SlideShare a Scribd company logo
การละเล่นกลองยาว
จังหวัดระยอง
ภาคตะวันออก
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : เทศบาลตำ�บลจอมพล
	 เจ้าพระยา อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม
	 เนื่องจากชุมชนเทศบาลตำ�บลจอมพลเจ้าพระยา
ตำ�บลตาสิทธิ์ อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง มีประชาชน
ที่เป็นผู้สูงอายุมีเวลาในช่วงเย็นทุกวัน และประชาชน
ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพรับจ้างบริษัทเอกชน รวมทั้ง
มีเด็กและเยาวชนที่กำ�ลังศึกษาเป็นจำ�นวนมาก ดังนั้น
ชุมชนจึงส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมให้ประชาชน
ได้ทำ�ร่วมกันภายในชุมชน ด้วยการส่งเสริมให้เกิด
การออกกำ�ลังกายในชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพ
แข็งแรง ด้วยการออกกำ�ลังกายตามจังหวะของ
กลองยาว โดยให้ผู้รำ�กลองยาวมีท่ารำ�ที่เหมาะ
สมกับการออกกำ�ลังกาย ซึ่งการส่งเสริมการออก
กำ�ลังกายด้วยกลองยาวนั้น สามารถอนุรักษ์การละ
เล่นพื้นบ้านและวัฒนธรรมประเพณีชุมชนได้เป็น
อย่างดี ทำ�ให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
สร้างความสามัคคีในชุมชน ดังนั้น ชุมชนเทศบาล
ตำ�บลจอมพลเจ้าพระยา จึงได้มีการแต่งตั้งคณะ
กลองยาวและคณะนางรำ�ให้แก่ชุมชน เพื่อเป็นบุคลากร
ในการถ่ายทอดความรู้ในการละเล่นกลองยาว ทั้ง
ทักษะการตีกลองและท่าทางการรำ�ที่ประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมกับการออกกำ�ลังกายในพื้นที่ชุมชน
“รำ�กลองยาว” หรือเรียกอีกอย่างว่า “การเล่นเถิดเทิง”
มีผู้สันนิษฐานว่าเป็นการละเล่นของพม่า ที่นิยม
เล่นกันมาก่อนเมื่อครั้งพม่ามาทำ�สงครามกับไทยในสมัย
กรุงธนบุรี หรือสมัยต้นแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เวลาพัก
รบพวกทหารพม่าก็เล่นสนุกสนานด้วยการละเล่นต่างๆ
ซึ่งทหารพม่าบางพวกก็เล่น “กลองยาว” คนไทยเราได้
เห็นก็จำ�มาเล่นกันบ้าง และยังมีเพลงดนตรีเพลงหนึ่ง
ซึ่งดนตรีไทยนำ�มาใช้บรรเลง มีทำ�นองเป็นเพลงพม่า
เรียกกันมาแต่เดิมว่า “เพลงพม่ากลองยาว” ต่อมาได้
มีผู้ปรับเป็นเพลงระบำ� กำ�หนดให้ผู้รำ�แต่งตัวใส่เสื้อ
นุ่งโสร่ง ศีรษะโพกผ้าสีชมพู (หรือสีอื่นๆ บ้างตาม
แต่จะให้สีสลับกัน เห็นสวยอย่างแบบระบำ�) มือถือ
ขวานออกมาร่ายรำ�เข้ากับจังหวะเพลง ซึ่งเรียกเพลง
นี้กันอีกชื่อหนึ่งว่า “เพลงพม่ารำ�ขวาน” อีกความหนึ่ง
มีผู้กล่าวว่า การเล่นเทิงบ้องกลองยาวนี้ เพิ่งมีเข้ามา
ในเมืองไทยเมื่อสมัยรัชกาลที่ 4 กรุงรัตนโกสินทร์นี้เอง
เมื่อชาวไทยเราเห็นเป็นการละเล่นที่สนุกสนานและ
เล่นได้ง่ายก็เลยนิยมเล่นกันแพร่หลายไปแทบทุกหัว
