SlideShare a Scribd company logo
รองเง็งบิค
จังหวัดสตูล
ภาคใต้
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : 	องค์การบริหารส่วนตำ�บล
			 ทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ที่มาของกิจกรรม
	 การมีสุขภาพแข็งแรง (Health) ในความ
หมายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ครอบคลุม
ถึงความแข็งแรงของสุขภาพในมิติต่างๆ ทั้งทาง
ด้านร่างกาย (Physical health) สังคม (Social
health) และปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual health)
ซึ่งถ้าประชาชนมีความแข็งแรงทางสุขภาพย่อม
จะสามารถเสริมสร้างให้ชุมชนและสังคมมีความ
แข็งแรงตามมาด้วย
	 ตามนโยบายเมืองไทยแข็งแรง (Health Thailand)
ของกระทรวงสาธารณสุข ได้มุ่งเน้นเรื่องการรณรงค์
สร้างเสริมสุขภาพตามกรอบ 6 อ. ประกอบด้วย
อาหาร ออกกำ�ลังกาย อารมณ์ อโรคยา อนามัย
สิ่งแวดล้อม และอบายมุข แต่หากกระทรวงสาธารณสุข
เพียงหน่วยงานเดียวคงไม่สามารถผลักดันนโยบาย
การสร้างสุขภาพคนไทยให้ครอบคลุมมิติต่างๆ
ได้ ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ รวมถึงองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น จึงมีส่วนสำ�คัญ ในการบูรณาการทุก
ภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้สู่วิถีชุมชน โดย
ดึงเอาพลังทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาควิชาการ และภาคประชาชน ในพื้นที่ทุกระดับ
จากชุมชนสู่สังคม ให้เข้ามามีส่วนร่วมดำ�เนินการ
ภายใต้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และทำ�งานอย่าง
เป็นเอกภาพ ตลอดจนส่งเสริมสนับสนุนการให้บริการ
ทางวิชาการกับชุมชน เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แก่
ท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุนการออกกำ�ลังกาย การ
ทะนุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม การละเล่นศิลปะพื้นบ้าน
ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ ทำ�ให้เป็น
อีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยสร้างเสริมสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น
	 เนื่องจากสภาพสังคมปัจจุบันส่วนใหญ่เป็น
สังคมของการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ ทำ�ให้ประชาชน
ลืมมองย้อนและนึกถึงการละเล่นศิลปะพื้นบ้าน
ที่ปัจจุบันถูกหลงลืมไปตามสมัยนิยม จึงเป็น
อีกประการหนึ่ง ที่ควรให้ความสนใจและย้อนกลับ
ไปสู่จุดเริ่มต้นในอดีตของศิลปะต่างๆ ที่ได้ผ่านมา
เพื่อเป็นการสืบสานและสืบทอด การละเล่นศิลปะ
พื้นบ้าน อาทิเช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับ รอแง็ง
มโนราห์ ลิเกฮูลู แข่งเรือพาย และกีฬาอื่นๆ ให้กับคนรุ่น
ต่อไป ได้เห็นศิลปะอันงดงามและคงไว้เป็นเอกลักษณ์
ประจำ�ท้องถิ่น และเพื่อเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรม
อันดีงาม อีกทั้งยังเป็นการสร้างความภาคภูมิใจให้กับ
คนรุ่นหลังต่อไปอีกด้วย
	 จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นทางเทศบาลตำ�บล
ทุ่งหว้าจึงเล็งเห็นความสำ�คัญในการจัดทำ� “โครงการ
ส่งเสริมการออกกำ�ลังกายด้วยการละเล่นศิลปะพื้นบ้าน”
ไว้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา สุขภาพกาย สุขภาพจิต
รักษาเอกลักษณ์ประจำ�ท้องถิ่นให้คงอยู่ รวมถึงเป็นการ
สร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนสืบต่อไป
แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม
	 กิจกรรมรองเง็งบิค ของจังหวัดสตูล ถูกริ่เริ่มขึ้น
จากการนำ�เอาวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอันเป็นที่นิยม
มาประยุกต์เข้ากับการเต้นเข้าจังหวะดนตรี โดยมีการ
คิดค้นท่าเต้นแบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับจังหวะและ
ตรงตามแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ จุดเด่นของ
รองเง็งบิคนี้คือ การเปิดโอกาสให้ประชาชนทั้งวัยรุ่น
วัยผู้ใหญ่ ตลอดจนวัยสูงอายุได้มีโอกาสในการประกอบ
กิจกรรมร่วมกัน ทั้งนี้มีการแข่งขันเพื่อคัดเลือกตัวแทน
ผู้เต้นที่มีความสามารถในแต่ละพื้นที่ กิจกรรมรองเง็ง
บิคเกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจของคนในพื้นที่ๆ
ได้เข้ามามีส่วนในการร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น
ทั้งในแง่รูปแบบของการดำ�เนินกิจกรรม ลักษณะท่า
เต้นรำ�ต่างๆ ประกอบกับความน่าสนใจ และสนุกสนาน
ของตัวกิจกรรม ทำ�ให้กิจกรรมดังกล่าวถูกจัดขึ้นและ
ได้รับการตอบรับอย่างดีจากประชาชนในพื้นที่นั่นเอง
	 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
	 1.	เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ได้รู้จักวิธีการ
ละเล่น และการออกกำ�ลังกายได้ถูกต้อง สามารถไป
ปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัย เป็นกิจวัตรประจำ�วัน เป็นสื่อ
ในการสร้างเสริมสุขภาพ และเป็นพื้นฐานที่สำ�คัญใน
การพัฒนาคุณภาพชีวิต
	 2.	เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เวลาว่างใน
ช่วงเวลาต่างๆ ให้มีประโยชน์ด้วยศิลปะการละเล่น
พื้นบ้าน
รองเง็งบิค
3.	เพื่ออนุรักษ์ ทะนุบำ�รุง รักษา และเผยแพร่
ศิลปวัฒนธรรมประจำ�ท้องถิ่น เรื่องศิลปะการละเล่น
พื้นบ้าน ให้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายและยังคงอยู่
สืบไป
จำ�นวนผู้เล่น: ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กลุ่มผู้เล่น : เด็ก วัยรุ่น วัยทำ�งาน ผู้สูงอายุ
สถานที่ :	บริเวณโล่งๆ เช่นสนามหญ้า หรือ
		สนามฟุตบอล
อุปกรณ์ : เพลงประกอบท่ารำ�
รองเง็งบิค
	 รองเง็งบิค เป็นการผสมผสานระหว่างการเต้น
แอโรบิคกับศิลปะการเต้นรำ�พื้นเมืองของไทยมุสลิม
ที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เรียกว่า รองเง็ง ซึ่งมีความ
สวยงามทั้งลีลาการเคลื่อนไหวของ เท้า มือ และ
