ด้วย
เนื้อเพลง ลําเต้ย(พืชผักสวนครัว)
........มีพืชมีผักสวนครัว ไม่ต้องกลัวว่าจะขัดสน ปลูกไว้ให้ชื่นกมล ไว้ฮิมฮั้ว
บ้าน จะทําอาหารได้ทันท่วงที ไม่ต้องไปซื้อไปหา ประหยัดเงินตราไว้แหละดี ข่าตระไคร้ก็มี ผักชี พริก
โหระพา ปลูกคะน้าไปซื้อไปหาเขามาทําไม ปลูกฮั้วกินได้ เก็บไปขายหรือเก็บไว้กิน ปลูกหอมไว้ใส่ขั้วซี้น
ปลูกผักตํานินลวกกินกับแจ่ว ปลูกผักแพรวไว้ใส่ลาบก้อย ซอยใส้แหม่นใส่บี ขอให้มีผักบุ้ง ต้นบักหุ่ง
หอมเป สารเพแนวผัก อ่อมแกงกะยังได้ มีแนวนี่ มันแห่งดีมันแซบเอาหนี่ คันได้กินแหม่นซุบหมากมี่ ดี
ล้นแหม่นเอาเหลือ ต้มส้มกบยังได้ใส่ข่า ต้มเป็ดต้มไก่ เอาหัวสิงไคร อยู่ฮิมฮั้ว.....
บทเพลงที่ 13 ชื่อเพลง แหล่โลกสีเขียว
แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง
โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ แหล่บรรยายถึง
สภาพพื้นที่ตําบลศรีแก้ว ความอุดมสมบูรณ์ ความของทิวทัศน์ ของภูเขา และเป็นการเชิดชูเกียรติพระ
อาจารย์สมพงษ์ ถาวรธัมโม เจ้าอาวาสวัดด่านมุทิตา การศึกษาจบปริญญาตรี มีวิสัยทัศน์มุ่งมั่นในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจนรับรางวัลลูกโลกสีเขียว ประเภทบุคคล ปี 2553 และเป็น
ผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาบทเพลงพื้นบ้านอีสานเพื่อปลุกจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม เนื้อเพลงให้เห็นความสําคัญท้องถิ่น ภูมิปัญญา ให้นักเรียนคนรุ่นใหม่ หันมาใส่ใจเรื่อง
สิ่งแวดล้อม
เนื้อเพลง แหล่โลกสีเขียว
....เที่ยวชมป่าเดียรดาษ ธรรมชาติน่าศึกษา ศรีแก้วเลิงนกทา ยโสธรเมืองบั้งไฟ
...เก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา รวมสายธารโยงสายใย มีเขาลําเนาไพร มีป่าไม้มีสาย
ธาร
...ศรีแก้วภูหมากยาง บ้านโคกใหญ่ภูผักหวาน ป่าดอกกะเจียวบาน ป่าผักหวาน
ตระการตา
...บวชป่าภูอ่างกบ ฝายทํานบกั้นธารา แหล่งอยู่ของปูปลา ฝูงสัตว์ป่าลงมากิน
...ภูหมากยางสร้างฝายกั้น ฝายลดหลั่นตามซอกหิน ฝายแม้วคงได้ยิน ทั่วทุกถิ่น
สร้างร่วมใจ
...ผางามชนะจิต งามจับจิตสวยจับใจ ทิวทัศน์เห็นทั่วไป เมื่อขึ้นไปผานางคอย
....หอยหอมถิ่นปูแป้ง แหล่งบูชาพระธาตุน้อย ยายแปรแซ่หมักกลอย เป็น
ร่องรอยแต่โบราณ
....บัวลอยถ้ายังอยู่ เป็นถ้ํางูเหลือมหลาวหลาม เฒ่าเหี่ยวชื่อนายพราน ได้
ประหารชีวิตงู
....เจ้าผีศรีสงคราม ส่งวิญญาณมาเกิดใหม่ ปัจจุบันเห็นทั่วไป เป่าโรคหายเชิญมา
ดู
...ตํานานที่ขานไข คนรุ่นใหม่ได้รับรู้ ของดีที่บนภู พระอาจารย์ผู้สร้างนําพา
...อาจารย์สมพงษ์ ถาวรธัมโม เมืองยโสเลิงนกทา วัดด่านมุทิตาชมจันทน์ผาป่ากะ
เจียว
Mahasarakham University
138
...ดินน้ําป่าพันผูก รางวัลลูกโลกสีเขียว ร่วมใจเป็นหนึ่งเดียว ให้โลกเขียวสู่บ้าน
เฮา......
Mahasarakham University
139
คู่มือการส่งเสริมความรู้ เจตคติ และความตระหนัก
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โดย
เดชา จันดาพันธ์
Mahasarakham University
140
การวิเคราะห์หลักสูตรเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
เพื่อส่งเสริมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยใช้บทเพลงพื้นบ้านอีสาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ สื่อ กิจกรรม ประเมินผล
กลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
แผ่นดินธรรมแผ่นดิน
ทอง
- การดํารงอาชีพตาม
เศรษฐกิจพอเพียง
- การเกษตรอินทรีย์
- การทํานา
- การปลูกผักสวนครัว
เพลงยโสธร
เพลงพืชผัก
สวนครัว
- นําเข้าสู่บทเพลงโดย
ใช้บทเพลง
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
ประเด็นที่กําหนด
- ลงมือปฏิบัติจริง
- ศึกษานอกสถานที่
- สรุปอภิปรายผล
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
เรียนรู้ ผูกพันสายใย
- ระบบนิเวศวิทยา
- ห่วงโซ่อาหาร
- การอนุรักษ์
ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม
- แหล่งต้นน้ําลําธาร
- ฝายชะลอน้ํา
1. เพลง
ผูกพัน
สายใย
2. เพลง
เก้าขุนเขา
เก้าแอ่งน้ํา
3. เพลง
ธรรมชาติ
พึ่งพา
- นําเข้าสู่บทเพลงโดย
ใช้บทเพลง
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
ประเด็นที่กําหนด
- สืบค้น
- ศึกษาการจัด
นิทรรศการ
- เขียนเรียงความ
- สรุปอภิปรายผล
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
คนดีที่ศรีแก้ว
1. วัฒนธรรมภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นศรีแก้ว
2. วัฒนธรรม
3. ดงปู่ตา
4. การดํารงชีวิตตาม
วิถีไทย
1. เพลง
โปงลางศรี
แก้ว
2. เพลงลํา
เพลินศรี
แก้วอีสาน
- นําเข้าสู่บทเพลงโดย
ใช้บทเพลง
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
ประเด็นที่กําหนด
- ลงมือปฏิบติจริง
- ศึกษานอกสถานที่
- สรุปอภิปรายผล
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ สื่อ กิจกรรม ประเมินผล
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ
ลําเพลินเจริญใจ
1. คิดออกแบบท่ารํา
การประกอบอาชีพ
2. วาดรูปทิวทัศน์
1. ลําเพลิน
ศรีแก้ว
2. เพลงเซิ้ง
บั้งไฟยโสธร
- นําเข้าสู่บทเพลงโดย
ใช้บทเพลง
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
Mahasarakham University
141
แหล่งท่องเที่ยว ประเด็นที่กําหนด
- ลงมือปฏิบติจริง
- ศึกษานอกสถานที่
- สรุปอภิปรายผล
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
ปลูกพืชอะไรกําไรดี
1. การคิดคํานวณ
ต้นทุน
2. กําไร/การบันทึก
ข้อมูลสถิติ
ศึกษาแหล่ง
เรียนรู้ใน
ท้องถิ่น
- นําเข้าสู่บทเพลงโดย
ใช้บทเพลง
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
ประเด็นที่กําหนด
- ลงมือปฏิบติจริง
- ศึกษานอกสถานที่
- สรุปอภิปรายผล
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษา
โลกร้อนเพราะใคร
1. โรคภัยไข้เจ็บเกิด
จากสภาวะการ
เปลี่ยนแปลงอากาศ
2. แหล่งเกิด
มลภาวะเป็นพิษ/การ
กําจัดขยะ
1. เพลงโลก
ฮ้อนย้อนไผ
2. เพลงไม่
เหมือน
วันวาน
- นําเข้าสู่บทเพลงโดย
ใช้บทเพลง
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
ประเด็นที่กําหนด
- ลงมือปฏิบัติจริง
- ศึกษานอกสถานที่
- สรุปอภิปรายผล
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
มัคคุเทศก์น้อย
1. การท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์
2. การประกอบ
อาชีพแลกเปลี่ยน
เรียนรู้กับสังคมโลก
1. การ
เรียนรู้เชิง
อนุรักษ์
2. พาไป
แหล่งเรียนรู้
ในท้องถิ่น
- ศึกษาแหล่งเรียนรู้ใน
ท้องถิ่น
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
ประเด็นที่กําหนด
- สรุปอภิปรายผล
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ สื่อ กิจกรรม ประเมินผล
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
ภาษาสื่อสาร
1. เขียนสื่อสาร
เรียงความ
2. การพูด การเขียน
การอ่าน คําประพันธ์
เกี่ยวกับการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากร
ใช้นวัตกรรม
ประกอบวิดิ
ทัศน์ สืบค้น
คว้าแหล่งรู้
ขบวนการ
กลุ่ม
- นํานักเรียนศึกษา
แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น
(แหล่งเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทาง
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมและ
แหล่งเรียนรู้ทาง
สิ่งแวดล้อมทาง
วัฒนธรรม)
- การสังเกต
- การสัมภาษณ์
- บรรยาย
ความรู้สึก
- ดูผลการบันทึก
การทํางาน
Mahasarakham University
142
- รับความรู้พร้อม
อภิปรายกลุ่มใน
ประเด็นที่กําหนด
- ลงมือปฏิบัติจริง
- ศึกษานอกสถานที่
- สรุปอภิปรายผล
โดยมีเทคนิค การนําไปใช้ ดังนี้
1. การฝึกอบรมครู การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาแบบบูรณาการ
2. วิเคราะห์แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร-อําเภอเลิงนกทา
3. ศึกษาบริบทสภาพแวดล้อมชุมชน แผนพัฒนาตําบลศรีแก้ว
4. สรุปประเด็นที่สอดคล้องจากมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระ ทั้ง 8 กลุ่ม
5. สรุปประเด็นเป็นหน่วยการเรียนรู้
6. ครูนําหน่วยการเรียนรู้จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้สอนในห้องเรียนและแหล่ง
เรียนรู้ให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้
7. นําเด็กศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาตินอกห้องเรียนโดยการจัดกิจกรรมเข้าค่าย
อบรม “อยู่กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยความพอเพียง”
8. มีการทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
9. สรุปประเมินผลการจัดกิจกรรมทักษะ ความรู้ เจตคติ เห็นคุณค่า การตอบสนอง
10. นําผลการดําเนินการไปขยายผลต่อไป
Mahasarakham University
143
คณิตศาสตร์ :ให้เหตุผลการสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนําเสนอการเชื่อมโยง
ความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์
อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
-
สรุปประเด็นเป็นฐานการเรียนรู้เพื่อสู่หน่วยการเรียนรู้
ภาษาไทย :เขียนสื่อสาร
เขียนเรียงความและเขียน
เรื่องราวเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมและการ
อนุรักษ์
สังคมศึกษา :ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรมมีจิตสํานึกและมีส่วนร่วม
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
-
วิทยาศาสตร์ :สืบเสาะหาความรู้
นําความรู้ไปใช้ในการดํารงชีวิต
ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
ต่างๆจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
สุขศึกษา :เห็นคุณค่า
ตนเองครอบครัวมีทักษะ
ในการดําเนินชีวิตอย่าง
พอเพียง
ศิลปะ:แสดงออกทางดนตรี
อย่างสร้างสรรค์ถ่ายทอด
ความรู้สึกความคิดต่อดนตรี
อย่างอิสระและประยุกต์ใช้เพื่อ
สร้างความตระหนักรัก
สิ่งแวดล้อมและความพอเพียง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี :
สร้างทักษะให้มีประสบการณ์เห็น
แนวทางในงานอาชีพใช้
เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพมี
คุณธรรมและมีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพและการดํารงชีวิตอย่าง
พอเพียง
ภาษาต่างประเทศ:ใช้
ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือ
พื้นฐานในการศึกษาต่อการประกอบ
อาชีพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
สังคมโลกปลูกฝังและสร้างจิตสํานึก
ของการทําประโยชน์เพื่อสังคม
สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นอย่างมีความสุข
การถ่ายทอดบทเพลง
พื้นบ้านอีสานเพื่อส่งเสริม
จิตสํานึกการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
Mahasarakham University
144
ภาคผนวก ค
คุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
Mahasarakham University
145
ตาราง 13 ค่าความยากง่ายและค่าอํานาจจําแนกแบบวัดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ข้อที่ ค่าความยาก ค่าอํานาจจําแนก ข้อที่ ค่าความยาก ค่าอํานาจจําแนก
1 0.76 0.6236 21 0.58 0.4895