บ้านหัวเมืองสืบมาจนตราบทุกวันนี้
แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม
	กิจกรรมนี้เริ่มต้นจากการร่วมมือของโดยชุมชน
จอมพลและชุมชนเจ้าพระยา ในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์
สำ�หรับฝึกปฏิบัติ อบรม และแสดงในการประชัน
กลองยาว ในส่วนของการฝึกซ้อมได้จัดหาวิทยากรให้
ความรู้ด้านการให้จังหวะกลองยาวจำ�นวน 2 คน และ
วิทยาให้ความรู้ด้านการแสดงท่ารำ� จำ�นวน 2 คน
ให้สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้วิธีการตี
กลองยาวและท่ารำ�ต่างๆ อย่างถูกวิธี
	 ผู้ดำ�เนินโครงการได้วางแผนให้มีการติดตาม
กิจกรรมตลอดโครงการเป็นระยะๆ โดยมีทั้งกิจกรรม
แสดงความก้าวหน้า โดยเทศบาลตำ�บลจอมพล
เจ้าพระยาได้มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไป
ได้ทราบว่าจะมีการจัดกิจกรรมการแสดงความก้าวหน้า
ของโครงการการละเล่นกลองยาวเพื่อส่งเสริมการออก
กำ�ลังกายและนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้าน ซึ่งการแสดง
ในครั้งนี้ สมาชิกของโครงการแต่ละชุมชนคือชุมชน
จอมพลและชุมชนเจ้าพระยาต้องขึ้นแสดงให้เห็นว่า
ผ่านการอบรมมาระยะหนึ่งแล้ว โดยที่บริเวณจัดงาน
คือ หน้าสำ�นักงานเทศบาลตำ�บลจอมพลเจ้าพระยา
ม.3 ต.ตาสิทธิ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง โดยในกิจกรรม
นี้มีผู้เข้าร่วมงานไม่น้อยกว่า 300 คน
	 หลังจากนั้นจึงได้นำ�กิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้แสดง
นำ�เสนอความก้าวหน้านั้นไปสานต่อจนกระทั่งครบ
หลักสูตรการอบรม รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 30 ชั่วโมง
การอบรม และนำ�ไปสู่กิจกรรมประชันกลองยาวที่
จัดขึ้นในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 17.30 น.
กิจกรรมประชันกลองยาว จะเป็นการประชันเกี่ยวกับ
ท่ารำ�เพื่อการออกกำ�ลังกาย โดยแบ่งเป็น 2 ชุมชน
คือชุมชนจอมพล และชุมชนเจ้าพระยา แต่ละชุมชน
มีผู้แสดงจำ�นวน 40 คน ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการ
ได้เชิญผู้มีความรู้ความสามารถด้านกลองยาวและ
การแสดงท่ารำ� จากโรงเรียนชุมชนบริษัทน้ำ�ตาล
ตะวันออก ม.3 ต.ตาสิทธิ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง
การละเล่นกลองยาว
มาเป็นคณะกรรมการตัดสินการประชันในครั้งนี้เพื่อ
ความเป็นมาตรฐาน
เป้าหมาย
	 1.	 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ใช้เวลาว่างใน
การเสริมสร้างสุขภาพ
	 2.	 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการละเล่นพื้นบ้าน
ด้วยการเล่นเพลงกลองยาว
	 3.	 เพื่อนำ�ศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาประยุกต์