ลำ�ตัว เมื่อนำ�มาประยุกต์ร่วมกับท่าเต้นแอโรบิค จึง
ทำ�ให้ท่วงท่าการเต้นรำ�มีความเข้มแข็งและรวดเร็ว
ผสมผสานกับความอ่อนช้อยทำ�ให้การเต้นรองเง็งบิค
ดูสวยงามมากยิ่งขึ้น โดยใช้ทำ�นองของดนตรีรองเง็ง
มาประกอบท่าเต้นได้อย่างลงตัว มีทั้งจังหวะช้าและ
เร็วทำ�ให้ผู้รำ�ต้องใช้ท่าท่างในการรำ�เกือบทุกสัดส่วน
ของร่ายกาย โดยเฉพาะช่วงแขนและลำ�ตัว จะเน้น
ไปที่ความอ่อนช้อยของร่างกาย รวมไปถึงช่วงขาที่
จะต้องใช้ในการก้าวเท้าสลับไปมาอยู่ตลอดเวลา ซึ่ง
รองเง็งบิคสามารถดัดแปลงท่าเต้นได้ทั้งหมด 29 ท่า
ซึ่งทุกท่ามีความเหมาะสมกับทุกวัย
	 ลักษณะการรำ�รองเง็งบิคนั้นจะเป็นการออก
กำ�ลังกายด้วยท่าเต้นตามจังหวะเพลงที่ใช้ประกอบ
การเต้นรำ�ซึ่งจะมีท่าเต้นทั้งแบบช้าและท่าเต้นแบบ
เร็วผสมผสานกัน โดยจะทำ�การสลับจังหวะเพลงไป
มาในระหว่างการเต้น จากจังหวะช้าไปหาจังหวะ
เร็ว จากนั้นก็จะกลับมาในท่าเต้นแบบช้าๆสลับไป
มาซึ่งผู้รำ�จะต้องใช้จังหวะเพลงในการรำ�เป็นหลัก
ซึ่งจะคล้ายๆกับการออกกำ�ลังกายแบบปกติทั่วไป
ซึ่งได้แก่ การอบอุ่นร่างกาย การออกกำ�ลังกายและการ
ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ เมื่อเข้าสู่ในขั้นตอนการออกกำ�ลัง
กายในการรำ�รองเง็งบิคนั้น จะใช้ดนตรีประกอบการ
เต้นรำ�ในจังหวะเพลงที่มีความเร็วและใช้การเคลื่อนไหว
ในแบบต่างๆ ให้สรีระทุกส่วนของร่างกายได้เคลื่อนไหว
มากขึ้นโดยเฉพาะช่วงขาและแขนจะต้องทำ�งานอย่าง
สัมพันธ์กัน จากนั้นจะกลับมาสู่ในท่ารำ�แบบช้าๆ ตาม
จังหวะเพลงเพื่อเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อด้วยท่า
เต้นเบาๆ อย่างต่อเนื่อง และเน้นการยืดเส้นยืดสาย
ทั้งแขน ขา และลำ�ตัว
	 การเต้นรองเง็งบิคเริ่มต้นด้วยท่าเต้นเบาๆ
ด้วยท่าเต้นเพื่อการ ยืดเส้นยืดสายของกล้ามเนื้อ เอ็น
และข้อต่อต่างๆ เพื่อให้ร่างกายมีความยืดหยุ่น ด้วยการ
ขยับ ขา แขนและลำ�ตัว จากนั้นจึงค่อยๆเพิ่มความเร็ว
โดยใช้จังหวะของดนตรีเป็นตัวกำ�หนดการเคลื่อนไหว
ท่าที่ 1. ยืนตรงขาชิด มือท้าวเอวทั้ง 2 ข้าง
ท่าที่ 2 โน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย โดยใช้การยืนด้วย
ปลายเท้าทั้สองข้างแล้วค่อยๆ ทิ้งน้ำ�หนักลงกับพื้น
ท่าที่ 3 ยกขาขึ้นลงสลับไปมา ทั้งซ้ายและขวา มือ
ท้าวเอวทั้งสองข้าง
1115
ท่าที่ 4 ย่อขาซ้ายลงเล็กน้อย โดยให้ขาขวาเหยียด
ตรงในท่าเดิม พร้อมกับบิดลำ�ตัวไปทางซ้าย จากนั้น
ใช้มือฝ่ามือทั้งสองข้างประกบกันนำ�มาวางไว้บนเข่า
ซ้าย โดยใช้มือขวาทับมือซ้าย
ท่าที่ 5. กลับมายืนในท่าตรง ปลายเท้าห่างกันเล็ก
น้อย มือทั้งสองข้างประสานกัน พร้อมชูแขนทั้ง
สองข้างขึ้นไปบนเหนือศรีษะ ซึ่งจะเป็นการยืดกล้าม
เนื้อส่วนแขน ลำ�ตัว
ท่าที่ 6 ผู้รำ�จะย่อเข่าขวาลงเล็กน้อย ขาซ้ายเหยียด
ตรง พร้อมกับบิดลำ�ตัวไปทางขวา มือทั้งสองข้าง
ประสานกันวางไว้บนเข่าขวาค้างไว้สักครู่หนึ่ง
จากนั้น กลับมายืนในท่าตรง ปลายเท้าห่างกันเล็ก
น้อย มือทั้งสองข้างประสานกัน พร้อมชูแขนทั้ง
สองข้างขึ้นไปบนเหนือศรีษะ ในการรำ�ท่านี้ผู้รำ�
จะใช้การเคลื่อนไหวร่างกายของลำ�ตัว โดยการบิด
ลำ�ตัวไปด้านใดด้านหนึ่งและฝึกการใช้กล้ามเนื้อ
ส่วนขาให้แข็งแรง จากนั้นจะทำ�การคลายกล้ามเนื้อ
จากอาการเกร็งด้วยการยืนตรง ยืดแขนและลำ�ตัว
เพื่อให้กล้ามเนื้อกลับเข้าสู่ภาวะปกติโดยไม่เกิดอาการ
บาดเจ็บ
ท่าที่ 7 ย่อขาขวา ขาซ้ายเหยียดตรง โดยให้ทิ้ง
น้ำ�หนักตัวไปที่ขาขวา มือทั้งสองข้างท้าวสะเอว
จากนั้นสลับไปทางซ้าย โดยการย่อขาซ้ายลงเล็กน้อย
ขาขวาเหยียดตรง มือท้าวเอว
116
ท่าที่ 8 ผู้รำ�จะใช้ท่าการยืนในลักษณะ การยืน
แบบไขว้ขา โดยให้ใช้ขาซ้ายไขว้ไปทางด้านหลัง
ทำ�พร้อกับกางแขนขวาออกให้เป็นเส้นตรงขนานกับ
ลำ�ตัว แขนซ้ายงอเข้าหาลำ�ตัว
ท่าที่ 9 จะเป็นการเปลี่ยนสลับการยืน โดยผู้รำ�
จะทำ�การสลับท่าการยืนแบบไขว้ขาจากขวามาซ้าย
ซึ่งเป็นท่าต่อเนื่องจากท่าที่ 8 โดยการก้าวเท้าซ้ายไป
ทางซ้ายในจังหวะที่ 1 แล้วตามด้วยเท้าขวาเป็นจังหวะ
ที่ 2 จากนั้นนำ�ขาขวาไขว้ไปทางด้านหลัง ทำ�พร้อมกับ
กางแขนซ้ายให้เป็นเส้นตรงขนานกับลำ�ตัว แขนขวางอ
เข้าหาลำ�ตัว ลำ�ตัวโดยพยายามให้ลำ�ตัวอยู่ในท่าตรง
ท่าที่ 10 ผู้รำ�สลับการยืนแบบไขว้ขา โดยใช้เท้าขวา
ก้าวไปขวา 1 ก้าว ตามด้วยเท้าซ้าย นำ�ไปไขว้ไว้ทาง
ด้านหลัง ฉีกขาออกให้ขาทั้งสองทิ้งระยะห่างกันพอ
สมควร ทำ�พร้อมกับการวาดแขนทั้งสองข้างออกไป
ให้เป็นลักษณะเป็นวงกลม จากนั้นเหยียดแขนเป็น
เส้นตรง ตั้งข้อมือขึ้น ทำ�สลับไปมาทั้งซ้ายและขวา
117
ท่าที่ 11 ผู้รำ�กลับมาในท่ายืนตรง เหยียดแขนเหนือ
สุดศรีษะ โน้มตัวไปทางซ้ายโดยมือทั้งสองข้างยังอยู่ใน
ท่าเดิม จากนั้นโน้มตัวกลับมายืนในท่ายืนตรง เหยียด
แขนขึ้นเหนือศรีษะ มือประสานกัน และโน้มตัวไปทาง
ขวา ในท่านี้จะเน้นการยืดเส้นและคลายกล้ามเนื้อ
ท่าที่ 12 บริหารส่วนแขน โดยใช้แขนทั้ง 2 ข้าง
ยกขึ้นและลง ให้มือทั้ง 2 ข้างไขว้กันพร้อมกับสะบัด
ข้อมือพร้อมกับวาดแขนขึ้น เพื่อให้ผู้รำ�ได้ฝึกการบริหาร
ร่างกายช่วงแขน หัวไหล่และข้อมือ
ท่าที่ 13 ในท่านี้ผู้รำ�กลับมาในท่าการยืนแบบไขว้ขา
โดยใช้เท้าขวาก้าวไปทางขวา 1 ก้าว ตามด้วยเท้า
ซ้าย นำ�ไปไขว้ไว้ทางด้านหลัง ฉีกขาออกให้ขาทั้งสอง
ทิ้งระยะห่างกันพอสมควร ทำ�พร้อมกับการวาดแขน
ทั้งสองข้างออกไปให้เป็นลักษณะเป็นวงกลม จากนั้น
เหยียดแขนเป็นเส้นตรง ตั้งข้อมือขึ้นทำ�สลับไปมาทั้ง
ซ้ายและขวา
118
ท่าที่ 14 ขั้นการเข้าสู่การออกกำ�ลังกาย (จัวหวะเร็ว)
ในท่านี้ผู้รำ�จะย่ำ�เท้าอยู่กับที่ โดยการสลับเท้าซ้ายและ
ขวา พร้อมกับเคลื่อนไหวร่างกายโดยการเดินหน้าและ
ถอยหลัง ไปตามจัวหวะเพลง พร้อมกับแกว่งมือทั้งสอง
ข้างไปมาตามใช้การก้าวเท้าตามจังหวะเพลง
ท่าที่ 15 ท่าเต้นจังหวะช้า เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
เมื่อมีการออกกำ�ลังกายอย่างเร็วในท่าที่ 15 สำ�หรับ
ในท่าที่ 16 นี้จะเป็นการออกกำ�ลังกายอย่างช้าๆ เพื่อ
