SlideShare a Scribd company logo
รำ�มอญ
เพื่อสุขภาพ
จังหวัดปทุมธานี
ภาคกลาง
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม:	 เทศบาลเมืองปทุมธานี
	 จังหวัดปทุมธานี
ที่มาของกิจกรรม
	 วัฒนธรรมการรำ�มอญ เป็นวัฒนธรรมด้าน
นาฎศิลป์พื้นบ้านของชาวไทยรามัญ จังหวัดปทุมธานี
มีประชากรซึ่งเป็นชาวไทยเชื้อสายมอญรามัญอาศัย
เป็นจำ�นวนมาก จึงมีวัฒนธรรมของชาวรามัญเด่น
ชัดอยู่หลายอย่าง เช่น ภาษา การแต่งกาย อาหารพื้น
บ้าน เครื่องแต่งกาย การรำ�มอญเป็นนาฎศิลป์ชั้นสูงของ
ชาวมอญ นิยมแสดงในงานสำ�คัญเท่านั้น ซึ่งวัฒนธรรม
เหล่านี้มีคุณค่า ควรแก่การอนุรักษ์รักษาไว้ให้คงอยู่
คู่กับจังหวัดปทุมธานีสืบไป
	 เทศบาลเมืองปทุมธานี ได้ตระหนักถึงความ
สำ�คัญในเรื่องนี้ จึงนำ�นาฎศิลป์พื้นบ้านของชาวไทย
รามัญมาประยุกต์ใช้ร่วมกับการออกกำ�ลังกาย เพื่อ
เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่น
และเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้กับประชาชนในจังหวัด
ปทุมธานี เพราะสุขภาพดีย่อมนำ�พาให้เกิดสุขภาพจิต
ดี และถ้าประชาชนมีสุขภาพจิตดี ก็จะเป็นภูมิคุ้มกัน
ให้สังคมมีความเข้มแข็ง
แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม
	 กิจกรรมวัฒนธรรมรำ�มอญเพื่อสุขภาพนี้
เกิดขึ้นจากความคิดที่ต้องการอนุรักษ์วัฒนธรรมการ
รำ�มอญ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์พื้นบ้านของชาว
มอญในจังหวัดปทุมธานีให้คงอยู่สืบไป ทั้งนี้เนื่องจาก
ในปัจจุบันวัฒนธรรมดังกล่าว มีแนวโน้มที่จะเลือนหาย
ไปจากสังคมและจังหวัดปทุมธานี จึงได้มีแนวคิดที่จะ
กระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ทุกเพศทุกวัย ได้เห็นความ
สำ�คัญของวัฒนธรรมดังกล่าว จึงได้นำ�ท่ารำ�มอญพื้น
ฐานแบบดังเดิม จำ�นวนทั้งสิ้น 13 ท่า มาผสมผสาน
ร่วมกับดนตรีบรรเลง เพื่อใช้สำ�หรับเป็นท่าทางในการ
ออกกำ�ลังกายประกอบดนตรีปี่พาทย์มอญ นอกจาก
นี้ยังได้ทำ�การเพิ่มท่าแกว่งแขนบำ�บัดโรคในช่วงท้าย
ของการออกกำ�ลังกายอีกด้วย
เป้าหมาย :
	 1.	 เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์
ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ
	 2.	เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลัง
กายแนวใหม่สู่ชุมชน
	 3.	เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ
ความสามัคคีของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้
อย่างยั่งยืน
	 4.	 จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น
ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี
ท้องถิ่น
ประโยชน์
	 1.	ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
	 2.	เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกายแนวใหม่
ของท้องถิ่น
	 3.	ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพ
และกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่สอดคล้อง
กับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอดจนมีส่วนร่วม
ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น
ระยะเวลาที่ใช้: ประมาณ 20 นาที
คุณสมบัติของผู้เล่น:	 เยาวชน ประชาชนทั่วไป และ
	 ผู้สูงอายุ
จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กติกา : -
อุปกรณ์ที่ใช้ : เพลงประกอบการรำ�มอญ
	 การประยุกต์จากท่ารำ�มอญ มาเป็นท่าออกกำ�ลัง
กายผสมผสานแอโรบิค ประกอบด้วยท่ารำ�ในภาษา
มอญดังนี้
	 รำ�มอญท่าที่	:	1	 ฮาฮุยฮากะ (โปรยข้าวตรอก)
	 รำ�มอญท่าที่	:	2	 ฮะบะทาน (1), (สังเวย)
	 รำ�มอญท่าที่	:	3	 ฮะบะทาน (2)
	 รำ�มอญท่าที่	:	4	 ฮะบะทาน (3)
	 รำ�มอญท่าที่	:	5	 เปริงอย่างเปราะ (เร็วขึ้น)
	 รำ�มอญท่าที่	:	6	 ฮะบะทาน (4)
	 รำ�มอญท่าที่	:	7	 อะโมตะตา (พ่อแม่พี่น้อง)
	 รำ�มอญท่าที่	:	8	 โปดโทน (แบบมอญ)
รำ�มอญเพื่อสุขภาพ
รำ�มอญท่าที่	:	9	 ฮะบายคะนอจิน (ขนมจีนน้ำ�ยา)
	 รำ�มอญท่าที่	:	10	กะเลียงเกิง (กลับเมือง)
	 รำ�มอญท่าที่	:	11	 เปริงเประฮะเระ
				 (ตะโพน-เสียงสั้น)
	 รำ�มอญท่าที่	:	12	 เปริงเประฮะเริน
				 (ตะโพน-เสียงยาว)
ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย
	 1.	 Walking ก้าวเท้าเดิน 3 ก้าว ชักเท้าหลัง
มาชิด เดินในทิศทางด้านหน้า ด้านหลัง และด้านข้าง
ซ้าย–ขวา มือทั้งสองข้างเท้าเอว
	 2.	 กางแขนตั้งวง มือจีบระดับอก ย่อตัวเปลี่ยน
แขนตั้งวง
	 3.	 ย่อ-ยุบตัว มือรำ�ชักแป้งผัดหน้า
	 4.	 รำ�ส่าย หันหน้าทางด้านขวา และซ้าย
	 5.	 ท่าเดินด้านข้าง 3 ก้าว ยกเข่าขวา มือขวา
แตะไหล่ มือซ้ายแตะเข่าขวา
	 6.	 ตั้งวง 2 ระดับ ระดับอก แล้วยกขึ้นตั้งวง
ระดับศีรษะ มือเท้าเอว ปฏิบัติท่าสลับซ้าย-ขวา
39
7.	 รำ�ส่าย เท้าสไลด์ไปพร้อมๆ กัน 3 จังหวะ
เปลี่ยนข้างเป็นอีกด้านหนึ่ง
	 8.	 รำ�ส่าย และย่ำ�เท้าอยู่กับที่
	 9.	 รำ�ตั้งวงหงาย เท้าก้าวชิด หันหน้า 4 ทิศ
40