ใช้ในการออกกำ�ลังกาย
	 4.	 เพื่อให้เกิดพื้นที่ในการถ่ายทอดศิลปะการตี
กลอง และการรำ�ตามจังหวะกลองยาวให้กับประชาชน
ในชุมชนที่สนใจ
ประโยชน์
	 1.	 ทำ�ให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจ
แข็งแรงจากการเล่นและรำ�กลองยาว
	 2.	 ทำ�ให้เกิดความสามัคคีของคนในชุมชน
	 3.	 ทำ�ให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคมในการพบปะ
พูดคุย และทำ�กิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน
	 4.	 ทำ�ให้ประชาชนมีความรู้ด้านทักษะการ
ละเล่นกลองยาวและรำ�กลองยาว
	 5.	 ทำ�ให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ระยะเวลาที่ใช้
	 การละเล่นกลองยาวและรำ�กลองยาว ถือได้ว่า
เป็นการออกกำ�ลังกายชนิดหนึ่ง ดังนั้น ระยะเวลา
ในการการละเล่นกลองยาวและรำ�กลองยาว ควร
อยู่ระหว่าง 30-60 นาที ต่อเนื่องกันหรือขึ้นอยู่กับ
อิริยาบถ ระดับความหนักของจังหวะ ท่าทางของการ
ออกกำ�ลังกายจากการละเล่นกลองยาว
กลุ่มของผู้เล่น
	 การละเล่นกลองยาว หรือรำ�กลองยาวนั้น ถ้า
หากเล่นเพื่อสุขภาพและนันทนาการ ประชาชนทั่วไป
ที่สนใจสามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย
จำ�นวนผู้เล่น
	 จำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการละเล่นกลองยาว
จะแบ่งออกเป็น 2 ชุด คือชุดผู้ที่บรรเลงดนตรีและ
ชุดของผู้ที่รำ�กลองยาว โดยชุดผู้ที่ต้องบรรเลงดนตรี
จะต้องมีผู้บรรเลงอย่างน้อย 12 คน คนตีกลองยาว
(กลองยาวสามารถเล่นกันได้หลายๆ ลูก) และมี
ผู้เล่นประกอบจังหวะ เช่น ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่
กรับ โหม่ง ปี่ ลูกแซก ทัมมาลีน เป็นต้น และในส่วน
ของชุดผู้รำ�กลองยาวนั้น หากเป็นการรำ�เพื่อสุขภาพ
และนันทนาการ ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมสามารถ
เข้าร่วมได้โดยไม่จำ�กัดจำ�นวน
อุปกรณ์ที่ใช้
	 กลองยาว 	 4	 ใบ
	 ฉิ่ง		 1	 คู่
	 ฉาบเล็ก 	 1	 คู่
	 ฉาบใหญ่	 1	 คู่
	 กรับไม้	 1	 คู่
	โหม่ง	 1	 ใบ
	 ปี่		 1	 อัน
	 ลูกแซก 	 1	 อัน
	 ทัมมาลีน	 1	 อัน
สถานที่
	 ลักษณะของพื้นที่ในการใช้เล่นกลองยาวและ
รำ�กลองยาวเป็นลานที่มีบริเวณกว้าง
ขั้นตอนการละเล่นรำ�กลองยาว
	 1.	 ขั้นตอนการอบอุ่นร่างกาย (Warm Up)
การอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นหรือรำ�กลองยาวเพื่อสุขภาพ
มีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มอัตราการไหลเวียนของเลือด
การทำ�งานของหัวใจและกล้ามเนื้อลาย เป็นการเพิ่ม
อุณหภูมิของร่างกายวิธีการอบอุ่นร่างกายจะค่อยๆ เพิ่ม
จังหวะการเคลื่อนไหวในส่วนต่างๆ ของร่างกายขึ้นไป