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยการสลับจังหวะดนตรีเข้าสู่
จังหวะช้า และเน้นการเคลื่อนไหวด้วยการยืดหยุ่น
กล้ามเนื้อของร่างกาย ในท่านี้ผู้รำ�จะกลับมายืนใน
ท่าตรง เหยียดแขนทั้งสองข้าง ไปข้างหน้าจากนั้น
จะหมุนควงแขนทั้งสองข้างไปทางซ้ายให้เป็นลักษณะ
วงกลมแบบตามเข็มนาฬิกา 2 จังหวะ ซึ่งจะหมุนควง
ตามลักษณะการก้าวเท้า ในจังหวะการก้าวเท้าที่ 2
ซึ่งเป็นจังหวะสุดท้ายผู้รำ�จะใช้การก้าวเท้าขวาไปไขว้
กับเท้าซ้าย แขนทั้งสองข้าง เหยียดตรงไปทางซ้าย
จากนั้นทำ�การสลับไปมาทั้งซ้ายและขวา
ภาพแสดงการผ่อนคลายกล้ามเนื้อท่าที่ 15
119
ท่าที่ 16 ท่าออกกำ�ลังกาย (จังหวะเร็ว) ในท่านี้ผู้
รำ�จะย่ำ�เท้าอยู่กับที่ โดยการสลับเท้าซ้ายและขวา
พร้อมกับเคลื่อนไหวร่างกายโดยการเดินหน้าและ
ถอยหลัง ไปตามจัวหวะเพลง พร้อมกับแกว่งมือทั้ง
สองข้างไปมาใช้ก้าวเท้าตามจังหวะเพลง
ท่าที่ 17 เปลี่ยนจังหวะดนตรีให้เข้าสู่จังหวะช้า เพื่อ
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
วิธีปฎิบัติ
	 1.	ยืนตัวตรง ก้าวขาขวาไปทางขวา 1 ก้าว
ก้าวเท้าซ้ายตาม ยืนตรง ยกมือขึ้นสองข้าง ข้างหนึ่ง
มาม้วนเข้าหาตัวหนึ่งครั้ง
	 2.	ก้าวเท้าซ้ายไขว้ไปทางด้านหลัง พร้อมกับ
แขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ กางมือออก
	 3.	สลับไปทางซ้าย ยื่นขาซ้ายไปทางซ้าย 1 ก้าว
ยกเท้าขวาตามมา 1 จังหวะ ยืนตัวตรง ปลายเท้า
ห่างกันเล็กน้อย ยกมือทั้งสองข้างขึ้นมาม้วนเข้าหาตัว
1 ครั้ง
	 4.	ก้าวเท้าขวาไปไขว้ไว้ด้านหลัง พร้อมกับยก
แขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ กางมือออก
	 5.	ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 2-4 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 17 แสดงจังหวะการเคลื่อนไหวไปทางซ้าย
120
ท่าที่ 17 แสดงลักษณะการเคลื่อนตัวไปทางขวา
ท่าที่ 18 เปลี่ยนเป็นดนตรีที่มีจังหวะเร็ว สำ�หรับ
ในท่านี้จะเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายโดยการสไลด์
ตัวไปทางซ้ายและขวาอย่างละ 5 จังหวะ สลับกัน
ใช้การสะบัดสะโพก แขนและข้อมือ
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 ยืนตัวตรง บิดตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย
	 2.	 ยกแขนขึ้นตั้งท่า สไลด์ตัวไปด้านข้างทาง
ซ้าย 5 จังหวะ โดยจังหวะที่ 1 ก้าวเท้าพร้อมสะบัด
สะโพกไปทางซ้ายและหยุด 1 จังหวะ จากนั้นสไลด์ตัว
ไปทางซ้ายอีก 1 ครั้ง ในท่าเดิม แล้วหยุด 1 จังหวะ
สไลด์ตัวไปทางซ้ายอีก 3 จังหวะในท่าเดิม
	 3.	 สลับเปลี่ยนไปทางขวา สไลด์ตัวไปด้านข้าง
ทางขวา 5 จังหวะ โดยจังหวะที่ 1 ก้าวเท้าพร้อม
สะบัดสะโพกไปทางขวาและหยุด 1 จังหวะ จากนั้น
สไลด์ตัวไปทางขวาอีก 1 จังหวะในท่าเดิม แล้วหยุด
1 จังหวะ สไลด์ตัวไปทางขวาอีก 3 จังหวะในท่าเดิม
อย่างต่อเนื่อง
	 4.	 ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 2-4 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 18 แสดงการเคลื่อนตัวไปทางซ้าย 5 จังหวะ
121
ท่าที่ 18 แสดงจังหวะการเคลื่อนตัวไปทางขวา
5 จังหวะ
ท่าที่ 19 ยังอยู่ที่การสไลด์ตัวไปมาซ้ายและขวา
ในท่านี้ก็เช่นเดียวกัน ใช้จังหวะการสไลด์ตัวกับท่าที่
18 แตกต่างกันตรงที่ในท่านี้จะเปลี่ยนจากแขนข้าง
ล่างเป็นชูแขนขึ้นเหนือศรีษะ คล้ายๆกับการโยกตัว
และสลับด้วยการยื่นแขนไปข้างหน้าและส่ายไปมา
สลับซ้าย ขวาข้างละ 5 จังหวะ โดยใน 3 จังหวะ
สุดท้ายให้เปลี่ยนจากการชูแขนเป็นการเหยียดแขน
ตรงไปข้างหน้าและส่ายไปมา
122
ท่าที่ 20 สไลด์ตัวไปทางด้านข้างสลับซ้ายและขวา
อย่างต่อเนื่อง ข้างละ 5 จังหวะ ใช้การหมุนข้อมือ
การเหยียดแขนดึงเข้าและดึงออกตามจังหวะ
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 หันไปทางขวา สไลด์ไปทางตัวไปทางขวา
พร้อมกับยกแขนทั้งสองข้างม้วนเข้าหาตัวพร้อมกับ
สืบเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าว จากนั้นยืดให้แขนตึง
หยุดและดึงกลับอย่างละ 1 จังหวะ สืบเท้าขวาไป
ข้างหน้า 1 ก้าว จากนั้นสลับดึงแขนเข้าและออก
สลับกัน 3 จังหวะ (ก้าวเท้าขวา 1 ก้าว – หยุด-ก้าว
เท้าขวา 1 ก้าว -หยุด-ก้าวเท้าขวา 3 ก้าว)
	 2.	 หมุนตัวกลับไปทางด้านซ้าย สไลด์ไปทางตัว
ไปทางซ้ายพร้อมกับ ยกแขนทั้งสองข้างม้วนเข้าหาตัว
สืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว จากนั้นยืดให้แขนตึง
หยุดและดึงกลับอย่างละ 1 จังหวะ สืบเท้าซ้ายไปข้าง
หน้า 1 ก้าว และหยุด จากนั้นสลับดึงแขนเข้าและ
ออกสลับกัน 3 จังหวะ (ก้าวเท้าซ้าย1 ก้าว – หยุด-
ก้าวเท้าซ้าย 1 ก้าว -หยุด-ก้าวเท้าซ้าย 3 ก้าว)
	 3.	 ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 1- 2 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 20 แสดงจังหวะการเคลื่อนไหวไปทางขวา
ท่าที่ 20 แสดงจังหวะการเคลื่อไหวไปทางซ้าย
ท่าที่ 21 สไลด์ตัวไปทางด้านข้างสลับซ้ายและขวา
อย่างต่อเนื่อง ข้างละ 5 จังหวะ และใช้การหมุน
ข้อมือม้วนจากลำ�ตัวออกตามจังหวะ
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 หันไปทางขวา พร้อมกับสืบเท้าขวาไปข้าง
หน้า 1 ใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจากตัว 1 ครั้ง
จากนั้นให้หยุด
	 2.	 สืบเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าวใช้มือทั้งสอง
ข้างม้วนออกหาตัว 1 ครั้ง จากนั้นให้หยุด
	 3.	 สืบเท้าขวาไปข้างหน้า 3 ก้าวอย่างต่อเนื่อง
พร้อมกับใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจากตัว 3 ครั้ง
	 4.	 หมุนตัวกลับไปทางด้านซ้าย พร้อมกับสืบ
เท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจาก
ตัว 1 ครั้ง จากนั้นให้หยุด
	 5.	 สืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าวใช้มือทั้งสอง
ข้างม้วนออกหาตัว 1 ครั้ง จากนั้นให้หยุด
	 6.	 สืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า 3 ก้าวอย่างต่อเนื่อง