2 0.70 0.3922 22 0.36 0.3700
3 0.80 0.4866 23 0.57 0.5908
4 0.72 0.2381 24 0.20 0.0680
5 0.56 0.5243 25 0.42 0.3908
6 0.65 0.6090 26 0.75 0.4979
7 0.83 0.4032 27 0.57 0.5642
8 0.43 0.6201 28 0.39 0.3080
9 0.63 0.5610 29 0.22 0.0557
10 0.64 0.5021 30 0.76 0.6236
11 0.50 0.4662 31 0.21 0.2822
12 0.45 0.3248 32 0.43 0.3961
13 0.38 0.3791 33 0.49 0.4281
14 0.46 0.3094 34 0.47 0.5456
15 0.55 0.1052 35 0.58 0.4895
16 0.57 0.5242 36 0.48 0.5409
17 0.56 0.4072 37 0.57 0.6335
18 0.68 0.5527 38 0.58 0.4895
19 0.40 0.2782 39 0.36 0.3700
20 0.76 0.3731 40 0.57 0.5908
ค่าความเชื่อมั่น RB ทั้งฉบับ เท่ากับ 0.87
Mahasarakham University
146
ตาราง 14 ค่าความยากง่าย และค่าอํานาจจําแนกของแบบวัดความตระหนัก
ขั้นการรับรู้ ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น
ข้อที่ 1 .546
ข้อที่ 2 .366
ข้อที่ 3 .646
ข้อที่ 4 .531
ข้อที่ 5 .731
ข้อที่ 6 .366
ข้อที่ 7 .646
ข้อที่ 8 .531
ข้อที่ 9 .709
ข้อที่ 10 .706
ข้อที่ 11 .366
ข้อที่ 12 .646
ข้อที่ 13 .531
ข้อที่ 14 .366
ข้อที่ 15 .646
ข้อที่ 16 .690
ข้อที่ 17 .719
ข้อที่ 18 .366
ข้อที่ 19 .646
ข้อที่ 20 .531
ข้อที่ 21 .542
รวมเฉลี่ย .467
Mahasarakham University
147
ตาราง 14 (ต่อ)
ด้าน ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น
ข้อที่ 22 .712
ข้อที่ 23 .683
ข้อที่ 24 .527
ข้อที่ 25 .341
ข้อที่ 26 .746
ข้อที่ 27 .865
ข้อที่ 28 .704
ข้อที่ 29 .527
ข้อที่ 30 .953
ข้อที่ 31 .410
ข้อที่ 32 .914
ข้อที่ 33 .310
ข้อที่ 34 .363
ข้อที่ 35 .410
ข้อที่ 36 .914
ข้อที่ 37 .914
ข้อที่ 38 .310
ข้อที่ 39 .363
ข้อที่ 40 .410
ข้อที่ 41 .874
ข้อที่ 42 .742
ข้อที่ 43 .805
ข้อที่ 44 .870
ข้อที่ 45 .890
Mahasarakham University
148
ตาราง 14 (ต่อ)
ด้าน ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น
ข้อที่ 46 .810
ข้อที่ 47 .789
ข้อที่ 48 .858
ข้อที่ 49 .923
ข้อที่ 50 .903
ข้อที่ 51 .803
ข้อที่ 52 .822
ข้อที่ 53 .813
ข้อที่ 54 .885
ข้อที่ 55 .883
ข้อที่ 56 .311
ข้อที่ 57 .898
ข้อที่ 58 .859
ข้อที่ 59 .311
ข้อที่ 60 .303
ข้อที่ 61 .087
ข้อที่ 62 .759
ข้อที่ 63 .807
ข้อที่ 64 .855
ข้อที่ 65 .339
ข้อที่ 66 .209
ข้อที่ 67 .694
Mahasarakham University
149
ตาราง 14 (ต่อ)
ด้าน ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น
ข้อที่ 68 .758
ข้อที่ 69 .750
ข้อที่ 70 .871
รวมเฉลี่ย .500
ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .981
Mahasarakham University
150
ภาคผนวก ง
แบบประเมินของผู้เชี่ยวชาญ
Mahasarakham University
151
แบบประเมินคู่มือฝึกอบรมเพื่อการส่งเสริมความรู้ เจตคติ และความตระหนักในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คําชี้แจง โปรดกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ
เหมาะสมมากที่สุด ให้ 5 คะแนน
เหมาะสมมาก ให้ 4 คะแนน
เหมาะสมปานกลาง ให้ 3 คะแนน
เหมาะสมน้อย ให้ 2 คะแนน
เหมาะสมน้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน
รายการประเมิน
ระดับความเหมาะสม
มาก
ที่สุด
มากปาน
กลาง
น้อย
น้อย
ที่สุด
มาก
ที่สุด
1. สาระสําคัญ
1.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
1.2 สอดคล้องกับเนื้อหา
1.3 มีความชัดเจน เข้าใจง่าย
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
2.2 สอดคล้องกับเนื้อหา
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 สอดคล้องกับเนื้อหา
3.2 การใช้ภาษาชัดเจน เข้าใจง่าย
3.3 ระบุพฤติกรรมที่ต้องการวัดได้ชัดเจน
4. สาระการเรียนรู้
4.1 ตรงตามหลักสูตร
4.2 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน
4.3 เหมาะสมกับเวลา
4.4 มีความยากง่ายเหมาะสม
4.5 น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน
รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม
Mahasarakham University
152
มาก
ที่สุด
มากปาน
กลาง
น้อย
น้อย
ที่สุด
มาก
ที่สุด
5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 เร้าความสนใจของนักเรียน
5.2 เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
5.3 จัดกิจกรรมพัฒนาปัญญา
5.4 จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามลําดับ
5.5 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ดียิ่งขึ้น
6. สื่อการเรียนรู้
6.1 สอดคล้องกับเนื้อหา
6.2 สื่อความหมายได้ชัดเจน
6.3 ประหยัด
7. การวัดและประเมินผล
7.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
7.2 สอดคล้องกับกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ………………...….....……..........…………………………………………………………………………………….
…………………………………………...………………...………………………………………….............................................
…………………………………………...………………...………………………………………….............................................
…………………………………………...………………...………………………………………….............................................
…………………………………………...………………...………………………………………….............................................
…………………………………………...………………...………………………………………….............................................
…………………………………………...………………...………………………………………….............................................
ลงชื่อ…………………………..ผู้ประเมิน
(…………………………)
Mahasarakham University
153
ตาราง 15 ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญ
ข้อที่
คะแนนการประเมินผู้เชี่ยวชาญ
∑X IOC
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5
1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
5 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
11 +1 +1 +1 +1 0 4 0.8
12 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
13 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
14 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
15 +1 +1 0 +1 +1 4 0.8
16 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
17 +1 0 +1 +1 +1 4 0.8
18 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
19 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8
20 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
21 +1 +1 0 +1 +1 4 0.8
22 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
23 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
24 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
Mahasarakham University
154
ตาราง 15 (ต่อ)
ข้อที่
คะแนนการประเมินผู้เชี่ยวชาญ
∑X IOC
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5
25 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
26 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
27 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8
28 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
29 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
30 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
31 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
32 +1 +1 +1 +1 0 4 0.8
33 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
34 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
35 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
36 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
37 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
38 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
39 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8
40 +1 +1 +1 +1 +1 5 1
Mahasarakham University
155
ตาราง 16 ผลการประเมินแบบวัดความตระหนักต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของผู้เชี่ยวชาญ
ข้อที่ รายการ
คะแนนการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ
∑X IOC
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5
1 รายการเกี่ยวกับปัญหา
สิ่งแวดล้อมควรเสนอทางวิทยุ
หรือโทรทัศน์โดยกว้างขวาง
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
2 การรักษาคุณภาพของ
สิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่รัฐบาล
ควรสนับสนุน
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
3 การถมสระน้ําในหมู่บ้านไปสร้าง
สนามฟุตบอลเป็นสิ่งที่ควร
กระทํา
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
4 ถ้าเราทุกคนช่วยกันปลูกป่าคง
จะไม่แห้งแล้ง
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
5 ควรทําโปสเตอร์ ป้ายคําขวัญ
และการเดินรณรงค์ให้มีการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
6 เมื่อนักเรียนรับประทานอาหาร
ที่มีบรรจุภัณฑ์ไม่ใช้แล้วจะนําไป
ทิ้งขยะโดยคัดแยกเสมอ
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
7 ป้ายคําขวัญที่ติดตามสถานที่
ต่าง ๆ เพื่อเชิญชวนให้อนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมเป็นวิธีการหนึ่งที่ดี
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
8 การรักษาความสะอาดของ
สถานศึกษาไม่ใช่หน้าที่ของ
นักเรียนควรเป็นหน้าที่ของ
คนงาน
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
Mahasarakham University
156
ตาราง 16 (ต่อ)
ข้อที่ รายการ
คะแนนการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ
∑X IOC
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5
9 การพัฒนาความสะอาดของ
สถานศึกษาเป็นเรื่องน่าเบื่อ
หน่าย
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
10 เมื่อมีชมรม “นักอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม” นักเรียนจะสมัคร
เป็นสมาชิกด้วยความเต็มใจ
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
11 ควรสร้างสวนพฤกษศาสตร์/
สวนสมุนไพร/พืชผักพื้นเมืองใน
สถานศึกษาเป็นวิธีการฝึก
นักเรียนในการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
12 เมื่อมีการอบรมเยาวชนอาสา
พัฒนาท้องถิ่นนักเรียนมีความ
สนใจและจะสมัครเข้ารับการ
ฝึกอบรม
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
13 การให้ความรู้ทางสิ่งแวดล้อม
เป็นหน้าที่ของนักการศึกษาด้าน
สิ่งแวดล้อมเท่านั้น
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
14 การสร้างสวนพฤกษศาสตร์
สามารถแก้ปัญหาลดการชะล้าง
หน้าดินได้
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
15 ควรมีการสร้างสวน
พฤกษศาสตร์เป็นการอนุรักษ์
พันธุ์ไม้หายาก
+1 +1 +1 +1 +1 5 1
Mahasarakham University
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม
Appเพลงสิ่งแวดล้อม