ตามลำ�ดับเพื่อเตรียมร่างกายสำ�หรับระดับการละเล่น
ที่หนักขึ้น โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 5-10 นาที
	 2.	 ขั้นตอนการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Stretching)
ในการละเล่นหรือรำ�กลองยาวควรมีการยืดเหยียดกล้าม
เนื้อและกายบริหารแบบเบาๆ เช่น ข้อมือ ข้อศอก แขน
หัวไหล่ ขา หลังส่วนล่าง ข้อตะโพก ขาหนีบ และ
ส่วนต่างๆ ของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการทำ�กิจกรรม
เพื่อช่วยลดโอกาสการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและข้อต่อ
อันเนื่องมาจากอาการบาดเจ็บในระหว่างการละเล่น
	 3.	 ขั้นตอนการอบอุ่นร่างกายด้วยอุปกรณ์การ
ละเล่นกลองยาว การอบอุ่นร่างกายด้วยการตีกลอง
ยาวนั้น เป็นการเตรียมความพร้อมของร่างกาย เพื่อ
ให้ร่างกายพร้อมที่จะทำ�การละเล่นกลองยาวโดยใช้
ทักษะการของการละเล่นอุปกรณ์นั้นๆ และทำ�ให้
ร่างกายพร้อมที่จะทำ�การเคลื่อนไหวในท่าทางที่ใช้
เมื่อทำ�กิจกรรมจริง นอกจากนี้ เป็นการช่วยฝึกฝน
ทักษะพื้นฐานของการละเล่นกลองยาวและรำ�กลอง
177
178 ยาว เพื่อให้เกิดความเคยชิน และสร้างความพร้อม
ให้กับร่างกายในบริเวณกล้ามเนื้อที่จะต้องใช้ในการ
ละเล่นรำ�กลองยาวอีกด้วย
	 4.	 ขั้นตอนการละเล่นรำ�กลองยาว
		 4.1	 การตีกลองยาว หลักของการตีกลอง
ยาวนั้น เสียงหลักๆ ที่ใช้ในการตี จะประกอบด้วย
3 เสียง คือ ปะ เพิ่ง บ่อม
ภาพลักษณะการตีกลองยาวให้มีเสียง “ป๊ะ”
	 “ป๊ะ” คือ เสียงกลองยาว ที่ใช้ตีสอดแทรกกับ
เสียงอื่น วิธีการตีคือใช้ฝ่ามือจนถึงปลายนิ้วตีลงไป
บริเวณหนากลองมุมใดมุมหนึ่ง ตีโดยกดมือขวาลงไป
ที่หนากลองและเมื่อตีแล้วต้องให้มือแนบติดหนากลอง
ตลอดเวลา
ภาพลักษณะการตีกลองยาวให้มีเสียง “เพิ่ง”
	 “เพิ่ง” คือ เสียงที่เกิดจากการตีเปิดมือโดย ใช้
มือขวาบริเวณโคนนิ้วถึงปลายนิ้ว โดยให้นิ้วทั้งสี่เรียง
ชิดติดกันตีลงที่บนหนากลองยาวบริเวณระหว่างขอบ
กลองกับใจกลางหน้ากลอง
ภาพลักษณะการตีกลองยาวให้มีเสียง “บ่อม”
	 “บอม” คือ เสียงที่มีใช้มากสำ�หรับการตี
กลองยาว จะใช้ในตอนแรกหลังจากโห่สามลาแล้วโหม่ง
ขึ้นตั้งจังหวะ ต่อจากนั้นจึงตีเป็นเสียงบอม สำ�หรับ
การบังคับมือ คือ ให้กำ�มือขวาแล้วตีลงบนหนากลอง
บริเวณที่ติดข้าวสุกหรือกล้วยตากบด เมื่อตีแล้วให้ผู้ตี
ยกมือขึ้นเล็กน้อยจากหนากลองทันทีเพื่อช่วยให้เสียงที่
ตีแล้วนั้นดังกังวานและเกิดเป็นเสียงบอมตามที่ต้องการ
	 ในการละเล่นกลองยาวจะมี ฉิ่ง ฉาบใหญ่ ฉาบ
เล็ก กรับไม้ เป็นเครื่องดนตรีที่ในการควบคุมจังหวะ
โดยมีโหม่งเป็นเครื่องตีประกอบจังหวะที่ทำ�ด้วยโลหะ
มีลักษณะเป็นวงกลมตรงกลางที่นูนออกโหม่งทำ�หน้าที่