พร้อมกับใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจากตัว 3 ครั้ง
	 7.	 ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 1- 6 อย่างต่อเนื่อง
123
ท่าที่ 22 ในท่านี้เป็นการออกลังกาย ด้วยดนตรีจังหวะ
เร็วกว่าท่าที่ผ่านๆ มา ลักษณะคล้ายๆ ท่าขี่ม้า
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 ยกแขนขึ้นทั้งสองข้าง กางแขน งอข้อศอก
	 2.	 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว ให้อยู่ในท่า
ไขว้ขา จังหวะนั้นโยกทั้งสองข้างขึ้นไปทางฝั่งซ้ายของ
ลำ�ตัว
	 3.	 โยกแขนทั้งสองข้างไปทางขวาพร้อมกับก้าว
เท้าขวาไปข้างหน้า ให้อยู่ในท่าไขว้ขา
	 4.	 ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 2-3 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 23
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 ก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย
	 2.	 บิดลำ�ตัวไปทางขวา และหันหน้าไปทางขวา
	 3.	 ยื่นแขนขวาออกไปข้างลำ�ตัวทางขวาให้
แขนตึง แขนขวางอข้อศอกให้ปลายนิ้วมือไปต่อกับ
ข้อศอกแขนขวา (ทำ�ให้แขนทั้งสองข้างเป็นเส้นตรง)
	 4.	 เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้อยู่ในลักษณะ
การยืนไขว้ขาให้บิดลำ�ตัวไปทางซ้ายและหันหน้าไปทาง
ซ้าย
	 5.	 ยื่นแขนซ้ายออกไปข้างลำ�ตัวทางซ้ายให้แขน
ตึง แขนขวางอข้อศอกให้ปลายนิ้วมือไปต่อกับข้อศอก
ซ้าย (ทำ�ให้แขนทั้งสองข้างเป็นเส้นตรง)
	 6.	 ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-5 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 24
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 ก้าวเท้าขวาไปไข้วกับเท้าซ้าย
	 2.	 บิดลำ�ตัวไปทางขวา และหันหน้าไปทางขวา
เหยียดแขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมกับโยกไป
ทางขวาพร้อมๆกันลักษณะการยืน
ด้วยปลายเท้าท่าที่ 22
124
3.	 เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้อยู่ในลักษณะ
การยืนไขว้ขาให้บิดลำ�ตัวไปทางซ้ายและหันหน้าไปทาง
ซ้าย เหยียดแขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมกับ
โยกไปทางขวาพร้อมๆ กัน
	 4.	 ยื่นแขนซ้ายออกไปข้างลำ�ตัวทางซ้ายให้แขน
ตึง แขนขวางอข้อศอกให้ปลายนิ้วมือไปต่อกับข้อศอก
ซ้าย (ทำ�ให้แขนทั้สองข้างเป็นเส้นตรง)
	 5.	 ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-4 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 25 ใช้การเคลื่อนไหวเช่นเดียวกับท่าที่ 24 และ
สลับเปลี่ยนจากการโยกมือไปข้างบนให้นำ�มาวาง
ไว้บริเวณคอเมื่อก้าวไปทางขวาให้บิดตัวไปทางซ้าย
ยื่นแขนซ้ายไปข้างลำ�ตัว ให้แขนตึง มือขวางอข้อศอก
วางไว้บริเวณท้ายทอย ทำ�สลับซ้ายและขวาอย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 26
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 ก้าวขาซ้ายไปไขว้กับขาขวา หมุนแขนทั้ง
สองข้างไปข้างหน้า
	 2.	 นำ�แขนทั้งสองข้างมาไขว้ไว้ด้านหลัง พร้อม
กับก้าวเท้าขวาไปทางซ้าย
	 3.	 ดึงเท้าขวากลับพร้อมกับก้าวเท้าซ้ายไปข้าง
หน้า 1 ก้าว ชูแขนขวาขึ้นเหนือศรีษะแขนซ้ายไขว้
ไปข้างหลัง
125
4.	 ก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย ชูแขนซ้ายขึ้น
เหนือศรีษะ แขนขวาไขว้ไปทางด้านหลัง
	 5.	 ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-4 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 27
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าในท่าไขว้ขายกแขน
ซ้ายตั้งข้อศอก แขนขวาตั้งข้อศอกในแนวนอนแนบ
ชิดลำ�ตัว
	 2.	 ก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย ตั้งข้อศอกแขน
ซ้ายขึ้น แขนขวาตั้งขอศอกในแนวนอนแนบชิดลำ�ตัว
	 3.	 เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปไขว้ให้สลับแขนซ้ายและ
ขวาเปลี่ยนจากแขนที่ยกขึ้นให้อยู่ในแนวนอน ส่วน
แขนที่อยู่ในแนวนอนให้ตั้งข้อศอกขึ้น
	 4.	 ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง
ท่าที่ 28
วิธีปฎิบัติ
	 1.	 เมื่อก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย ให้บิด
ลำ�ตัวไปทางขวา ยืนมือทั้งสองข้างไปข้างลำ�ตัว
ทำ�สลับซ้ายขวา
	 2.	 เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปไขว้กับเท้าขวา ให้บิด
ลำ�ตัวไปทางซ้ายยื่นมือทั้งสองข้างไปข้างลำ�ตัว
จากนั้นสลับไปทางขวาทำ�เช่นเดียวกับข้อที่ 1
126
ท่าที่ 29 ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ ใช้ดนตรีจังหวะช้า
	 29.1	 ยื่นแขนซ้ายไปข้างหน้า ตั้งข้อมือ ย่อตัว
เล็กน้อย ยกข้อศอกขวาขนานกับหัวไหล่
	 29.2	 เมื่อหันไปทางขวา ยื่นแขนขวาไปทางขวา
เหยียดแขนให้ตึง มือซ้ายงอข้อศอกให้ขนานกับลำ�ตัว
ทำ�สลับกับท่าที่ 1 จนครบ 10 ครั้ง
	 29.3	นำ�มือทั้งสองข้างมาประกบกัน จาก
นั้นวาดแขนออกไปเป็นรูปวงกลม กางแกนออกทั้ง
2 ข้าง ให้แขนตึงทำ�จนครบ 10 ครั้ง
	 จากนั้นเปลี่ยนแขน โดยสลับกันมาไว้บริเวณ
ท้ายทอย ทำ�สลับทั้งซ้ายและขวาจนครบ 10 ครั้ง
	 29.4	 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ยื่นแขนไปข้างหน้า
ในแนวดิ่ง มือขวาตั้งข้อศอกให้ตั้งฉากกับลำ�ตัว เมื่อ
สลับไปทางขวาโดย ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าให้เปลี่ยน
จากมือสลับตำ�แหน่งกัน
127
29.5	 ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าว ยกแขนทั้งสองข้างขึ้นงอข้อศอกให้ตั้งฉากกับลำ�ตัว เมื่อโน้มตัว
ไปด้านหน้าให้ก้มตัวเล็กน้อย มือทั้งสองข้างวาดไปทางด้านหลัง โน้มตัวไปด้านหลังให้ยกแขนโยกไปทางด้าน
หลัง ทำ�สลับกันทั้งหน้าและหลัง
	 29.6	 ปฎิบัติซ้ำ�ในท่าที่ 4-7  ตามลำ�ดับในท่านี้จะเป็นท่าสำ�หรับคลายกล้ามเนื้อ โดยยืดแขนและลำ�ตัว
เพื่อให้กล้ามเนื้อกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
128