More Related Content

What's hot

รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
Kroo nOOy
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
Kroo nOOy
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
Panomporn Chinchana
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3Kroo nOOy
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
ดวงฤทัย ช่วงชัย
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
Krungao1
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 

What's hot (19)

รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 5
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 10
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
Mater Dei teacher card-2013
Mater Dei  teacher card-2013Mater Dei  teacher card-2013
Mater Dei teacher card-2013
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 3
 
2553
25532553
2553
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 

Similar to Appเพลงสิ่งแวดล้อม

แข่งเรือ
แข่งเรือแข่งเรือ
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfire
poomarin
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
kalayatookta
 
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9ไนซ์ ไนซ์
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
UsableLabs
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
พิชญาพัช บัวทอง
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8SomAo
 
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6Nirut Uthatip
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
Thai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwareeThai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwareekrusuwaree
 
Thai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwareeThai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwareekrusuwaree
 

Similar to Appเพลงสิ่งแวดล้อม (20)

แข่งเรือ
แข่งเรือแข่งเรือ
แข่งเรือ
 
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfire
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
1
11
1
 
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
 
ชมรมคนรักตัวอักษรศรีน่าน
ชมรมคนรักตัวอักษรศรีน่านชมรมคนรักตัวอักษรศรีน่าน
ชมรมคนรักตัวอักษรศรีน่าน
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
 
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
Thai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwareeThai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwaree
 
Thai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwareeThai folk dance by krusuwaree
Thai folk dance by krusuwaree
 

More from Prasong Somarat

ผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์ ชาติเจริญ
ผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์  ชาติเจริญผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์  ชาติเจริญ
ผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์ ชาติเจริญPrasong Somarat
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญPrasong Somarat
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
Prasong Somarat
 
วรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮอง
วรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮองวรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮอง
วรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮอง
Prasong Somarat
 
Best01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครูBest01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครู
Prasong Somarat
 
Best1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูBest1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครู
Prasong Somarat
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Prasong Somarat
 
0การพัฒนากระบวนการนิเทศ โรงเรียนสรินธร
0การพัฒนากระบวนการนิเทศ  โรงเรียนสรินธร0การพัฒนากระบวนการนิเทศ  โรงเรียนสรินธร
0การพัฒนากระบวนการนิเทศ โรงเรียนสรินธรPrasong Somarat
 
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
Prasong Somarat
 
การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์
การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์
การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์
Prasong Somarat
 
การออกแบบอิงมฐ.สิรินธร
การออกแบบอิงมฐ.สิรินธรการออกแบบอิงมฐ.สิรินธร
การออกแบบอิงมฐ.สิรินธรPrasong Somarat
 
หลักสูตรสิรินธร 2555
หลักสูตรสิรินธร 2555หลักสูตรสิรินธร 2555
หลักสูตรสิรินธร 2555Prasong Somarat
 
หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555
หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555
หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555Prasong Somarat
 
การออกแบบอิงมฐ.สธ.
การออกแบบอิงมฐ.สธ.การออกแบบอิงมฐ.สธ.
การออกแบบอิงมฐ.สธ.Prasong Somarat
 
2การออกแบบอิงมฐ.
2การออกแบบอิงมฐ.2การออกแบบอิงมฐ.
2การออกแบบอิงมฐ.Prasong Somarat
 
psของกินถิ่นเรา
psของกินถิ่นเราpsของกินถิ่นเรา
psของกินถิ่นเราPrasong Somarat
 
แบบฝึกอ่านคิดจากนิทาน
แบบฝึกอ่านคิดจากนิทานแบบฝึกอ่านคิดจากนิทาน
แบบฝึกอ่านคิดจากนิทานPrasong Somarat
 
Psประเพณีฮีตสิบสอง
PsประเพณีฮีตสิบสองPsประเพณีฮีตสิบสอง
PsประเพณีฮีตสิบสองPrasong Somarat
 

More from Prasong Somarat (20)

ผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์ ชาติเจริญ
ผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์  ชาติเจริญผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์  ชาติเจริญ
ผลงานทางวิชาการ ครูสุพัฒน์ ชาติเจริญ
 
190071010142559is
190071010142559is190071010142559is
190071010142559is
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
 
วรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮอง
วรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮองวรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮอง
วรรณณคดีอีสาน บัวธมบัวฮอง
 
Best01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครูBest01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครู
 
Best1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูBest1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครู
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
 
0การพัฒนากระบวนการนิเทศ โรงเรียนสรินธร
0การพัฒนากระบวนการนิเทศ  โรงเรียนสรินธร0การพัฒนากระบวนการนิเทศ  โรงเรียนสรินธร
0การพัฒนากระบวนการนิเทศ โรงเรียนสรินธร
 
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
 
การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์
การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์
การแต่งกลอน สิรินธร จ.สุรินทร์
 
การออกแบบอิงมฐ.สิรินธร
การออกแบบอิงมฐ.สิรินธรการออกแบบอิงมฐ.สิรินธร
การออกแบบอิงมฐ.สิรินธร
 
หลักสูตรสิรินธร 2555
หลักสูตรสิรินธร 2555หลักสูตรสิรินธร 2555
หลักสูตรสิรินธร 2555
 
หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555
หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555
หลักสูตร 2551 สิรินธร 2555
 
การออกแบบอิงมฐ.สธ.
การออกแบบอิงมฐ.สธ.การออกแบบอิงมฐ.สธ.
การออกแบบอิงมฐ.สธ.
 
2การออกแบบอิงมฐ.
2การออกแบบอิงมฐ.2การออกแบบอิงมฐ.
2การออกแบบอิงมฐ.
 
psของกินถิ่นเรา
psของกินถิ่นเราpsของกินถิ่นเรา
psของกินถิ่นเรา
 
แบบฝึกอ่านคิดจากนิทาน
แบบฝึกอ่านคิดจากนิทานแบบฝึกอ่านคิดจากนิทาน
แบบฝึกอ่านคิดจากนิทาน
 
Psประเพณีฮีตสิบสอง
PsประเพณีฮีตสิบสองPsประเพณีฮีตสิบสอง
Psประเพณีฮีตสิบสอง
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึก
 