ควบคุมจังหวะกลองทุกใบไปพรอมๆ กับฉิ่ง ฉาบและ
กรับ
		4.2	 วิธีการบรรเลงกลองยาว
	 วิธีการบรรเลงกลองยาวนิยมตีกันอยู่ 3 เสียง
คือ “ปะ เพิ่ง บอม” การละเล่นกลองยาวนั้น จะเริ่ม
ด้วยการโห ที่เรียกว่า “โห่สามลา” ก่อนทุกครั้ง แล้ว
ให้โหม่งตีนำ�เพื่อตั้งความเร็วของจังหวะ แลวกลอง
ยาวจะเริ่มตีจังหวะพม่าเดินทัพ ซึ่งมีจังหวะดังนี้
	 |- - - บอม|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง – บอม
	 |- - - บอม|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง - บอม|
	 จังหวะบ่อมเดียว ซึ่งมีจังหวะดังนี้
	 |- - - -|- เพิ่ง - บอม|- - - -|- เพิ่ง – บอม
	 |- - - -|- เพิ่ง - บอม|- - - -|- เพิ่ง - บอม|
	 เมื่อตีสามบ่อมหรือบอมเดียวสลับกันไปมาบาง
ครั้งนำ�จังหวะกราวเข้ามาใช้มีจังหวะดังนี้
	 |- - - -|- - - เพิ่ง|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง – เพิ่ง
	 |- - - -|- - -เพิ่ง|- เพิ่ง- -|- เพิ่ง - เพิ่ง|
179ขั้นตอนการบรรเลงกลองยาว
	 ขั้นตอนที่ 1 เริ่มจากการโหสามลา
	 ขั้นตอนที่ 2	โหม่งตีให้จังหวะ โดยจะตีทั้งหมด
				 10 ครั้ง
	 ขั้นตอนที่ 3 จากนั้นกลองยาว (กลองยืน) เริ่ม
ตีออกมาโดยการตีโหมโรงโดยมีทั้งหมด 20 มือ แต่จะ
มีการตีให้ได้เสียงต่างๆ เป็น 8 จังหวะ การให้เสียง
โหม่ง ลูกแซก ทัมมาลีน ฉิ่ง ฉาบ จะให้เสียงเป็น
จังหวะที่มีความเร็วสม่ำ�เสมอ ส่วนของเสียงปี่ จะให้
เสียงที่เป็นทำ�นองเพลงที่วงเล่น
		 4.3	 การแสดงท่ารำ�เพื่อการออกกำ�ลังกาย
ก่อนการแสดงท่ารำ�กลองยาวเพื่อสุขภาพจำ�เป็นต้องมี
การมีการอบอุ่นร่างกาย ท่ารำ�ที่ทำ�การรำ�ตามจังหวะ
กลองยาว มีทั้งหมด 20 ชุดการแสดงท่ารำ� โดยจะ
สอดคล้องกับจังหวะของกลองยาว ซึ่งภาพรวมของการ
แสดงท่ารำ�จะเน้นให้ทุกส่วนของร่างกายได้เคลื่อนไหว
เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการออกกำ�ลังกาย
หลังการละเล่นรำ�กลองยาว
	 หลังจากที่ละรำ�กลองยาวเล่นจบชุดการแสดง
ท่ารำ� มีความจำ�เป็นในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบช้าๆ
ซึ่งจะช่วยปรับระบบการหายใจให้เป็นปกติ และรักษา
ระดับออกซิเจนในร่างกาย โดยอาจใช้การลดระดับ
ความหนักของท่ารำ� จังหวะการตีกลองและอุปกรณ์
ของเครื่องดนตรีให้ช้าลงคล้ายๆ กับตอนอบอุ่นร่างกาย
ของช่วงแรก อีกทั้ง ผู้เล่นควรทำ�การยืดเหยียดกล้าม
เนื้อที่คล้ายกับช่วงก่อนการละเล่นกลองยาว ซึ่งจะช่วย
ในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หรือทำ�ให้กล้ามเนื้อกลับ
คืนสภาพปกติ เพื่อลดอาการตึง เกร็ง ของกล้ามเนื้อ
ในวันต่อมาลดลง และไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บได้ง่าย