More Related Content

Similar to Act15

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
Act2
Act2Act2
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 

Similar to Act15 (7)

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 

More from Piyawat Katewongsa

Act20
Act20Act20
Act19
Act19Act19
Act18
Act18Act18
Act17
Act17Act17
Act16
Act16Act16
Act16
Act16Act16
Act14
Act14Act14
Act12
Act12Act12
Act11
Act11Act11
Act10
Act10Act10
Act9
Act9Act9
Act8
Act8Act8
Act7
Act7Act7
Act6
Act6Act6
Act5
Act5Act5
Intro
IntroIntro
Act4
Act4Act4
Act3
Act3Act3
Act1
Act1Act1

More from Piyawat Katewongsa (19)

Act20
Act20Act20
Act20
 
Act19
Act19Act19
Act19
 
Act18
Act18Act18
Act18
 
Act17
Act17Act17
Act17
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act14
Act14Act14
Act14
 
Act12
Act12Act12
Act12
 
Act11
Act11Act11
Act11
 
Act10
Act10Act10
Act10
 
Act9
Act9Act9
Act9
 
Act8
Act8Act8
Act8
 
Act7
Act7Act7
Act7
 
Act6
Act6Act6
Act6
 
Act5
Act5Act5
Act5
 
Intro
IntroIntro
Intro
 
Act4
Act4Act4
Act4
 
Act3
Act3Act3
Act3
 
Act1
Act1Act1
Act1
 

Act15

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : องค์การบริหารส่วนตำ�บล ทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ที่มาของกิจกรรม การมีสุขภาพแข็งแรง (Health) ในความ หมายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ครอบคลุม ถึงความแข็งแรงของสุขภาพในมิติต่างๆ ทั้งทาง ด้านร่างกาย (Physical health) สังคม (Social health) และปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual health) ซึ่งถ้าประชาชนมีความแข็งแรงทางสุขภาพย่อม จะสามารถเสริมสร้างให้ชุมชนและสังคมมีความ แข็งแรงตามมาด้วย ตามนโยบายเมืองไทยแข็งแรง (Health Thailand) ของกระทรวงสาธารณสุข ได้มุ่งเน้นเรื่องการรณรงค์ สร้างเสริมสุขภาพตามกรอบ 6 อ. ประกอบด้วย อาหาร ออกกำ�ลังกาย อารมณ์ อโรคยา อนามัย สิ่งแวดล้อม และอบายมุข แต่หากกระทรวงสาธารณสุข เพียงหน่วยงานเดียวคงไม่สามารถผลักดันนโยบาย การสร้างสุขภาพคนไทยให้ครอบคลุมมิติต่างๆ ได้ ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ รวมถึงองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น จึงมีส่วนสำ�คัญ ในการบูรณาการทุก ภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้สู่วิถีชุมชน โดย ดึงเอาพลังทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาชน ในพื้นที่ทุกระดับ จากชุมชนสู่สังคม ให้เข้ามามีส่วนร่วมดำ�เนินการ ภายใต้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และทำ�งานอย่าง เป็นเอกภาพ ตลอดจนส่งเสริมสนับสนุนการให้บริการ ทางวิชาการกับชุมชน เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แก่ ท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุนการออกกำ�ลังกาย การ ทะนุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม การละเล่นศิลปะพื้นบ้าน ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ ทำ�ให้เป็น อีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยสร้างเสริมสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากสภาพสังคมปัจจุบันส่วนใหญ่เป็น สังคมของการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ ทำ�ให้ประชาชน ลืมมองย้อนและนึกถึงการละเล่นศิลปะพื้นบ้าน ที่ปัจจุบันถูกหลงลืมไปตามสมัยนิยม จึงเป็น อีกประการหนึ่ง ที่ควรให้ความสนใจและย้อนกลับ ไปสู่จุดเริ่มต้นในอดีตของศิลปะต่างๆ ที่ได้ผ่านมา เพื่อเป็นการสืบสานและสืบทอด การละเล่นศิลปะ พื้นบ้าน อาทิเช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับ รอแง็ง มโนราห์ ลิเกฮูลู แข่งเรือพาย และกีฬาอื่นๆ ให้กับคนรุ่น ต่อไป ได้เห็นศิลปะอันงดงามและคงไว้เป็นเอกลักษณ์ ประจำ�ท้องถิ่น และเพื่อเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรม อันดีงาม อีกทั้งยังเป็นการสร้างความภาคภูมิใจให้กับ คนรุ่นหลังต่อไปอีกด้วย จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นทางเทศบาลตำ�บล ทุ่งหว้าจึงเล็งเห็นความสำ�คัญในการจัดทำ� “โครงการ ส่งเสริมการออกกำ�ลังกายด้วยการละเล่นศิลปะพื้นบ้าน” ไว้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา สุขภาพกาย สุขภาพจิต รักษาเอกลักษณ์ประจำ�ท้องถิ่นให้คงอยู่ รวมถึงเป็นการ สร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนสืบต่อไป แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม กิจกรรมรองเง็งบิค ของจังหวัดสตูล ถูกริ่เริ่มขึ้น จากการนำ�เอาวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอันเป็นที่นิยม มาประยุกต์เข้ากับการเต้นเข้าจังหวะดนตรี โดยมีการ คิดค้นท่าเต้นแบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับจังหวะและ ตรงตามแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ จุดเด่นของ รองเง็งบิคนี้คือ การเปิดโอกาสให้ประชาชนทั้งวัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ ตลอดจนวัยสูงอายุได้มีโอกาสในการประกอบ กิจกรรมร่วมกัน ทั้งนี้มีการแข่งขันเพื่อคัดเลือกตัวแทน ผู้เต้นที่มีความสามารถในแต่ละพื้นที่ กิจกรรมรองเง็ง บิคเกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจของคนในพื้นที่ๆ ได้เข้ามามีส่วนในการร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น ทั้งในแง่รูปแบบของการดำ�เนินกิจกรรม ลักษณะท่า เต้นรำ�ต่างๆ ประกอบกับความน่าสนใจ และสนุกสนาน ของตัวกิจกรรม ทำ�ให้กิจกรรมดังกล่าวถูกจัดขึ้นและ ได้รับการตอบรับอย่างดีจากประชาชนในพื้นที่นั่นเอง วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ได้รู้จักวิธีการ ละเล่น และการออกกำ�ลังกายได้ถูกต้อง สามารถไป ปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัย เป็นกิจวัตรประจำ�วัน เป็นสื่อ ในการสร้างเสริมสุขภาพ และเป็นพื้นฐานที่สำ�คัญใน การพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เวลาว่างใน ช่วงเวลาต่างๆ ให้มีประโยชน์ด้วยศิลปะการละเล่น พื้นบ้าน รองเง็งบิค