Appเพลงสิ่งแวดล้อม

  • 3. 126 รายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินบทเพลงพื้นบ้านอีสาน 1. นายประยุกต์ ประทุมทิพย์ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ สํานักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 จังหวัดยโสธร แต่งหนังสือเรื่อง 31 เคล็ดลับสู่การเป็นครูมืออาชีพ บทความเรื่อง โรงเรียนทีปราศจากความล้มเหลว แต่งเพลงเกี่ยวกับชีวิตครู ชุด คนโคก ผู้กํากับภาพยนตร์เรื่อง ก่องข้าวบรรเทาหิว งานวิจัยทางการศึกษา การแต่งตําราการปรับปรุงภูมิทัศน์ โรงเรียน เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรการสอน 2. นายเนรมิต ทามณี ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านหนองโสน กลุ่มสวาท-ศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร การศึกษาปริญญาตรีด้านดนตรี มศว. ประสานมิตร ปริญญาโทด้านบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง มีความเชี่ยวชาญในด้านประสานเสียงดนตรี และบริหารการจัดการศึกษา 3. พระอาจารย์สมพงษ์ ถาวรธมฺโฒ เจ้าอาวาสวัดด่านมุทิตา บ้านศรีแก้ว ตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร การศึกษาจบปริญญาตรี เป็นมีผู้มีความเสียสละ ทุ่มเท ให้กับธรรมชาติศึกษาและ สิ่งแวดล้อมจนมีผลงานปรากฏเป็นรูปธรรม จนได้รับรางวัล ลูกโลกสีเขียว จากบริษัท ป.ต.ท. แห่งประเทศไทย ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น Mahasarakham University
  • 4. 127 4. นายวัฒนา พุฒิชาติ นายอําเภอเลิงนกทา นายอําเภอนักพัฒนา ผู้ริเริ่มโครงการเก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา เทิดไท้องค์ภูมินทร์ ครบรอบ 84 พรรษา กําลังศึกษาปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์การปกครอง ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารชนบท 5. นายไพรัช เคนวิเศษ ผู้อํานวยการสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดยโสธร ผู้เชี่ยวชาญด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย/คู่มือฝึกอบรม 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ นิ่มตลุง หัวหน้าภาควิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รักชาติ ท่าโพธิ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม การวัดและประเมินผล 3. นายอัศนีย์ศักดิ์ ศิริชัย ผู้อํานวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพระญาณสังวร อําเภอคําเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการศึกษา 4. นายระพิน สุวรรณมุข ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา 5. ดร.พระมหาวรรณชัย ดาเพ็ง รองอธิการมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยธาตุพนม จังหวัดนครพนม ปริญญาเอกหลักสูตร-การสอน มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร การสอน และภูมิปัญญาท้องถิ่น Mahasarakham University
  • 6. 129 แนวคิดในการแต่งบทเพลงพื้นบ้านอีสานเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ นักเรียนและประชาชนชาวตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ผู้วิจัยจึงขอนําเสนอ แนวคิดใน การแต่งบทเพลงในแต่ละเพลง พร้อมทั้งเนื้อเพลงที่ผู้วิจัยได้เขียนขึ้น ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ผลจากการศึกษาดังกล่าวเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา การปลุกจิตสํานึก สร้างองค์ ความรู้เห็นคุณค่าเกิดความยั่งยืน ได้ประพันธ์บทเพลงพื้นบ้านอีสาน ให้เหมาะสมสอดคล้องกับ สภาวการณ์ ที่ได้จากการศึกษาเอกสาร ลงสํารวจพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย และการสัมภาษณ์ จากการแต่งคําประพันธ์เพลง 21 เพลง ได้คัดสรรค์มีความเหมาะสม สอดคล้อง คัดเหลือไว้ เพลง มีความเหมาะสม ในการนําไปใช้เรียกว่า อัลบั้มเพลง ได้ตั้งชื่อชุดเพลงว่า ฮักนะสิ่งแวดล้อมทําการ บันทึกเสียงใน แผ่น CD ระบบ COMPACT DISC DIGITAL VIDEO ผู้ทําการบันทึกเสียง เรียบเรียงเสียงดนตรี นายเนรมิต ธามณี ผู้อํานวยการโรงเรียน บ้านหนองโสน กลุ่มโรงเรียนสวาท-ศรีแก้ว จบปริญญาตรีด้านดนตรี ปริญญาโท ด้านบริหารการศึกษา เป็นที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี การคัดเลือกนักร้อง เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วม และได้ประพันธ์เพลงเองคือนางสาว วาสิณี คําหา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ร้องเพลง ประพันธ์เพลง ไม่เหมือนวันวาน โปงลางศรีแก้ว ยโสธร และนางสาวสุกัญญา คําหา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้องเพลง อีสาน นักเรียนโรงเรียนศรี แก้วประชาสรรค์ ตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร นักร้องชายชื่อนายนภทีป์ หนองแคน จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กําลังศึกษาต่อ ปริญญาตรี หมอลําลําเพลินศรีแก้ว คุณครูวงวาด มาฆะเซ็นต์ หมอลํากลอนแม่เขี่ยม สุขเนตร ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น บ้านมันปลา อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร การเลือกทํานองเพลง ภาษา จังหวะ ทํานอง ออกมาในรูปแบบเพลงพื้นบ้านอีสาน ให้ เข้ากับรสนิยมของคนฟังในท้องถิ่นอีสาน การใช้ถ้อยคําให้เกิดอรรถรส ซาบซึ้งกินใจ จะมีคําผญา ซึ่งเป็น คมลึกซึ้งกินใจ มาจากคําว่าปรัชญา นั่นเอง สะท้อนให้เห็นการดํารงชีวิตความเป็นอย่างพอเพียง วัฒนธรรมภูมิปัญญาตามวิถีไทย การสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้านอีสานเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้วิจัย ได้รวบรวมบทเพลงลงไว้ในชุด “ฮักนะสิ่งแวดล้อม” จํานวน 13 บทเพลง ดังนี้ บทเพลงที่ 1 ชื่อเพลง โปงลางศรีแก้ว แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้องโดย นายนภทีป์ หนองแคน บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็วให้เกิดความเร้าใจ ในการเปิดวงดนตรีโปงลาง เป็นการแนะนําวงโปงลาง ใช้ชื่อเพลงโปงลางศรีแก้ว ให้ผู้ฟังได้เห็น ภาพลักษณ์บริบทตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การดํารงชีวิต อาชีพ วัฒนธรรมประเพณี การรักษาป่าดงปู่ตา ตลอดการ ป้องกันไฟป่า เนื้อเพลง โปงลางศรีแก้ว (สร้อย) โปงลาง ดนตรี ศรีแก้ว..มาแล้ว..สร้างความบันเทิง..บ้านหนูอยู่อําเภอ. เลิง เชิญมาเบิ่ง เมือง..ยโสธร.............. Mahasarakham University
  • 7. 130 1......เสียงเพลง..ส่งเสียงแจ้วแจ้ว....ศรีแก้วเป็นชื่อตําบล ชายขอบของป่าชุมชน ทิวทัศน์น่ายล คือ ภูหมากยาง ภูอ่างกบถิ่นเรารักป่า ดงปู่ตา ป่าสวยริมทาง ไฟ ป่าป้องกันกั้นกาง ชุมชนสร้าง คนสามัคคี 2….สายธาร น้ําใส..ไหลผ่าน ... ชาวบ้านเรียกลําน้ําโพง ห้วยหนอง หล่อเลี้ยง เชื่อมโยง ให้ป่าดงสวยงามขจี ทางการ ท่านริเริ่มส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ ยางพารา ไร่สวน พืชมี ทํา นาปี ปลูกอ้อย ปลูกมัน 3......... ป่าเขา ต้นน้ํา ลําธาร ฝายชลประทานท่านคงได้ยิน ชลอน้ําตกไหลริน งามซอก โขดหินเรีรายลดหลั่น ไปเที่ยวกันไหมน้องนาง ภูบักยาง เหมือนแดนสวรรค์ ไม้ป่า จันทร์ผา นาพันธุ์ เสียงจั๊กจั่น ร้องลําในดง 4...........ชาวบ้านทุกคนใจดี..ประเพณี ยึดมั่น มานาน บั้งไฟและงานสงกรานต์ ตาหวาน คนงาม คิ้วโก่ง โปงลาง..ศรีแก้วประชาสรรค์..คิดฮอดกัน..แหน่นะโฉมยง ไผน้อสิเมือนําไปส่ง สิได้ย่างข้ามท่ง โบกมือ อําลา…….... (สร้อย) โปงลาง ดนตรี ศรีแก้ว..มาแล้ว..สร้างความบันเทิง..บ้านหนูอยู่อําเภอ. เลิง เชิญมาเบิ่ง เมือง..ยโสธร.............. บทเพลงที่ 2 ชื่อเพลง ยโสธร แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้องโดย นางสาววาสิณี คําหา บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็ว เพื่อประกอบการ รําเซิ้งบั้งไฟ เป็นการแนะนําจังหวัดยโสธร โดยเนื้อหา มาจากคําขวัญประจําจังหวัดว่า. ยโสธรเมืองบั้งไฟ โก้ แตงโมหวาน หมอนขวานผ้า แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ และมีสถานที่ทางศาสนาเป็นที่เคารพนับถือชาว จังหวัดยโสธรคือพระธาตุอานนท์ กล่าวถึงวัฒนธรรมประเพณี ความเป็นอยู่ การดํารงชีวิต ให้ จินตนาการ เห็นภาพลักษณ์โดยรวมของจังหวัดยโสธร เนื้อเพลง ยโสธร ......ยโสธร เมือง บั้งไฟ โก้ แตงโม รสหวาน ซ่านจิต ศรีฐาน หมอนขวาน ผ้า ขิด แหล่งผลิต ข้าว มะลิ ชั้นดี .......ยโสธร น้ําชี ไหลผ่าน ชาวบ้าน ทําเกษตร อินทรีย์ ดํารงตน ในประเพณี ตามวิถี แห่ง ความพอเพียง .........พญาแถน ดินแดน สวรรค์ นานาพันธุ์ ไม้ดอก รายเรียง ฝูงปลา แหวกว่าย คู่เคียง ฟังสําเนียง เสียง สกุณา ........ก้มกราบ พระธาตุ อานนท์ โปรดจงดล คุ้มครอง เถิดหนา ดอกบัวหลวง กราบลง บูชา คุณพระรักษา…ชาวยโสธร บทเพลงที่ 3 ชื่อเพลง ลําเพลินศรีแก้ว 3.แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับ ร้องโดยครูวงวาด มาฆะเซ็นต์ บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็ว ลําเพลิน เพลงพื้นบ้านอีสานมีความสนุกสนาน เนื้อหา ธรรมชาติ คน สัตว์ แหล่งน้ําลําธาร ป่าไม้ ให้มีการพึ่งพา เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมองเห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ การทํานา ทําไร่ ทําการเกษตรอินทรีย์ ตาม Mahasarakham University