More Related Content

More from Piyawat Katewongsa

Act20
Act20Act20
Act19
Act19Act19
Act18
Act18Act18
Act17
Act17Act17
Act16
Act16Act16
Act16
Act16Act16
Act15
Act15Act15
Act14
Act14Act14
Act13
Act13Act13
Act12
Act12Act12
Act11
Act11Act11
Act10
Act10Act10
Act9
Act9Act9
Act8
Act8Act8
Act7
Act7Act7
Act6
Act6Act6
Act5
Act5Act5
Act3
Act3Act3
Act2
Act2Act2
Act1
Act1Act1

More from Piyawat Katewongsa (20)

Act20
Act20Act20
Act20
 
Act19
Act19Act19
Act19
 
Act18
Act18Act18
Act18
 
Act17
Act17Act17
Act17
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act15
Act15Act15
Act15
 
Act14
Act14Act14
Act14
 
Act13
Act13Act13
Act13
 
Act12
Act12Act12
Act12
 
Act11
Act11Act11
Act11
 
Act10
Act10Act10
Act10
 
Act9
Act9Act9
Act9
 
Act8
Act8Act8
Act8
 
Act7
Act7Act7
Act7
 
Act6
Act6Act6
Act6
 
Act5
Act5Act5
Act5
 
Act3
Act3Act3
Act3
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
Act1
Act1Act1
Act1
 