  • 3. 3. เพื่ออนุรักษ์ ทะนุบำ�รุง รักษา และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมประจำ�ท้องถิ่น เรื่องศิลปะการละเล่น พื้นบ้าน ให้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายและยังคงอยู่ สืบไป จำ�นวนผู้เล่น: ไม่จำ�กัดจำ�นวน กลุ่มผู้เล่น : เด็ก วัยรุ่น วัยทำ�งาน ผู้สูงอายุ สถานที่ : บริเวณโล่งๆ เช่นสนามหญ้า หรือ สนามฟุตบอล อุปกรณ์ : เพลงประกอบท่ารำ� รองเง็งบิค รองเง็งบิค เป็นการผสมผสานระหว่างการเต้น แอโรบิคกับศิลปะการเต้นรำ�พื้นเมืองของไทยมุสลิม ที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เรียกว่า รองเง็ง ซึ่งมีความ สวยงามทั้งลีลาการเคลื่อนไหวของ เท้า มือ และ ลำ�ตัว เมื่อนำ�มาประยุกต์ร่วมกับท่าเต้นแอโรบิค จึง ทำ�ให้ท่วงท่าการเต้นรำ�มีความเข้มแข็งและรวดเร็ว ผสมผสานกับความอ่อนช้อยทำ�ให้การเต้นรองเง็งบิค ดูสวยงามมากยิ่งขึ้น โดยใช้ทำ�นองของดนตรีรองเง็ง มาประกอบท่าเต้นได้อย่างลงตัว มีทั้งจังหวะช้าและ เร็วทำ�ให้ผู้รำ�ต้องใช้ท่าท่างในการรำ�เกือบทุกสัดส่วน ของร่ายกาย โดยเฉพาะช่วงแขนและลำ�ตัว จะเน้น ไปที่ความอ่อนช้อยของร่างกาย รวมไปถึงช่วงขาที่ จะต้องใช้ในการก้าวเท้าสลับไปมาอยู่ตลอดเวลา ซึ่ง รองเง็งบิคสามารถดัดแปลงท่าเต้นได้ทั้งหมด 29 ท่า ซึ่งทุกท่ามีความเหมาะสมกับทุกวัย ลักษณะการรำ�รองเง็งบิคนั้นจะเป็นการออก กำ�ลังกายด้วยท่าเต้นตามจังหวะเพลงที่ใช้ประกอบ การเต้นรำ�ซึ่งจะมีท่าเต้นทั้งแบบช้าและท่าเต้นแบบ เร็วผสมผสานกัน โดยจะทำ�การสลับจังหวะเพลงไป มาในระหว่างการเต้น จากจังหวะช้าไปหาจังหวะ เร็ว จากนั้นก็จะกลับมาในท่าเต้นแบบช้าๆสลับไป มาซึ่งผู้รำ�จะต้องใช้จังหวะเพลงในการรำ�เป็นหลัก ซึ่งจะคล้ายๆกับการออกกำ�ลังกายแบบปกติทั่วไป ซึ่งได้แก่ การอบอุ่นร่างกาย การออกกำ�ลังกายและการ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ เมื่อเข้าสู่ในขั้นตอนการออกกำ�ลัง กายในการรำ�รองเง็งบิคนั้น จะใช้ดนตรีประกอบการ เต้นรำ�ในจังหวะเพลงที่มีความเร็วและใช้การเคลื่อนไหว ในแบบต่างๆ ให้สรีระทุกส่วนของร่างกายได้เคลื่อนไหว มากขึ้นโดยเฉพาะช่วงขาและแขนจะต้องทำ�งานอย่าง สัมพันธ์กัน จากนั้นจะกลับมาสู่ในท่ารำ�แบบช้าๆ ตาม จังหวะเพลงเพื่อเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อด้วยท่า เต้นเบาๆ อย่างต่อเนื่อง และเน้นการยืดเส้นยืดสาย ทั้งแขน ขา และลำ�ตัว การเต้นรองเง็งบิคเริ่มต้นด้วยท่าเต้นเบาๆ ด้วยท่าเต้นเพื่อการ ยืดเส้นยืดสายของกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อต่างๆ เพื่อให้ร่างกายมีความยืดหยุ่น ด้วยการ ขยับ ขา แขนและลำ�ตัว จากนั้นจึงค่อยๆเพิ่มความเร็ว โดยใช้จังหวะของดนตรีเป็นตัวกำ�หนดการเคลื่อนไหว ท่าที่ 1. ยืนตรงขาชิด มือท้าวเอวทั้ง 2 ข้าง ท่าที่ 2 โน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย โดยใช้การยืนด้วย ปลายเท้าทั้สองข้างแล้วค่อยๆ ทิ้งน้ำ�หนักลงกับพื้น ท่าที่ 3 ยกขาขึ้นลงสลับไปมา ทั้งซ้ายและขวา มือ ท้าวเอวทั้งสองข้าง 1115
  • 4. ท่าที่ 4 ย่อขาซ้ายลงเล็กน้อย โดยให้ขาขวาเหยียด ตรงในท่าเดิม พร้อมกับบิดลำ�ตัวไปทางซ้าย จากนั้น ใช้มือฝ่ามือทั้งสองข้างประกบกันนำ�มาวางไว้บนเข่า ซ้าย โดยใช้มือขวาทับมือซ้าย ท่าที่ 5. กลับมายืนในท่าตรง ปลายเท้าห่างกันเล็ก น้อย มือทั้งสองข้างประสานกัน พร้อมชูแขนทั้ง สองข้างขึ้นไปบนเหนือศรีษะ ซึ่งจะเป็นการยืดกล้าม เนื้อส่วนแขน ลำ�ตัว ท่าที่ 6 ผู้รำ�จะย่อเข่าขวาลงเล็กน้อย ขาซ้ายเหยียด ตรง พร้อมกับบิดลำ�ตัวไปทางขวา มือทั้งสองข้าง ประสานกันวางไว้บนเข่าขวาค้างไว้สักครู่หนึ่ง จากนั้น กลับมายืนในท่าตรง ปลายเท้าห่างกันเล็ก น้อย มือทั้งสองข้างประสานกัน พร้อมชูแขนทั้ง สองข้างขึ้นไปบนเหนือศรีษะ ในการรำ�ท่านี้ผู้รำ� จะใช้การเคลื่อนไหวร่างกายของลำ�ตัว โดยการบิด ลำ�ตัวไปด้านใดด้านหนึ่งและฝึกการใช้กล้ามเนื้อ ส่วนขาให้แข็งแรง จากนั้นจะทำ�การคลายกล้ามเนื้อ จากอาการเกร็งด้วยการยืนตรง ยืดแขนและลำ�ตัว เพื่อให้กล้ามเนื้อกลับเข้าสู่ภาวะปกติโดยไม่เกิดอาการ บาดเจ็บ ท่าที่ 7 ย่อขาขวา ขาซ้ายเหยียดตรง โดยให้ทิ้ง น้ำ�หนักตัวไปที่ขาขวา มือทั้งสองข้างท้าวสะเอว จากนั้นสลับไปทางซ้าย โดยการย่อขาซ้ายลงเล็กน้อย ขาขวาเหยียดตรง มือท้าวเอว 116
  • 5. ท่าที่ 8 ผู้รำ�จะใช้ท่าการยืนในลักษณะ การยืน แบบไขว้ขา โดยให้ใช้ขาซ้ายไขว้ไปทางด้านหลัง ทำ�พร้อกับกางแขนขวาออกให้เป็นเส้นตรงขนานกับ ลำ�ตัว แขนซ้ายงอเข้าหาลำ�ตัว ท่าที่ 9 จะเป็นการเปลี่ยนสลับการยืน โดยผู้รำ� จะทำ�การสลับท่าการยืนแบบไขว้ขาจากขวามาซ้าย ซึ่งเป็นท่าต่อเนื่องจากท่าที่ 8 โดยการก้าวเท้าซ้ายไป ทางซ้ายในจังหวะที่ 1 แล้วตามด้วยเท้าขวาเป็นจังหวะ ที่ 2 จากนั้นนำ�ขาขวาไขว้ไปทางด้านหลัง ทำ�พร้อมกับ กางแขนซ้ายให้เป็นเส้นตรงขนานกับลำ�ตัว แขนขวางอ เข้าหาลำ�ตัว ลำ�ตัวโดยพยายามให้ลำ�ตัวอยู่ในท่าตรง ท่าที่ 10 ผู้รำ�สลับการยืนแบบไขว้ขา โดยใช้เท้าขวา ก้าวไปขวา 1 ก้าว ตามด้วยเท้าซ้าย นำ�ไปไขว้ไว้ทาง ด้านหลัง ฉีกขาออกให้ขาทั้งสองทิ้งระยะห่างกันพอ สมควร ทำ�พร้อมกับการวาดแขนทั้งสองข้างออกไป ให้เป็นลักษณะเป็นวงกลม จากนั้นเหยียดแขนเป็น เส้นตรง ตั้งข้อมือขึ้น ทำ�สลับไปมาทั้งซ้ายและขวา 117
  • 6. ท่าที่ 11 ผู้รำ�กลับมาในท่ายืนตรง เหยียดแขนเหนือ สุดศรีษะ โน้มตัวไปทางซ้ายโดยมือทั้งสองข้างยังอยู่ใน ท่าเดิม จากนั้นโน้มตัวกลับมายืนในท่ายืนตรง เหยียด แขนขึ้นเหนือศรีษะ มือประสานกัน และโน้มตัวไปทาง ขวา ในท่านี้จะเน้นการยืดเส้นและคลายกล้ามเนื้อ ท่าที่ 12 บริหารส่วนแขน โดยใช้แขนทั้ง 2 ข้าง ยกขึ้นและลง ให้มือทั้ง 2 ข้างไขว้กันพร้อมกับสะบัด ข้อมือพร้อมกับวาดแขนขึ้น เพื่อให้ผู้รำ�ได้ฝึกการบริหาร ร่างกายช่วงแขน หัวไหล่และข้อมือ ท่าที่ 13 ในท่านี้ผู้รำ�กลับมาในท่าการยืนแบบไขว้ขา โดยใช้เท้าขวาก้าวไปทางขวา 1 ก้าว ตามด้วยเท้า ซ้าย นำ�ไปไขว้ไว้ทางด้านหลัง ฉีกขาออกให้ขาทั้งสอง ทิ้งระยะห่างกันพอสมควร ทำ�พร้อมกับการวาดแขน ทั้งสองข้างออกไปให้เป็นลักษณะเป็นวงกลม จากนั้น เหยียดแขนเป็นเส้นตรง ตั้งข้อมือขึ้นทำ�สลับไปมาทั้ง ซ้ายและขวา 118