  • 8. 131 นโยบายแผนยุทธศาสตร์จังหวัดยโสธร ใช้ประกอบท่ารํา ประกอบวงโปงลาง แสดงการถ่ายเผยแพร่สู่ สาธารณชน เนื้อเพลง ลําเพลินศรีแก้ว (เกริ่นด้วยผญา)...พี่น้องเอย...ไผหว่าศรีแก้วเศร้า..สิจูงแขนลาวไปเบิ่ง...ภูอ่างกบ.. ภูหมากยาง ยังเจิ่นเทิน มันสิเศร้าจังได๋...วัดด่านมุทิตารักษาป่าไม้…คนก็เพิ่งอาศัยกัน..คือดังปลาอาศัยน้ํา น้ําก็เพิ่งวังปลา ปลาอาศัยวังเวิน ล่องลอยอยู่ในน้ํา คนมีศีลดินมีน้ํา บ่ห่อนขาดเขินบก...ฝูงหมู่สกุณานก บินซ่วนชมปลายไม้....ไทเมือง เมืองไกล้..ไปมาได้จอดแหว่ น้ําใจดีหลายแท้..แว..ศรีแก้ว ..จังค่อยเมือ ................. .......ศรีแก้วประชาสรรค์...ลําเพลินไห่ ลายโปงลางฮีตเก่า...เซิญมาลํา..กันเถิดเจ้า มาย้อนเข้า..ใส่แคน...พี่น้องเอย.......................(ดนตรี)................................. 1.........จั่งหว่าเปิด ผ้ากั้ง เห็นนั่งกันเป็นแถว... อยากได้แนวหมอลํา....ไห่อ้ายรอ เรียนจบแล้ว............. ..ศรีแก้วเป็นซื่อตําบล หากไครสน ก็รีบเชิญมา จะพาขุดมัน ตัดอ้อย เบิ่งสาวส่ํา น้อย อาบน้ําริม..โพง... อําเภอบ่ไกล้ บ่ไกล เมืองนกทาใหญ่ อยู่ไกล้ถนน ปูปลาก็มีมากล้น...ชาวบ้าน ทุกคน อยู่อย่างพอเพียง.. ทําการเกษตรอินทรีย์ ชาวบ้านมีนาสวนพืชไร่..เดียวนี้ยิ่งไปกันใหญ่ แข่งกับ ปักษ์ไต้ ปลูกยางพารา.............โอย..เด้ชายตีกลองน้ํา สาวงามลงท่า น้องมาคอยอยู่ถ่ารออ้ายอยู่โพง หย่างโย่งๆเดินผ่านมาเห็น เชิญหลบแสงตะเว็น สุ่มเย็นหายฮ้อน.....เซินๆถ่อน เซินลอยไหลล่อง มาฮัก กับอีน้องสบายได้อยู่นํา..ขอไห่หมั่นหมายรักใจปอง เงินค่าดองบ่พอ บ่หว่าหยังดอกเด้ออ้าย........ 2............โอย..เด้..ชาย ถึงปีนี้มีงานน้อยใหญ่ บุญบั้งไฟ บ้านน้อง คนย่อง หม่วนหลาย...ฟ้อนยักย้ายส่ายท่าลีลา คือดั่งนางพญาหงส์ เสิ่นลงจากเทิงฟ้า..... ประเพณีที่เคยยึดมั่น สร้างสรรค์ตามฮีตตามคลอง รักใคร่สามัคคีปองดอง ตุ้มพี่ตุ้มน้อง หม่วนซื่น..โฮ แซว...........( พูดผญา....ฮักกันไว้ คือข้าวเหนียวหนึ่งไหม่ อย่าเพแตกม้างคือนน้ําถูกข้าวเหนียว...) 3.........โอย..เด้..ชาย..เห็นรอยยิ้มพิมพ์ใจภาพพี่ สาวศรีแก้วผู่นี่ หวังไว้บ่วาย อยากได้อ้ายมาเป็นผู้นําทาง ให้เจ้าพาถากถางไห่นาตากล้า พาน้องหล่าหาอยู่หากิน เก็บฝากเงินออมสิน อดออมเอาไว้.... ขอให้-เป็นผู้ขยัน บ่มีวันจน ขัดสนเงินทอง ตื่นเช้าเข้ามาหาเห็ด กางวันเสร็จ /ใส่เบ็ด/ใส่มอง ใส่ตุ้ม/ใส่ไช/ กลางหนอง จ้องๆมองไต้แมงจินูน....... ศรีแก้วนั้น ยังมีป่าสมบูรณ์ เพิ่มพูนรักษา กันเถิดหนาพวกเฮา. ...มาเด้ออ้ายๆ .. ชายงามบ้านเผิ่น สาวลําเพลิน อยากเอิ้น รําร่ายส่ายแขน มาย้อนแคน คือดังยูงรํา แพน อยู่แถนเมืองฟ้า......... 4.......โอย..เด้ชาย..จื่อจําไว้ สาวลําเพลินเด้อพี่ หวังหยับสวนบักมี้ มาซ่นห่มขนุน ภายหน้าพุ้นบุญฮ่วมนํากัน ให้มีความสัมพันธ์สามัคคีกันไว้ กลมเกลียวมั่นคือดั่งข้าวเหนียวนึ่งไหม่ อย่าได้ เพแตกม้างคือน้ําถูกข้าวเหนียว น้องนี่เที่ยวหาโอ่หาลํา สิได้คนงามต่าวคืนเมือบ้าน นงคราญ หล่าขอลาเมือก่อน คิดถึงคราวได้ย้อนมาฟ้อนฮ่วมกัน มื้อนี่นั้น ลาลงโค้งต่าว ๆๆ ลาผู้บ่าวส่ําน้อย ฮิมฮ้านห่างกันสาวหมอลํา.....ศรีแก้ว ประชาสรรค์ .... จะกลับเมือนอนฝัน...คิดฮอดแฟนเพลง...... บทเพลงที่ 4 ชื่อเพลง เก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า เป็นเพลง Mahasarakham University
  • 9. 132 ส่งเสริมโครงการเก้าขุน เก้าแอ่งน้ํา เทิดไท้องค์ภูมินทร์ ครบรอบ 84 พรรษา เป็นโครงการของอําเภอ เลิงนกทา จังหวัดยโสธร เป็นการอนุรักษ์แหล่งต้นน้ําลําธาร ลักษณะพื้นที่ของอําเภอเลิงนกทา เป็น กําเนิดต้นน้ําลําธาร มีภูเขา 9 ภูเขา ที่กําเหนิดลําน้ํา ลําธาร 9 แอ่งน้ํา มีการสร้างฝายกักน้ํา ฝาย ชลประทานขนาดเล็ก ฝายชะลอน้ํา ตามขุนเขาในเขตท้องที่อําเภอเลิงนกทา ทําให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ชุ่มชื้น ในการทําการเกษตร ทําสวนผลไม้ ปลูดพืชผักสวนครัว ในบทเพลงนี้จะกล่าวถึงแหล่งลําธาร ให้ เกิดความตระหนัก อนุรักษ์แหล่งน้ําร่วมกัน เกิดความภูมิใจรักท้องถิ่น เนื้อเพลง เก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา 1......เลิงนกทา แหล่งเกิด ต้นน้ําลําธาร สายธาร เลี้ยงลูกหลาน ชาวบ้าน อาบกินการเกษตร ทํานา พลิกฟื้น ผืนดิน อ่างสร้งหิน หินลับ ฝายชลประทาน 2......อ่างห้วยลิงโจน ลําโพง เชื่อมโยง สายใย น้ําเซไหล คนอาศัย ข้าวปลา อาหาร ลําห้วยสะแบก อ่างหนองแฝก ไหลเป็นสายธาร เบิ่งสาวตาหวาน ตีกลองน้ํา อาบน้ํา ลําเซ 3......ฟังเสียงซุง ตีดตุง ... ฟังเสียงแคน แหล่นแตร....... ธรรมชาติที่ สร้างสรรค์ ช่วยกันรักษา อย่าให้พังเพ เปรียบดัง ลุ่มน้ํา ลําเซ ไหลเลี้ยงถ่ายเท เลี้ยงชีพ เพิ่มพูน 4........เก้าขุนเขา เก้าแอ่งลําธารไหลริน แด่องค์ภูมินทร์ ไหลริน บ่มี สิ้นสูญ คน รักษาป่า ป่ารักษ์น้ํา เพิ่มความสมบูรณ์ ธรรมชาติ เกื้อกูล เกิดความสมดุลย์ อย่าได้ทําลาย .... บทเพลงที่ 5 ชื่อเพลง อีสาน แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดยนางสาวสุกัญญา คําหา บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า เป็นเพลงที่ กล่าวถึงพื้นที่ภาคอีสานโดยภาพรวมว่า แผ่นดินอีสาน เป็นพื้นที่ มีความแห้งแล้ง แฝงไว้ด้วยความงาม ของไม้หลากสี ลักษณะดินไม่อุ้มน้ํา ทําให้เกิดความแห้ง มีแนวความคิดที่จะพื้นที่อีสานเป็นสีเขียว เช่น โครงการโขง ชี มูล โครงการสูบน้ําด้วยพลังไฟฟ้าจากแม่น้ําโขง และพยามจะพลิกฟื้นทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ จําหน่ายทั่วโลก ภาคอีสาน หากมีแหล่งน้ํา ฝนตกตามฤดูกาล จะทําให้ภาค อีสานมีความสมบูรณ์มั่งคั่งได้ เนื้อเพลง อีสาน 1...........ยามแล้ง....สีแดงดอกจาน..เบ่งบาน เต็มทุ่งอีสาน ดอกคูณ สีเหลือง สวยงามตระการ...พะยอมหอมหวาน..หางนกยูงชูช่อ.. 2...........ยามนี้....ล้วนมีแมกไม้...ผลิใบ ให้เขียว เลียนล้อ ผักติ้ว ผักเม็ก ล้อม ลมป้อยอ.....กระโดนเล่าหนอ..สอพลอนางไพร.. 3...........ลําเซ.ลําชี - ลํามูล.ลําโขง เชื่อมโยงสายใย พลิกแผ่นดิน อีสาน กลับมาหายฟื้น คืนไข้.. น้ําฝน ร่วงหล่นลงไพร..ไม้งาม... 4..................อีสาน....เสียงแคนประสาน...หมอลํา พร่ําวอน ตอนค่ําจักจั่ก เรไร ร้องรํา ย้ํายาม แดนดินถิ่นงาม อีสานบ้านเฮา...... บทเพลงที่ 6 ชื่อเพลง โลกฮ้อน ญ้อนไผ Mahasarakham University
  • 10. 133 แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดยนายนภทีป์ หนองแคน บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ช่ะช่ะช่ะ กลุ่มเป้าหมายผู้ฟังวัยรุ่น จังหวะเร็วกล่าวถึงการสื่อสารของผู้นําท้องถิ่น ถ่ายทอดให้ชาวบ้านรับรู้เข้าใจ ปัญหาบ้านเมือง สภาวะโลกร้อน การกําจัดขยะ น้ําเน่า น้ําเสีย หมอกควันพิษ การใช้สารพิษเคมี การ ใช้ปุ๋ย แนะนําการทําเกษตรยั่งยืน เป็นการตั้งคําถามว่าโลกร้อนเพราะฝีมือใคร มีการใช้กฎหมาย สิ่งแวดล้อมให้เคร่งครัดแล้วหรือยัง ให้ความรู้เกษตรกร การทํานา การใช้ปุ๋ย การเผาอ้อยเผาซัง การ แก้ไขปัญหาขยะรีไซเคิล เนื้อเพลง โลกฮ้อน ญ้อนไผ (.........เสียงตามสายผู้ใหญ่บ้านประกาศ มื้อนี้อย่าขาด มาฟัง ชี้แจง ปัญหา มากมายหน่ายแหนง ผู้ใหญ่จะแจ้ง... ปัญหาบ้านเมือง...........) ……..บ้านเฮานับมื้อสิฮ้อน เผิ่นหว่าย้อน ชุมเฮา เผาป่า เผาอ้อย เผาซังในนา ดินลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง ...........เกษตรกรรมทํานาเดียวนี้ ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง ไถนา ควายเหล็ก ยิ่ง แพง ควายไม่ขี้ กุดจี่ ก็ไป ...............พลังงาน..ไฟฟ้า จะหมด น้ําเขื่อนลด อยากได้นิวเครียร์ โรงงาน ปล่อยน้ําเน่า น้ําเสีย แถมน้องเมีย เจ้าอยากนอนห้องแอร์.. ...............โรงงาน อุตสาหกรรมใหญ่ กรุงเทพ กรุงไทย มีมากมาย แท้ พ่น พิษ หมอกควันละแหม รถติดเป็นแพ มีแต่พ่นควันดํา.... ..............เกษตรผสมผสาน หมู่เฮาอีสานเคยเฮ็ดเคยทํา แรงงานต้นทุนก็ต่ํา ให้ ลองมาทําเกษตรอินทรีย์ ..... ...............ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยสด แล้วก็งด สารพิษเคมี ภูมิปัญญา.. ท้องถิ่นเฮามีทิดสา ทิดสี หันมาส่อยกัน.... ……..คัดแยกจํากัดขยะ มลภาวะมวลพิษไม่มี ของเก่าเก็บขายราคาดี เมียเก่าทิดสีเก็บไว้ใช้เอง บทเพลงที่ 7 ชื่อเพลง ผูกพันสายใย แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดย นายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะเร็ว เป็นเพลงที่ เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มนุษย์กับธรรมชาติมีความสัมพันธ์ พึ่งพา อาศัย เหตุการณ์เป็นข่าวเกิดขึ้นในประเทศไทย ฝนตกดินถล่ม น้ําท่วม เกิดจากน้ํามือของมนุษย์ทําลาย ป่า แม้กระทั่งขุดรากไม้เพื่อทําของใช้ในบ้าน โต๊ะ เก้าอี้กําลังได้รับความนิยม ทําให้ไม่มีรากไม้ยึดหน้าผิว ดิน ทําให้ดินถล่มทับบ้านเรือนเกิดความเสียหาย แม่น้ําลําคลองตื้นเขิน ท่อระบายน้ําอุดตัน บทเพลง อีสานนี้ เป็นข้อเตือนใจ จิตตระหนักระบบนิเวศวิทยา และความสมดุลย์ของธรรมชาติ เนื้อเพลง ผูกพันสายใย 1.......คนสัตว์ป่า...เป็นสายใยผูกพัน ขาดสิ่งหนึ่งอันก็ผันเกิดปัญหา มีคน มีสัตว์ มีพืชพันธุ์ไม้ป่า แน่นอนหละหนา....ฝนฟ้าก็ตกดี 2........มาบัดนี้....ธรรมชาติเปลี่ยนแปลง เกิดความแห้งแล้งภัยร้ายก็มากมี Mahasarakham University
  • 11. 134 น้ําท่วม เมืองจม ดินถล่มกันทุกปี สัตว์ป่าเคยมี.....ก็หลบลี้หนีภัย 3..........ธรรมชาติขาดหายถูกคนทําลายมากมายให้เห็น โลกที่เคยร่มเย็นต้องกลับกลายเป็นโลกร้อนกันไป ป่าที่เคยสมบูรณ์ค้ําจุนคนสัตว์ผูกพันสายใย สายน้ําลําธารน้อยใหญ่ก็ตื้นเขินกันไปขาดความสมดุลย์ 4.......... มาช่วยกัน....ต้องช่วยกันรักษา ต้นไม้สัตว์ป่า......อย่าให้มันสิ้นสูญ หยุดทําลาย......หยุดการทารุญ สร้างความสมดุลย์.....เกื้อหนุนกันเถิดเอย บทเพลงที่ 8 ชื่อเพลง ไม่เหมือนวันวาน แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับ ร้องโดย นางสาววาสิณี คําหา บันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า เป็นเพลง ชี้ให้เห็นถึงเมืองไทยในอดีตเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ํา เมืองแห่งแผ่นดินธรรมแผ่นทองด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารการ เกษตรกรรม ที่มีความอุดมสมบูรณ์ แต่ในยุคปัจจุบัน เกิดภัยวิบัติ เดือดร้อน ถ้าถึงรุ่นลูกหลานแล้วจะ เป็นอย่างไร มนุษย์อย่าเอาเปรียบธรรมชาติมากเกินไป ยังมีเวลาที่จะหันมาช่วยกันรักษาโลกของเราให้ หายป่วย เนื้อเพลง ไม่เหมือนวันวาน 1......... ผืนแผ่นดินธรรม งามล้ํา..ด้วยแผ่นดินทอง รวมเผ่าไทย..ทั้งผอง อยู่ครอบครอง..ทํามาหากิน ธรรมชาติ..สวยสด งามงด..สาย..ธารไหลริน หล่อเลี้ยง..ชีวิน ข้าวในนา..ปลาอยู่..ในหนอง 2.......... ผืนแผ่นดินไทย สดใส..พืชป่านาพันธุ์ คุณค่าสูง..อนันต์ โอบคุ้มกัน..พวกเราทั้งผอง เกิดภัย..วิบัติ น้ําท่วม..จนน้ําตานอง แล้วใคร..เล่าจ้อง ทําลายป่า..ต้นน้ํา..ลําธาร 3....โลกใหญ่ใบนี้...ได้อยู่ สุขสําราญ โลกคือบ้าน เดียวกัน คนได้อาศัย ฝากสายลมผ่าน..วานสายน้ํา ย้ําใจ วอนทุกใจ...ความสดใส..กลับคืนมา.. 4......ผืนแผ่นดินไทย ร่วมมือ..ร่วมใจ..เถิดหนา ยังไม่หมด..เวลา มาสร้างปลูก.. เพื่อลูกเพื่อหลาน ฤดูกาลเปลี่ยนไปแล้ว....ไม่เหมือนวันวาน หยุดได้ไหม..อยากถาม ก่อนโลกใบงามของเราดับ บทเพลงที่ 9 ชื่อเพลง มีป่ามีฝนคนมีกิน แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะช้า มีความ หมายถึงการดําเนินชีวิต ของชาวอีสานจะมีความสุขอย่างเปี่ยมล้นเมื่อมีฝนตกลงมา แสดงถึงความอุดม สมบูรณ์ คงจะต้องไม่อดอยากจะมีอาหารเกิดจากธรรมชาติ ปูปลา ผัก ผลไม้ป่า แมลง ตลอดจนทั่ว ท้องทุ่งนาเขียวขจีการทํานาก็ได้ผล ขายพืชพันธุ์การเกษตร มีข้าวเต็มยุ้งฉาง รายได้เศรษฐกิจดี ดังนั้น เมื่อมีน้ํามีฝนคนต้องมีกิน ตามความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ เนื้อเพลง มีป่ามีฝนคนมีกิน Mahasarakham University