Act4

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม: เทศบาลเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ที่มาของกิจกรรม วัฒนธรรมการรำ�มอญ เป็นวัฒนธรรมด้าน นาฎศิลป์พื้นบ้านของชาวไทยรามัญ จังหวัดปทุมธานี มีประชากรซึ่งเป็นชาวไทยเชื้อสายมอญรามัญอาศัย เป็นจำ�นวนมาก จึงมีวัฒนธรรมของชาวรามัญเด่น ชัดอยู่หลายอย่าง เช่น ภาษา การแต่งกาย อาหารพื้น บ้าน เครื่องแต่งกาย การรำ�มอญเป็นนาฎศิลป์ชั้นสูงของ ชาวมอญ นิยมแสดงในงานสำ�คัญเท่านั้น ซึ่งวัฒนธรรม เหล่านี้มีคุณค่า ควรแก่การอนุรักษ์รักษาไว้ให้คงอยู่ คู่กับจังหวัดปทุมธานีสืบไป เทศบาลเมืองปทุมธานี ได้ตระหนักถึงความ สำ�คัญในเรื่องนี้ จึงนำ�นาฎศิลป์พื้นบ้านของชาวไทย รามัญมาประยุกต์ใช้ร่วมกับการออกกำ�ลังกาย เพื่อ เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่น และเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้กับประชาชนในจังหวัด ปทุมธานี เพราะสุขภาพดีย่อมนำ�พาให้เกิดสุขภาพจิต ดี และถ้าประชาชนมีสุขภาพจิตดี ก็จะเป็นภูมิคุ้มกัน ให้สังคมมีความเข้มแข็ง แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม กิจกรรมวัฒนธรรมรำ�มอญเพื่อสุขภาพนี้ เกิดขึ้นจากความคิดที่ต้องการอนุรักษ์วัฒนธรรมการ รำ�มอญ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์พื้นบ้านของชาว มอญในจังหวัดปทุมธานีให้คงอยู่สืบไป ทั้งนี้เนื่องจาก ในปัจจุบันวัฒนธรรมดังกล่าว มีแนวโน้มที่จะเลือนหาย ไปจากสังคมและจังหวัดปทุมธานี จึงได้มีแนวคิดที่จะ กระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ทุกเพศทุกวัย ได้เห็นความ สำ�คัญของวัฒนธรรมดังกล่าว จึงได้นำ�ท่ารำ�มอญพื้น ฐานแบบดังเดิม จำ�นวนทั้งสิ้น 13 ท่า มาผสมผสาน ร่วมกับดนตรีบรรเลง เพื่อใช้สำ�หรับเป็นท่าทางในการ ออกกำ�ลังกายประกอบดนตรีปี่พาทย์มอญ นอกจาก นี้ยังได้ทำ�การเพิ่มท่าแกว่งแขนบำ�บัดโรคในช่วงท้าย ของการออกกำ�ลังกายอีกด้วย เป้าหมาย : 1. เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ 2. เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลัง กายแนวใหม่สู่ชุมชน 3. เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ ความสามัคคีของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้ อย่างยั่งยืน 4. จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น ประโยชน์ 1. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 2. เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกายแนวใหม่ ของท้องถิ่น 3. ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพ และกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่สอดคล้อง กับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอดจนมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ระยะเวลาที่ใช้: ประมาณ 20 นาที คุณสมบัติของผู้เล่น: เยาวชน ประชาชนทั่วไป และ ผู้สูงอายุ จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน กติกา : - อุปกรณ์ที่ใช้ : เพลงประกอบการรำ�มอญ การประยุกต์จากท่ารำ�มอญ มาเป็นท่าออกกำ�ลัง กายผสมผสานแอโรบิค ประกอบด้วยท่ารำ�ในภาษา มอญดังนี้ รำ�มอญท่าที่ : 1 ฮาฮุยฮากะ (โปรยข้าวตรอก) รำ�มอญท่าที่ : 2 ฮะบะทาน (1), (สังเวย) รำ�มอญท่าที่ : 3 ฮะบะทาน (2) รำ�มอญท่าที่ : 4 ฮะบะทาน (3) รำ�มอญท่าที่ : 5 เปริงอย่างเปราะ (เร็วขึ้น) รำ�มอญท่าที่ : 6 ฮะบะทาน (4) รำ�มอญท่าที่ : 7 อะโมตะตา (พ่อแม่พี่น้อง) รำ�มอญท่าที่ : 8 โปดโทน (แบบมอญ) รำ�มอญเพื่อสุขภาพ
  • 3. รำ�มอญท่าที่ : 9 ฮะบายคะนอจิน (ขนมจีนน้ำ�ยา) รำ�มอญท่าที่ : 10 กะเลียงเกิง (กลับเมือง) รำ�มอญท่าที่ : 11 เปริงเประฮะเระ (ตะโพน-เสียงสั้น) รำ�มอญท่าที่ : 12 เปริงเประฮะเริน (ตะโพน-เสียงยาว) ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย 1. Walking ก้าวเท้าเดิน 3 ก้าว ชักเท้าหลัง มาชิด เดินในทิศทางด้านหน้า ด้านหลัง และด้านข้าง ซ้าย–ขวา มือทั้งสองข้างเท้าเอว 2. กางแขนตั้งวง มือจีบระดับอก ย่อตัวเปลี่ยน แขนตั้งวง 3. ย่อ-ยุบตัว มือรำ�ชักแป้งผัดหน้า 4. รำ�ส่าย หันหน้าทางด้านขวา และซ้าย 5. ท่าเดินด้านข้าง 3 ก้าว ยกเข่าขวา มือขวา แตะไหล่ มือซ้ายแตะเข่าขวา 6. ตั้งวง 2 ระดับ ระดับอก แล้วยกขึ้นตั้งวง ระดับศีรษะ มือเท้าเอว ปฏิบัติท่าสลับซ้าย-ขวา 39
  • 4. 7. รำ�ส่าย เท้าสไลด์ไปพร้อมๆ กัน 3 จังหวะ เปลี่ยนข้างเป็นอีกด้านหนึ่ง 8. รำ�ส่าย และย่ำ�เท้าอยู่กับที่ 9. รำ�ตั้งวงหงาย เท้าก้าวชิด หันหน้า 4 ทิศ 40