  • 7. ท่าที่ 14 ขั้นการเข้าสู่การออกกำ�ลังกาย (จัวหวะเร็ว) ในท่านี้ผู้รำ�จะย่ำ�เท้าอยู่กับที่ โดยการสลับเท้าซ้ายและ ขวา พร้อมกับเคลื่อนไหวร่างกายโดยการเดินหน้าและ ถอยหลัง ไปตามจัวหวะเพลง พร้อมกับแกว่งมือทั้งสอง ข้างไปมาตามใช้การก้าวเท้าตามจังหวะเพลง ท่าที่ 15 ท่าเต้นจังหวะช้า เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เมื่อมีการออกกำ�ลังกายอย่างเร็วในท่าที่ 15 สำ�หรับ ในท่าที่ 16 นี้จะเป็นการออกกำ�ลังกายอย่างช้าๆ เพื่อ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยการสลับจังหวะดนตรีเข้าสู่ จังหวะช้า และเน้นการเคลื่อนไหวด้วยการยืดหยุ่น กล้ามเนื้อของร่างกาย ในท่านี้ผู้รำ�จะกลับมายืนใน ท่าตรง เหยียดแขนทั้งสองข้าง ไปข้างหน้าจากนั้น จะหมุนควงแขนทั้งสองข้างไปทางซ้ายให้เป็นลักษณะ วงกลมแบบตามเข็มนาฬิกา 2 จังหวะ ซึ่งจะหมุนควง ตามลักษณะการก้าวเท้า ในจังหวะการก้าวเท้าที่ 2 ซึ่งเป็นจังหวะสุดท้ายผู้รำ�จะใช้การก้าวเท้าขวาไปไขว้ กับเท้าซ้าย แขนทั้งสองข้าง เหยียดตรงไปทางซ้าย จากนั้นทำ�การสลับไปมาทั้งซ้ายและขวา ภาพแสดงการผ่อนคลายกล้ามเนื้อท่าที่ 15 119
  • 8. ท่าที่ 16 ท่าออกกำ�ลังกาย (จังหวะเร็ว) ในท่านี้ผู้ รำ�จะย่ำ�เท้าอยู่กับที่ โดยการสลับเท้าซ้ายและขวา พร้อมกับเคลื่อนไหวร่างกายโดยการเดินหน้าและ ถอยหลัง ไปตามจัวหวะเพลง พร้อมกับแกว่งมือทั้ง สองข้างไปมาใช้ก้าวเท้าตามจังหวะเพลง ท่าที่ 17 เปลี่ยนจังหวะดนตรีให้เข้าสู่จังหวะช้า เพื่อ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ วิธีปฎิบัติ 1. ยืนตัวตรง ก้าวขาขวาไปทางขวา 1 ก้าว ก้าวเท้าซ้ายตาม ยืนตรง ยกมือขึ้นสองข้าง ข้างหนึ่ง มาม้วนเข้าหาตัวหนึ่งครั้ง 2. ก้าวเท้าซ้ายไขว้ไปทางด้านหลัง พร้อมกับ แขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ กางมือออก 3. สลับไปทางซ้าย ยื่นขาซ้ายไปทางซ้าย 1 ก้าว ยกเท้าขวาตามมา 1 จังหวะ ยืนตัวตรง ปลายเท้า ห่างกันเล็กน้อย ยกมือทั้งสองข้างขึ้นมาม้วนเข้าหาตัว 1 ครั้ง 4. ก้าวเท้าขวาไปไขว้ไว้ด้านหลัง พร้อมกับยก แขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ กางมือออก 5. ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 2-4 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 17 แสดงจังหวะการเคลื่อนไหวไปทางซ้าย 120
  • 9. ท่าที่ 17 แสดงลักษณะการเคลื่อนตัวไปทางขวา ท่าที่ 18 เปลี่ยนเป็นดนตรีที่มีจังหวะเร็ว สำ�หรับ ในท่านี้จะเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายโดยการสไลด์ ตัวไปทางซ้ายและขวาอย่างละ 5 จังหวะ สลับกัน ใช้การสะบัดสะโพก แขนและข้อมือ วิธีปฎิบัติ 1. ยืนตัวตรง บิดตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย 2. ยกแขนขึ้นตั้งท่า สไลด์ตัวไปด้านข้างทาง ซ้าย 5 จังหวะ โดยจังหวะที่ 1 ก้าวเท้าพร้อมสะบัด สะโพกไปทางซ้ายและหยุด 1 จังหวะ จากนั้นสไลด์ตัว ไปทางซ้ายอีก 1 ครั้ง ในท่าเดิม แล้วหยุด 1 จังหวะ สไลด์ตัวไปทางซ้ายอีก 3 จังหวะในท่าเดิม 3. สลับเปลี่ยนไปทางขวา สไลด์ตัวไปด้านข้าง ทางขวา 5 จังหวะ โดยจังหวะที่ 1 ก้าวเท้าพร้อม สะบัดสะโพกไปทางขวาและหยุด 1 จังหวะ จากนั้น สไลด์ตัวไปทางขวาอีก 1 จังหวะในท่าเดิม แล้วหยุด 1 จังหวะ สไลด์ตัวไปทางขวาอีก 3 จังหวะในท่าเดิม อย่างต่อเนื่อง 4. ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 2-4 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 18 แสดงการเคลื่อนตัวไปทางซ้าย 5 จังหวะ 121
  • 10. ท่าที่ 18 แสดงจังหวะการเคลื่อนตัวไปทางขวา 5 จังหวะ ท่าที่ 19 ยังอยู่ที่การสไลด์ตัวไปมาซ้ายและขวา ในท่านี้ก็เช่นเดียวกัน ใช้จังหวะการสไลด์ตัวกับท่าที่ 18 แตกต่างกันตรงที่ในท่านี้จะเปลี่ยนจากแขนข้าง ล่างเป็นชูแขนขึ้นเหนือศรีษะ คล้ายๆกับการโยกตัว และสลับด้วยการยื่นแขนไปข้างหน้าและส่ายไปมา สลับซ้าย ขวาข้างละ 5 จังหวะ โดยใน 3 จังหวะ สุดท้ายให้เปลี่ยนจากการชูแขนเป็นการเหยียดแขน ตรงไปข้างหน้าและส่ายไปมา 122
  • 11. ท่าที่ 20 สไลด์ตัวไปทางด้านข้างสลับซ้ายและขวา อย่างต่อเนื่อง ข้างละ 5 จังหวะ ใช้การหมุนข้อมือ การเหยียดแขนดึงเข้าและดึงออกตามจังหวะ วิธีปฎิบัติ 1. หันไปทางขวา สไลด์ไปทางตัวไปทางขวา พร้อมกับยกแขนทั้งสองข้างม้วนเข้าหาตัวพร้อมกับ สืบเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าว จากนั้นยืดให้แขนตึง หยุดและดึงกลับอย่างละ 1 จังหวะ สืบเท้าขวาไป ข้างหน้า 1 ก้าว จากนั้นสลับดึงแขนเข้าและออก สลับกัน 3 จังหวะ (ก้าวเท้าขวา 1 ก้าว – หยุด-ก้าว เท้าขวา 1 ก้าว -หยุด-ก้าวเท้าขวา 3 ก้าว) 2. หมุนตัวกลับไปทางด้านซ้าย สไลด์ไปทางตัว ไปทางซ้ายพร้อมกับ ยกแขนทั้งสองข้างม้วนเข้าหาตัว สืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว จากนั้นยืดให้แขนตึง หยุดและดึงกลับอย่างละ 1 จังหวะ สืบเท้าซ้ายไปข้าง หน้า 1 ก้าว และหยุด จากนั้นสลับดึงแขนเข้าและ ออกสลับกัน 3 จังหวะ (ก้าวเท้าซ้าย1 ก้าว – หยุด- ก้าวเท้าซ้าย 1 ก้าว -หยุด-ก้าวเท้าซ้าย 3 ก้าว) 3. ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 1- 2 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 20 แสดงจังหวะการเคลื่อนไหวไปทางขวา ท่าที่ 20 แสดงจังหวะการเคลื่อไหวไปทางซ้าย ท่าที่ 21 สไลด์ตัวไปทางด้านข้างสลับซ้ายและขวา อย่างต่อเนื่อง ข้างละ 5 จังหวะ และใช้การหมุน ข้อมือม้วนจากลำ�ตัวออกตามจังหวะ วิธีปฎิบัติ 1. หันไปทางขวา พร้อมกับสืบเท้าขวาไปข้าง หน้า 1 ใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจากตัว 1 ครั้ง จากนั้นให้หยุด 2. สืบเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าวใช้มือทั้งสอง ข้างม้วนออกหาตัว 1 ครั้ง จากนั้นให้หยุด 3. สืบเท้าขวาไปข้างหน้า 3 ก้าวอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจากตัว 3 ครั้ง 4. หมุนตัวกลับไปทางด้านซ้าย พร้อมกับสืบ เท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจาก ตัว 1 ครั้ง จากนั้นให้หยุด 5. สืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าวใช้มือทั้งสอง ข้างม้วนออกหาตัว 1 ครั้ง จากนั้นให้หยุด 6. สืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า 3 ก้าวอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับใช้มือทั้งสองข้างม้วนออกจากตัว 3 ครั้ง 7. ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 1- 6 อย่างต่อเนื่อง 123