  • 12. 135 1.........ฟ้าฮ้องหน่ําๆ..ฝนตกพรําๆ..เขียดจะนาฮ้อง...น้ําท่า เต็มห้วย เต็มหนอง ....พ่อ-แหม่-ผี่-น้อง-ก็มีแฮงใจ…..ทุ่งนา ป่าเขียว ดอกกะเจียว หน่อไม้ไหล่....ใบขามอ่อน..ต้มอึ่งไข่.....ปิ้ง กบไงกับตําบักแตง 2...บ้านนาอีสาน..ไผหว่ากันดาร....บ่แหม่นดอก มีน้ํา มีป่า มีเห็ดออก....ผักอี รอกก็เก็บมาแกง…ค้องกะปอม...ตึกแห..แหย่ไข่มดแดง หรือไปหาแมงแคง เก็บผักกะแยง..ตามนาหน้าฝน 3.........พืชสมุนไพร ไปเก็บผักหวาน หาของป่า มีหมากไม้นานา บักหวดข่า บักหว่า ก้นโกนขิง ข่า ตระไคร้ ใบอีตู่อยู่..ใกล้โพน เก็บผักติ้ว ผักกะโดน ป่าหน้าฝน บ่อึดอาหาร 4..........ฟ้าฮ้องครืนๆ..ฝนตกทั้งคืน....ไห่นาน้ําห่ง.......นาข้าวเขียว..เต็มท่ง รวงข้าวป่ง..ล้อลมเบิกบาน อยู่อย่างเพียงพอ....ก็สุขแล้วหนอ หมู่เฮาอีสาน......จักจั่นดังกังวาล......กล่อมทุ่ง อีสาน...สวรรค์บ้านนา.... บทเพลงที่ 10 ชื่อเพลง ชมป่าศรีแก้ว แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดย นางเขี่ยม สุขเนตรบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ลํากลอน หรือชาว อีสานเรียกว่าลําทางสั้นเนื้อหาบรรยายถึงความสมบูรณ์ของป่าตําบลศรีแก้ว กล่าวถึงคําขวัญประจําหมู่บ้าน แหล่งปูแป้ง ถิ่นหอยหอม ภูเขาล้อมหลาย หน่อหวายแกงแซบ การประกอบอาชีพ สมุนไพร ปลุก จิตสํานึกให้มีการรักป่า การอนุรักษ์ทุ่งดอกกะเจียวบาน เชิญชวนท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ ความงามของ ธรรมชาติ ตําบลศรีแก้ว อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร เนื้อเพลง ลําทางสั้น (ชมป่าศรีแก้ว) ………….โอ..ละน้อ..ปี่หลี่..น้อแก้มเจ้าปี่หลี่....อ้ายนี่มักเจ้าหนี่อยากให้เมือนํา...นุ่ง ส่งแอวต่ําๆละอยู่ใต้ สายบือ เสื้อเอวลอยนะหรือ เผิ่นกะเขินต่องย่อง หน้าก็งามขาวผ่องทาแป้งใสๆ นั่ง ย่องย้อลงไปนี่จะแหม่นมันยาก ย้านแต่เห็นฮุดาก บ่อคือหน้าขาวๆ เอามืองุ้มมือซาว ...อุกนําเด่........ ........... โอย..ละนา..นวลเอย........ (ลํา) ฟังเจ้าฟัง บุพผังดอกข่า ข่อยสิพา เบิ่งป่า ชมนก ชมดง ติดกับห้วยน้ําโพง ตําบลศรีแก้ว หากหว่าไผเห็นแล้ว สิบ่ออยากมา ชมต้น จันทร์ผา ต้นยาง ต้นดู่ รักษากันแต่ปู่ สืบต่อตายาย ทางปูปลากะหลาย อึ่ง กบ เขียดน้อย หรือหว่า อยากก้อย กิน ไข่มดแดง แมงจินูนแมงแคง หากินกะง่าย เข่ากอไผ่หน่อไม้กะมี มีของดีสมุนไพร พื้นบ้าน ถ้าบ่อขี้คร้านหาอยู่หากิน ในท้องถิ่นยังมีปูแป้ง อีกเป็นแหล่งของบักหอยหอม ภูล้อม หลาย ป่าหวาย ป่าเพ็ก มีผักเม็ก ผักติ้ว ผักกะโดน ครั้นหว่าอยู่ในโพนกะมีเห็ดปลวก อยากหมกฮวก กะยังพอมี เฮากะมีของดีหากเฮามีป่า แต่มะลางปู้ย่า มีภูมิปัญญา ให้มีดอนปู่ตา รักษาป่าไม้ ลูกหลาน ได้หาอยู่หากิน เกิดเต็มดินมีเห็ดละโงก ย่างเข้าโคกหาดอกกะเจียว อนุรักษ์ท่องเที่ยว ธรรมชาติศึกษา อําเภอเลิงนกทา พอมีให้เบิ่ง ตุ้มเปิดเปิ่ง ๆๆๆไผอยากไปเบิ่งมาเมือนํากัน สิได้เห็นสวรรค์ของคนบ้านป่า สีนานวล ซ่วนน้อง..ไว้แหน่...ท่อนั้น....แหล่ว........... บทเพลงที่ 11 ชื่อเพลง ลําทางยาว(ธรรมชาติพึ่งพา) แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดย นางเขี่ยม สุขเนตรบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ลํากลอนทางยาว หมอแคนนายสีธาตุ กุดเชียงหมี บรรยายถึงสรรพสิ่งที่เกิดมาต้องมีการพึ่งพากัน เป็นห่วงโซ่อาหาร จะใช้ คําบรรยายเนื้อหาแทรกคําผญา คําคม สุภาษิตอีสาน ให้เกิดเป็นคติสอนใจ ที่บรรพบุรุษได้สั่งสม Mahasarakham University
  • 13. 136 ประสบการณ์ ชี้นําการดําเนินชีวิตตามระบบของชีวิต ระเบียบของสังคม(ตามฮีต ตามคลอง) จะมีความ อยู่เย็นเป็นสุข แต่ในยุคปัจจุบันยุคสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เมืองไทยเป็นเมืองเกษตรกรรม เพื่อเป็นการรองรับความเจริญอย่ารวดเร็ว โดยการดํารงตนตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เนื้อเพลง ลําทางยาว(ธรรมชาติพึ่งพา) …..โอ โอ ฟังเด้อ ญาติพี่น้องผองหมู่เฮาอีสาน..... เฮาอยู่สําราญชุ่มเย็นบ่อมี ฮ้อน ..... ย้อนหว่าโจกๆจ้นฝนหล่น ลงมายาม คําทักทาย คําถามเห็น กัน ยามพ้อหน้า หว่าจังได๋ ลุง ป้าทางบ้านเฮา..บ้านเจ้า ฝนตกดีบ่หน่อ.. เอาละน้อคุณผ่อ.. ตอบหว่ามาปีนี้ได้ฟ้าใหม่ฝนดี ......ชลนะทีมี เต็มห่ง..ตามหนอง...ตามท่ง..ท้องวัวควายกะโก่ง เพราะหญ่าป่งเขียวขจี มีตัวอ้วน ตัวพี ไว้ใส่ไถตกนาตา กล้า ดําละบ้ออีหล่าไฮ่ใหญ่นาโพนโก ข้าวเขียวงามพะโล ไฮ่สะแบงนาโพนค้อ ชาวนานั้นบ้อก็คึดต่อ แต่ นําฝน ฝนตกตามฤดูกาลปูปลาอาหาร หากินง่าย ไปดอนไล่กระต่าย ไปไฮ่เดินเข้าโค่ก เห็ดละโงกอยู่เลาะทาง ..........ดอกกะเจียวเขียวเหลืองเต็มป่า..เก็บเอามาลวกกินกับป่น บ่อับจนข้าวอยู่เล้า ปลากะอยู่ในสา พริกตระไคร้ โหระพาปลูกแคบแคแจฮั้ว วัวควายเลี้ยงปลาปูหมูเป็ด ไก่ ปุ๋ยคอกกะได้ใช้ ไห้มีอยู่มีกิน ดินส่วนหนึ่งให้จ่งไว้ปลูกที่อาศัย ความพอเพียงสุขใจ ไทยอีสานให่จื่อ จําเด้อเจ้า คือพ่อแหม่ เผิ่นเว้า เตือนไว้ให่ทุกคน.. ทุกข์บ่มีเสื้อผ้าฝาเฮือนดีพอลี้อยู่ ทุกข์บ่มีข้าวอยู่ท้อง สินอนลี้อยู่จั่งได๋...¬ หันให่นํามาใช้เศรษฐกิจใหม่ของในหลวง ไทยทั้งปวง สุขสําราญ ปานสวรรค์เมืองฟ้า แหงนเบิ่งฟ้าโล่งแจ้งเดือนอร่าม งามตา ลมโชยมาพาพัดสุ่มเย็นหายฮ้อน ดึกมาสิข่อนๆ เสียงบ่าวสะนู หวาย ดังดื่นดี้ดื่น ๆๆ....ตอนกลางคืนเสียงแคนบ่าวเลอะบ้าน ลอยตามลมลอดใบไผ่....กล่อมบ้านป่านา ไพร กบเขียดฮ้อง เสียงก้องกล่อมบรรเลง.............โอยๆ..นา..... ..........นี้แหละป้า......เผิ่นหว่าเมืองอีสานนี้ มีดินดําน้ําชุ่ม จั่งหว่าปลากุ่มป้อน คือแข่..นั่นแก่งหาง จั่งหว่าปลานางบ้อนคือเสียงนั่นฟ้าหลั่น ฟังเสียงจักจั่นฮ้อง..คือเสียงฟ้าสิหล่วงบน.. .........คนมีศีล ดินมีน้ํา บ่ห่อนขาดเขินบก ฝูงหมู่กา สกุณานก บินซ่วนซมปลายไม้ บ้านเมืองเฮานี้ ให้ พากันฮักป่า ป่าก็ฮักแม่น้ํา ไหลก้ําเข้าอยู่ดิน ฝนตกรินไหลลงห้วย วัวควายได้นอนบวก......ฮวกกบฮวก เขียดน้อย สิลอยล่อง แม่นที................ ...โอย....น้อ..น้องเอย....... ...........ดังเช่นนั้น คนเฮานี้กะต้องเผิ่งอาศัยกัน คือ ดั่งปลาเผิ่งน้ํา น้ําก็เผิ่งวังปลา ปลาอาศัยวังเวินจึงลอยในน้ํา ทามอาศัยห้วย วัวควายอาศัยแอก ตาแฮก อาศัยไก่ต้ม จึงโดนอุ้มจากคอน คือดังคอนอาศัยอาศัยไม้ นกไส่อาศัยโกลน คนก็อาศัยคน รักษาป่าไม้ ดินก็อุ้มน้ําไว้ สัตว์ป่าได้หากิน…..ดินก็อาศัยหญ้า นาทามเผิ่งน้ําแก่ง สิ่งทั้งหลายฮักแพง ก็เผิ่งกันโดยด้าม คามอาศัยหม้อ หมอมออาศัยส่อง ฆ้องตีต้อง จึ่งค่อยดัง วังอาศัยห้วย วัวควายกินหญ้าอ่อน หยุดสา ก่อน อย่าทําลายตัดป่าไม้ เผาถิ่ม...แหม่นบ่ยัง..... ขอให้รักษาไว้ป่าใหญ่ดอนปู่ตา มูลพ่อแม่ ภูมิปัญญาผู้ เฒ่าแก่ เป็นของดีแท้ ๆ ๆ ๆ รักษาไม้ ให่ลูกหลาน...... เอาละน้อท่อนี้ พวกหมูชาวอีสาน ขอให้ ยาว ๆ ไว้คือสินไชนั่นถางไห่..ฮักกันไว้ให้ คือฝนแสนห่า ตกลงมาจากฟ้า ไหลโฮมโห่ง แหม่นสู่หนอง ..........โอ....น้องเอย.. บทเพลงที่ 12 ชื่อเพลง ลําเต้ย(พืชผักสวนครัว) แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดย นางเขี่ยม สุขเนตรบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ ลํากลอน ลําเต้ย หมอแคนนายสีธาตุ กุดเชียงหมี เป็นหลักปรัชญาการดําเนินชีวิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ แบ่งเนื้อที่ส่วนหนึ่งไว้ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ปลูกผักปลอดสารพิษ สามารถนําไปขาย ซื้อในสิ่งที่ Mahasarakham University
  • 14. 137 เราทําไม่ได้ เป็นการประหยัดเงินตรา ได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ด้วย เนื้อเพลง ลําเต้ย(พืชผักสวนครัว) ........มีพืชมีผักสวนครัว ไม่ต้องกลัวว่าจะขัดสน ปลูกไว้ให้ชื่นกมล ไว้ฮิมฮั้ว บ้าน จะทําอาหารได้ทันท่วงที ไม่ต้องไปซื้อไปหา ประหยัดเงินตราไว้แหละดี ข่าตระไคร้ก็มี ผักชี พริก โหระพา ปลูกคะน้าไปซื้อไปหาเขามาทําไม ปลูกฮั้วกินได้ เก็บไปขายหรือเก็บไว้กิน ปลูกหอมไว้ใส่ขั้วซี้น ปลูกผักตํานินลวกกินกับแจ่ว ปลูกผักแพรวไว้ใส่ลาบก้อย ซอยใส้แหม่นใส่บี ขอให้มีผักบุ้ง ต้นบักหุ่ง หอมเป สารเพแนวผัก อ่อมแกงกะยังได้ มีแนวนี่ มันแห่งดีมันแซบเอาหนี่ คันได้กินแหม่นซุบหมากมี่ ดี ล้นแหม่นเอาเหลือ ต้มส้มกบยังได้ใส่ข่า ต้มเป็ดต้มไก่ เอาหัวสิงไคร อยู่ฮิมฮั้ว..... บทเพลงที่ 13 ชื่อเพลง แหล่โลกสีเขียว แนวคิด (Song Concept) คําร้อง-ทํานอง โดยนายเดชา จันดาพันธ์ ขับร้อง โดย นายนภทีป์ หนองแคนบันทึกเสียง ดนตรี โดยนายเนรมิต ธามณี ทํานองจังหวะ แหล่บรรยายถึง สภาพพื้นที่ตําบลศรีแก้ว ความอุดมสมบูรณ์ ความของทิวทัศน์ ของภูเขา และเป็นการเชิดชูเกียรติพระ อาจารย์สมพงษ์ ถาวรธัมโม เจ้าอาวาสวัดด่านมุทิตา การศึกษาจบปริญญาตรี มีวิสัยทัศน์มุ่งมั่นในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจนรับรางวัลลูกโลกสีเขียว ประเภทบุคคล ปี 2553 และเป็น ผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาบทเพลงพื้นบ้านอีสานเพื่อปลุกจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เนื้อเพลงให้เห็นความสําคัญท้องถิ่น ภูมิปัญญา ให้นักเรียนคนรุ่นใหม่ หันมาใส่ใจเรื่อง สิ่งแวดล้อม เนื้อเพลง แหล่โลกสีเขียว ....เที่ยวชมป่าเดียรดาษ ธรรมชาติน่าศึกษา ศรีแก้วเลิงนกทา ยโสธรเมืองบั้งไฟ ...เก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา รวมสายธารโยงสายใย มีเขาลําเนาไพร มีป่าไม้มีสาย ธาร ...ศรีแก้วภูหมากยาง บ้านโคกใหญ่ภูผักหวาน ป่าดอกกะเจียวบาน ป่าผักหวาน ตระการตา ...บวชป่าภูอ่างกบ ฝายทํานบกั้นธารา แหล่งอยู่ของปูปลา ฝูงสัตว์ป่าลงมากิน ...ภูหมากยางสร้างฝายกั้น ฝายลดหลั่นตามซอกหิน ฝายแม้วคงได้ยิน ทั่วทุกถิ่น สร้างร่วมใจ ...ผางามชนะจิต งามจับจิตสวยจับใจ ทิวทัศน์เห็นทั่วไป เมื่อขึ้นไปผานางคอย ....หอยหอมถิ่นปูแป้ง แหล่งบูชาพระธาตุน้อย ยายแปรแซ่หมักกลอย เป็น ร่องรอยแต่โบราณ ....บัวลอยถ้ายังอยู่ เป็นถ้ํางูเหลือมหลาวหลาม เฒ่าเหี่ยวชื่อนายพราน ได้ ประหารชีวิตงู ....เจ้าผีศรีสงคราม ส่งวิญญาณมาเกิดใหม่ ปัจจุบันเห็นทั่วไป เป่าโรคหายเชิญมา ดู ...ตํานานที่ขานไข คนรุ่นใหม่ได้รับรู้ ของดีที่บนภู พระอาจารย์ผู้สร้างนําพา ...อาจารย์สมพงษ์ ถาวรธัมโม เมืองยโสเลิงนกทา วัดด่านมุทิตาชมจันทน์ผาป่ากะ เจียว Mahasarakham University
  • 17. 140 การวิเคราะห์หลักสูตรเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เพื่อส่งเสริมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยใช้บทเพลงพื้นบ้านอีสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ สื่อ กิจกรรม ประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและ เทคโนโลยี แผ่นดินธรรมแผ่นดิน ทอง - การดํารงอาชีพตาม เศรษฐกิจพอเพียง - การเกษตรอินทรีย์ - การทํานา - การปลูกผักสวนครัว เพลงยโสธร เพลงพืชผัก สวนครัว - นําเข้าสู่บทเพลงโดย ใช้บทเพลง - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน ประเด็นที่กําหนด - ลงมือปฏิบัติจริง - ศึกษานอกสถานที่ - สรุปอภิปรายผล - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก - ดูผลการบันทึก การทํางาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรียนรู้ ผูกพันสายใย - ระบบนิเวศวิทยา - ห่วงโซ่อาหาร - การอนุรักษ์ ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม - แหล่งต้นน้ําลําธาร - ฝายชะลอน้ํา 1. เพลง ผูกพัน สายใย 2. เพลง เก้าขุนเขา เก้าแอ่งน้ํา 3. เพลง ธรรมชาติ พึ่งพา - นําเข้าสู่บทเพลงโดย ใช้บทเพลง - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน ประเด็นที่กําหนด - สืบค้น - ศึกษาการจัด นิทรรศการ - เขียนเรียงความ - สรุปอภิปรายผล - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก - ดูผลการบันทึก การทํางาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คนดีที่ศรีแก้ว 1. วัฒนธรรมภูมิ ปัญญาท้องถิ่นศรีแก้ว 2. วัฒนธรรม 3. ดงปู่ตา 4. การดํารงชีวิตตาม วิถีไทย 1. เพลง โปงลางศรี แก้ว 2. เพลงลํา เพลินศรี แก้วอีสาน - นําเข้าสู่บทเพลงโดย ใช้บทเพลง - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน ประเด็นที่กําหนด - ลงมือปฏิบติจริง - ศึกษานอกสถานที่ - สรุปอภิปรายผล - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก - ดูผลการบันทึก การทํางาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ สื่อ กิจกรรม ประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ลําเพลินเจริญใจ 1. คิดออกแบบท่ารํา การประกอบอาชีพ 2. วาดรูปทิวทัศน์ 1. ลําเพลิน ศรีแก้ว 2. เพลงเซิ้ง บั้งไฟยโสธร - นําเข้าสู่บทเพลงโดย ใช้บทเพลง - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก Mahasarakham University
  • 18. 141 แหล่งท่องเที่ยว ประเด็นที่กําหนด - ลงมือปฏิบติจริง - ศึกษานอกสถานที่ - สรุปอภิปรายผล - ดูผลการบันทึก การทํางาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ปลูกพืชอะไรกําไรดี 1. การคิดคํานวณ ต้นทุน 2. กําไร/การบันทึก ข้อมูลสถิติ ศึกษาแหล่ง เรียนรู้ใน ท้องถิ่น - นําเข้าสู่บทเพลงโดย ใช้บทเพลง - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน ประเด็นที่กําหนด - ลงมือปฏิบติจริง - ศึกษานอกสถานที่ - สรุปอภิปรายผล - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก - ดูผลการบันทึก การทํางาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา โลกร้อนเพราะใคร 1. โรคภัยไข้เจ็บเกิด จากสภาวะการ เปลี่ยนแปลงอากาศ 2. แหล่งเกิด มลภาวะเป็นพิษ/การ กําจัดขยะ 1. เพลงโลก ฮ้อนย้อนไผ 2. เพลงไม่ เหมือน วันวาน - นําเข้าสู่บทเพลงโดย ใช้บทเพลง - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน ประเด็นที่กําหนด - ลงมือปฏิบัติจริง - ศึกษานอกสถานที่ - สรุปอภิปรายผล - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก - ดูผลการบันทึก การทํางาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ มัคคุเทศก์น้อย 1. การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 2. การประกอบ อาชีพแลกเปลี่ยน เรียนรู้กับสังคมโลก 1. การ เรียนรู้เชิง อนุรักษ์ 2. พาไป แหล่งเรียนรู้ ในท้องถิ่น - ศึกษาแหล่งเรียนรู้ใน ท้องถิ่น - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน ประเด็นที่กําหนด - สรุปอภิปรายผล - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก - ดูผลการบันทึก การทํางาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ สื่อ กิจกรรม ประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาษาสื่อสาร 1. เขียนสื่อสาร เรียงความ 2. การพูด การเขียน การอ่าน คําประพันธ์ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากร ใช้นวัตกรรม ประกอบวิดิ ทัศน์ สืบค้น คว้าแหล่งรู้ ขบวนการ กลุ่ม - นํานักเรียนศึกษา แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น (แหล่งเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมทาง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมและ แหล่งเรียนรู้ทาง สิ่งแวดล้อมทาง วัฒนธรรม) - การสังเกต - การสัมภาษณ์ - บรรยาย ความรู้สึก - ดูผลการบันทึก การทํางาน Mahasarakham University
  • 19. 142 - รับความรู้พร้อม อภิปรายกลุ่มใน ประเด็นที่กําหนด - ลงมือปฏิบัติจริง - ศึกษานอกสถานที่ - สรุปอภิปรายผล โดยมีเทคนิค การนําไปใช้ ดังนี้ 1. การฝึกอบรมครู การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาแบบบูรณาการ 2. วิเคราะห์แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร-อําเภอเลิงนกทา 3. ศึกษาบริบทสภาพแวดล้อมชุมชน แผนพัฒนาตําบลศรีแก้ว 4. สรุปประเด็นที่สอดคล้องจากมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระ ทั้ง 8 กลุ่ม 5. สรุปประเด็นเป็นหน่วยการเรียนรู้ 6. ครูนําหน่วยการเรียนรู้จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้สอนในห้องเรียนและแหล่ง เรียนรู้ให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ 7. นําเด็กศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาตินอกห้องเรียนโดยการจัดกิจกรรมเข้าค่าย อบรม “อยู่กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยความพอเพียง” 8. มีการทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน 9. สรุปประเมินผลการจัดกิจกรรมทักษะ ความรู้ เจตคติ เห็นคุณค่า การตอบสนอง 10. นําผลการดําเนินการไปขยายผลต่อไป Mahasarakham University
  • 20. 143 คณิตศาสตร์ :ให้เหตุผลการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนําเสนอการเชื่อมโยง ความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์ อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - สรุปประเด็นเป็นฐานการเรียนรู้เพื่อสู่หน่วยการเรียนรู้ ภาษาไทย :เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความและเขียน เรื่องราวเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมและการ อนุรักษ์ สังคมศึกษา :ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรมมีจิตสํานึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน - วิทยาศาสตร์ :สืบเสาะหาความรู้ นําความรู้ไปใช้ในการดํารงชีวิต ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ต่างๆจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สุขศึกษา :เห็นคุณค่า ตนเองครอบครัวมีทักษะ ในการดําเนินชีวิตอย่าง พอเพียง ศิลปะ:แสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ถ่ายทอด ความรู้สึกความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระและประยุกต์ใช้เพื่อ สร้างความตระหนักรัก สิ่งแวดล้อมและความพอเพียง การงานอาชีพและเทคโนโลยี : สร้างทักษะให้มีประสบการณ์เห็น แนวทางในงานอาชีพใช้ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพมี คุณธรรมและมีเจตคติที่ดีต่อ อาชีพและการดํารงชีวิตอย่าง พอเพียง ภาษาต่างประเทศ:ใช้ ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือ พื้นฐานในการศึกษาต่อการประกอบ อาชีพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ สังคมโลกปลูกฝังและสร้างจิตสํานึก ของการทําประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นอย่างมีความสุข การถ่ายทอดบทเพลง พื้นบ้านอีสานเพื่อส่งเสริม จิตสํานึกการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม Mahasarakham University