  • 12. ท่าที่ 22 ในท่านี้เป็นการออกลังกาย ด้วยดนตรีจังหวะ เร็วกว่าท่าที่ผ่านๆ มา ลักษณะคล้ายๆ ท่าขี่ม้า วิธีปฎิบัติ 1. ยกแขนขึ้นทั้งสองข้าง กางแขน งอข้อศอก 2. ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว ให้อยู่ในท่า ไขว้ขา จังหวะนั้นโยกทั้งสองข้างขึ้นไปทางฝั่งซ้ายของ ลำ�ตัว 3. โยกแขนทั้งสองข้างไปทางขวาพร้อมกับก้าว เท้าขวาไปข้างหน้า ให้อยู่ในท่าไขว้ขา 4. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 2-3 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 23 วิธีปฎิบัติ 1. ก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย 2. บิดลำ�ตัวไปทางขวา และหันหน้าไปทางขวา 3. ยื่นแขนขวาออกไปข้างลำ�ตัวทางขวาให้ แขนตึง แขนขวางอข้อศอกให้ปลายนิ้วมือไปต่อกับ ข้อศอกแขนขวา (ทำ�ให้แขนทั้งสองข้างเป็นเส้นตรง) 4. เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้อยู่ในลักษณะ การยืนไขว้ขาให้บิดลำ�ตัวไปทางซ้ายและหันหน้าไปทาง ซ้าย 5. ยื่นแขนซ้ายออกไปข้างลำ�ตัวทางซ้ายให้แขน ตึง แขนขวางอข้อศอกให้ปลายนิ้วมือไปต่อกับข้อศอก ซ้าย (ทำ�ให้แขนทั้งสองข้างเป็นเส้นตรง) 6. ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-5 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 24 วิธีปฎิบัติ 1. ก้าวเท้าขวาไปไข้วกับเท้าซ้าย 2. บิดลำ�ตัวไปทางขวา และหันหน้าไปทางขวา เหยียดแขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมกับโยกไป ทางขวาพร้อมๆกันลักษณะการยืน ด้วยปลายเท้าท่าที่ 22 124
  • 13. 3. เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้อยู่ในลักษณะ การยืนไขว้ขาให้บิดลำ�ตัวไปทางซ้ายและหันหน้าไปทาง ซ้าย เหยียดแขนทั้งสองข้างขึ้นเหนือศรีษะ พร้อมกับ โยกไปทางขวาพร้อมๆ กัน 4. ยื่นแขนซ้ายออกไปข้างลำ�ตัวทางซ้ายให้แขน ตึง แขนขวางอข้อศอกให้ปลายนิ้วมือไปต่อกับข้อศอก ซ้าย (ทำ�ให้แขนทั้สองข้างเป็นเส้นตรง) 5. ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-4 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 25 ใช้การเคลื่อนไหวเช่นเดียวกับท่าที่ 24 และ สลับเปลี่ยนจากการโยกมือไปข้างบนให้นำ�มาวาง ไว้บริเวณคอเมื่อก้าวไปทางขวาให้บิดตัวไปทางซ้าย ยื่นแขนซ้ายไปข้างลำ�ตัว ให้แขนตึง มือขวางอข้อศอก วางไว้บริเวณท้ายทอย ทำ�สลับซ้ายและขวาอย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 26 วิธีปฎิบัติ 1. ก้าวขาซ้ายไปไขว้กับขาขวา หมุนแขนทั้ง สองข้างไปข้างหน้า 2. นำ�แขนทั้งสองข้างมาไขว้ไว้ด้านหลัง พร้อม กับก้าวเท้าขวาไปทางซ้าย 3. ดึงเท้าขวากลับพร้อมกับก้าวเท้าซ้ายไปข้าง หน้า 1 ก้าว ชูแขนขวาขึ้นเหนือศรีษะแขนซ้ายไขว้ ไปข้างหลัง 125
  • 14. 4. ก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย ชูแขนซ้ายขึ้น เหนือศรีษะ แขนขวาไขว้ไปทางด้านหลัง 5. ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-4 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 27 วิธีปฎิบัติ 1. ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าในท่าไขว้ขายกแขน ซ้ายตั้งข้อศอก แขนขวาตั้งข้อศอกในแนวนอนแนบ ชิดลำ�ตัว 2. ก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย ตั้งข้อศอกแขน ซ้ายขึ้น แขนขวาตั้งขอศอกในแนวนอนแนบชิดลำ�ตัว 3. เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปไขว้ให้สลับแขนซ้ายและ ขวาเปลี่ยนจากแขนที่ยกขึ้นให้อยู่ในแนวนอน ส่วน แขนที่อยู่ในแนวนอนให้ตั้งข้อศอกขึ้น 4. ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง ท่าที่ 28 วิธีปฎิบัติ 1. เมื่อก้าวเท้าขวาไปไขว้กับเท้าซ้าย ให้บิด ลำ�ตัวไปทางขวา ยืนมือทั้งสองข้างไปข้างลำ�ตัว ทำ�สลับซ้ายขวา 2. เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปไขว้กับเท้าขวา ให้บิด ลำ�ตัวไปทางซ้ายยื่นมือทั้งสองข้างไปข้างลำ�ตัว จากนั้นสลับไปทางขวาทำ�เช่นเดียวกับข้อที่ 1 126
  • 15. ท่าที่ 29 ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ ใช้ดนตรีจังหวะช้า 29.1 ยื่นแขนซ้ายไปข้างหน้า ตั้งข้อมือ ย่อตัว เล็กน้อย ยกข้อศอกขวาขนานกับหัวไหล่ 29.2 เมื่อหันไปทางขวา ยื่นแขนขวาไปทางขวา เหยียดแขนให้ตึง มือซ้ายงอข้อศอกให้ขนานกับลำ�ตัว ทำ�สลับกับท่าที่ 1 จนครบ 10 ครั้ง 29.3 นำ�มือทั้งสองข้างมาประกบกัน จาก นั้นวาดแขนออกไปเป็นรูปวงกลม กางแกนออกทั้ง 2 ข้าง ให้แขนตึงทำ�จนครบ 10 ครั้ง จากนั้นเปลี่ยนแขน โดยสลับกันมาไว้บริเวณ ท้ายทอย ทำ�สลับทั้งซ้ายและขวาจนครบ 10 ครั้ง 29.4 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ยื่นแขนไปข้างหน้า ในแนวดิ่ง มือขวาตั้งข้อศอกให้ตั้งฉากกับลำ�ตัว เมื่อ สลับไปทางขวาโดย ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าให้เปลี่ยน จากมือสลับตำ�แหน่งกัน 127
  • 16. 29.5 ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าว ยกแขนทั้งสองข้างขึ้นงอข้อศอกให้ตั้งฉากกับลำ�ตัว เมื่อโน้มตัว ไปด้านหน้าให้ก้มตัวเล็กน้อย มือทั้งสองข้างวาดไปทางด้านหลัง โน้มตัวไปด้านหลังให้ยกแขนโยกไปทางด้าน หลัง ทำ�สลับกันทั้งหน้าและหลัง 29.6 ปฎิบัติซ้ำ�ในท่าที่ 4-7 ตามลำ�ดับในท่านี้จะเป็นท่าสำ�หรับคลายกล้ามเนื้อ โดยยืดแขนและลำ�ตัว เพื่อให้กล้ามเนื้อกลับเข้าสู่ภาวะปกติ 128