  • 22. 145 ตาราง 13 ค่าความยากง่ายและค่าอํานาจจําแนกแบบวัดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข้อที่ ค่าความยาก ค่าอํานาจจําแนก ข้อที่ ค่าความยาก ค่าอํานาจจําแนก 1 0.76 0.6236 21 0.58 0.4895 2 0.70 0.3922 22 0.36 0.3700 3 0.80 0.4866 23 0.57 0.5908 4 0.72 0.2381 24 0.20 0.0680 5 0.56 0.5243 25 0.42 0.3908 6 0.65 0.6090 26 0.75 0.4979 7 0.83 0.4032 27 0.57 0.5642 8 0.43 0.6201 28 0.39 0.3080 9 0.63 0.5610 29 0.22 0.0557 10 0.64 0.5021 30 0.76 0.6236 11 0.50 0.4662 31 0.21 0.2822 12 0.45 0.3248 32 0.43 0.3961 13 0.38 0.3791 33 0.49 0.4281 14 0.46 0.3094 34 0.47 0.5456 15 0.55 0.1052 35 0.58 0.4895 16 0.57 0.5242 36 0.48 0.5409 17 0.56 0.4072 37 0.57 0.6335 18 0.68 0.5527 38 0.58 0.4895 19 0.40 0.2782 39 0.36 0.3700 20 0.76 0.3731 40 0.57 0.5908 ค่าความเชื่อมั่น RB ทั้งฉบับ เท่ากับ 0.87 Mahasarakham University
  • 23. 146 ตาราง 14 ค่าความยากง่าย และค่าอํานาจจําแนกของแบบวัดความตระหนัก ขั้นการรับรู้ ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น ข้อที่ 1 .546 ข้อที่ 2 .366 ข้อที่ 3 .646 ข้อที่ 4 .531 ข้อที่ 5 .731 ข้อที่ 6 .366 ข้อที่ 7 .646 ข้อที่ 8 .531 ข้อที่ 9 .709 ข้อที่ 10 .706 ข้อที่ 11 .366 ข้อที่ 12 .646 ข้อที่ 13 .531 ข้อที่ 14 .366 ข้อที่ 15 .646 ข้อที่ 16 .690 ข้อที่ 17 .719 ข้อที่ 18 .366 ข้อที่ 19 .646 ข้อที่ 20 .531 ข้อที่ 21 .542 รวมเฉลี่ย .467 Mahasarakham University
  • 24. 147 ตาราง 14 (ต่อ) ด้าน ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น ข้อที่ 22 .712 ข้อที่ 23 .683 ข้อที่ 24 .527 ข้อที่ 25 .341 ข้อที่ 26 .746 ข้อที่ 27 .865 ข้อที่ 28 .704 ข้อที่ 29 .527 ข้อที่ 30 .953 ข้อที่ 31 .410 ข้อที่ 32 .914 ข้อที่ 33 .310 ข้อที่ 34 .363 ข้อที่ 35 .410 ข้อที่ 36 .914 ข้อที่ 37 .914 ข้อที่ 38 .310 ข้อที่ 39 .363 ข้อที่ 40 .410 ข้อที่ 41 .874 ข้อที่ 42 .742 ข้อที่ 43 .805 ข้อที่ 44 .870 ข้อที่ 45 .890 Mahasarakham University
  • 25. 148 ตาราง 14 (ต่อ) ด้าน ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น ข้อที่ 46 .810 ข้อที่ 47 .789 ข้อที่ 48 .858 ข้อที่ 49 .923 ข้อที่ 50 .903 ข้อที่ 51 .803 ข้อที่ 52 .822 ข้อที่ 53 .813 ข้อที่ 54 .885 ข้อที่ 55 .883 ข้อที่ 56 .311 ข้อที่ 57 .898 ข้อที่ 58 .859 ข้อที่ 59 .311 ข้อที่ 60 .303 ข้อที่ 61 .087 ข้อที่ 62 .759 ข้อที่ 63 .807 ข้อที่ 64 .855 ข้อที่ 65 .339 ข้อที่ 66 .209 ข้อที่ 67 .694 Mahasarakham University
  • 26. 149 ตาราง 14 (ต่อ) ด้าน ข้อที่ ค่าอํานาจจําแนก (rxy) ค่าความเชื่อมั่น ข้อที่ 68 .758 ข้อที่ 69 .750 ข้อที่ 70 .871 รวมเฉลี่ย .500 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .981 Mahasarakham University
  • 28. 151 แบบประเมินคู่มือฝึกอบรมเพื่อการส่งเสริมความรู้ เจตคติ และความตระหนักในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คําชี้แจง โปรดกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากที่สุด ให้ 5 คะแนน เหมาะสมมาก ให้ 4 คะแนน เหมาะสมปานกลาง ให้ 3 คะแนน เหมาะสมน้อย ให้ 2 คะแนน เหมาะสมน้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม มาก ที่สุด มากปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด มาก ที่สุด 1. สาระสําคัญ 1.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 1.2 สอดคล้องกับเนื้อหา 1.3 มีความชัดเจน เข้าใจง่าย 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.2 สอดคล้องกับเนื้อหา 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 สอดคล้องกับเนื้อหา 3.2 การใช้ภาษาชัดเจน เข้าใจง่าย 3.3 ระบุพฤติกรรมที่ต้องการวัดได้ชัดเจน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ตรงตามหลักสูตร 4.2 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน 4.3 เหมาะสมกับเวลา 4.4 มีความยากง่ายเหมาะสม 4.5 น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม Mahasarakham University
  • 29. 152 มาก ที่สุด มากปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด มาก ที่สุด 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 เร้าความสนใจของนักเรียน 5.2 เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 5.3 จัดกิจกรรมพัฒนาปัญญา 5.4 จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามลําดับ 5.5 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ดียิ่งขึ้น 6. สื่อการเรียนรู้ 6.1 สอดคล้องกับเนื้อหา 6.2 สื่อความหมายได้ชัดเจน 6.3 ประหยัด 7. การวัดและประเมินผล 7.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 7.2 สอดคล้องกับกิจกรรม ข้อเสนอแนะ ………………...….....……..........……………………………………………………………………………………. …………………………………………...………………...…………………………………………............................................. …………………………………………...………………...…………………………………………............................................. …………………………………………...………………...…………………………………………............................................. …………………………………………...………………...…………………………………………............................................. …………………………………………...………………...…………………………………………............................................. …………………………………………...………………...…………………………………………............................................. ลงชื่อ…………………………..ผู้ประเมิน (…………………………) Mahasarakham University
  • 30. 153 ตาราง 15 ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ คะแนนการประเมินผู้เชี่ยวชาญ ∑X IOC คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 5 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8 6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 11 +1 +1 +1 +1 0 4 0.8 12 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 13 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 14 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 15 +1 +1 0 +1 +1 4 0.8 16 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 17 +1 0 +1 +1 +1 4 0.8 18 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 19 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8 20 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 21 +1 +1 0 +1 +1 4 0.8 22 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 23 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 24 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 Mahasarakham University
  • 31. 154 ตาราง 15 (ต่อ) ข้อที่ คะแนนการประเมินผู้เชี่ยวชาญ ∑X IOC คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 25 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 26 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 27 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8 28 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 29 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 30 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 31 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 32 +1 +1 +1 +1 0 4 0.8 33 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 34 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 35 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 36 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 37 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 38 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 39 +1 +1 +1 0 +1 4 0.8 40 +1 +1 +1 +1 +1 5 1 Mahasarakham University
  • 32. 155 ตาราง 16 ผลการประเมินแบบวัดความตระหนักต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ รายการ คะแนนการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ ∑X IOC คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 1 รายการเกี่ยวกับปัญหา สิ่งแวดล้อมควรเสนอทางวิทยุ หรือโทรทัศน์โดยกว้างขวาง +1 +1 +1 +1 +1 5 1 2 การรักษาคุณภาพของ สิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่รัฐบาล ควรสนับสนุน +1 +1 +1 +1 +1 5 1 3 การถมสระน้ําในหมู่บ้านไปสร้าง สนามฟุตบอลเป็นสิ่งที่ควร กระทํา +1 +1 +1 +1 +1 5 1 4 ถ้าเราทุกคนช่วยกันปลูกป่าคง จะไม่แห้งแล้ง +1 +1 +1 +1 +1 5 1 5 ควรทําโปสเตอร์ ป้ายคําขวัญ และการเดินรณรงค์ให้มีการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม +1 +1 +1 +1 +1 5 1 6 เมื่อนักเรียนรับประทานอาหาร ที่มีบรรจุภัณฑ์ไม่ใช้แล้วจะนําไป ทิ้งขยะโดยคัดแยกเสมอ +1 +1 +1 +1 +1 5 1 7 ป้ายคําขวัญที่ติดตามสถานที่ ต่าง ๆ เพื่อเชิญชวนให้อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมเป็นวิธีการหนึ่งที่ดี +1 +1 +1 +1 +1 5 1 8 การรักษาความสะอาดของ สถานศึกษาไม่ใช่หน้าที่ของ นักเรียนควรเป็นหน้าที่ของ คนงาน +1 +1 +1 +1 +1 5 1 Mahasarakham University
  • 33. 156 ตาราง 16 (ต่อ) ข้อที่ รายการ คะแนนการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ ∑X IOC คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 9 การพัฒนาความสะอาดของ สถานศึกษาเป็นเรื่องน่าเบื่อ หน่าย +1 +1 +1 +1 +1 5 1 10 เมื่อมีชมรม “นักอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม” นักเรียนจะสมัคร เป็นสมาชิกด้วยความเต็มใจ +1 +1 +1 +1 +1 5 1 11 ควรสร้างสวนพฤกษศาสตร์/ สวนสมุนไพร/พืชผักพื้นเมืองใน สถานศึกษาเป็นวิธีการฝึก นักเรียนในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม +1 +1 +1 +1 +1 5 1 12 เมื่อมีการอบรมเยาวชนอาสา พัฒนาท้องถิ่นนักเรียนมีความ สนใจและจะสมัครเข้ารับการ ฝึกอบรม +1 +1 +1 +1 +1 5 1 13 การให้ความรู้ทางสิ่งแวดล้อม เป็นหน้าที่ของนักการศึกษาด้าน สิ่งแวดล้อมเท่านั้น +1 +1 +1 +1 +1 5 1 14 การสร้างสวนพฤกษศาสตร์ สามารถแก้ปัญหาลดการชะล้าง หน้าดินได้ +1 +1 +1 +1 +1 5 1 15 ควรมีการสร้างสวน พฤกษศาสตร์เป็นการอนุรักษ์ พันธุ์ไม้หายาก +1 +1 +1 +1 +1 5 1 Mahasarakham University