More Related Content

Viewers also liked

RMFM 2016 Presentation_v03_FINAL
RMFM 2016 Presentation_v03_FINALRMFM 2016 Presentation_v03_FINAL
RMFM 2016 Presentation_v03_FINAL
Scott Jarriel
 
Características de los países
Características de los paísesCaracterísticas de los países
Características de los países
Rocio Rosales
 
Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)
Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)
Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)
filipebsouza
 
Museumkompas
MuseumkompasMuseumkompas
Museumkompas
dennisringersma
 
Ias27 inversiones subsidiarias (1)
Ias27 inversiones subsidiarias (1)Ias27 inversiones subsidiarias (1)
Ias27 inversiones subsidiarias (1)
Daniel Delgado
 
CMC Teacher Education SIG Presentation; Egwurube
CMC Teacher Education SIG Presentation; EgwurubeCMC Teacher Education SIG Presentation; Egwurube
CMC Teacher Education SIG Presentation; Egwurube
CmcTchrEdSIG
 
PVAc
PVAcPVAc
Sub Station Training Program
Sub Station Training ProgramSub Station Training Program
Sub Station Training Program
Arul Balan
 
Jn21012016
Jn21012016Jn21012016
Jn21012016
tugafree
 
Sub - Station
Sub - StationSub - Station
Sub - Station
Swapnil Patel
 
Էքստերնալները և հասարակական շահերը
Էքստերնալները և հասարակական շահերըԷքստերնալները և հասարակական շահերը
Էքստերնալները և հասարակական շահերը
Hayk Akarmazyan
 
Vizinhos Preparados para o Pior
Vizinhos Preparados para o PiorVizinhos Preparados para o Pior
Vizinhos Preparados para o Pior
Professor Belinaso
 
On-Page SEO Tactics
On-Page SEO TacticsOn-Page SEO Tactics
On-Page SEO Tactics
Rebecca Gill
 
Bohr
BohrBohr

Viewers also liked (15)

RMFM 2016 Presentation_v03_FINAL
RMFM 2016 Presentation_v03_FINALRMFM 2016 Presentation_v03_FINAL
RMFM 2016 Presentation_v03_FINAL
 
Características de los países
Características de los paísesCaracterísticas de los países
Características de los países
 
scan0002
scan0002scan0002
scan0002
 
Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)
Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)
Sistema de Cadastro Contratual (SISCONT)
 
Museumkompas
MuseumkompasMuseumkompas
Museumkompas
 
Ias27 inversiones subsidiarias (1)
Ias27 inversiones subsidiarias (1)Ias27 inversiones subsidiarias (1)
Ias27 inversiones subsidiarias (1)
 
CMC Teacher Education SIG Presentation; Egwurube
CMC Teacher Education SIG Presentation; EgwurubeCMC Teacher Education SIG Presentation; Egwurube
CMC Teacher Education SIG Presentation; Egwurube
 
PVAc
PVAcPVAc
PVAc
 
Sub Station Training Program
Sub Station Training ProgramSub Station Training Program
Sub Station Training Program
 
Jn21012016
Jn21012016Jn21012016
Jn21012016
 
Sub - Station
Sub - StationSub - Station
Sub - Station
 
Էքստերնալները և հասարակական շահերը
Էքստերնալները և հասարակական շահերըԷքստերնալները և հասարակական շահերը
Էքստերնալները և հասարակական շահերը
 
Vizinhos Preparados para o Pior
Vizinhos Preparados para o PiorVizinhos Preparados para o Pior
Vizinhos Preparados para o Pior
 
On-Page SEO Tactics
On-Page SEO TacticsOn-Page SEO Tactics
On-Page SEO Tactics
 
Bohr
BohrBohr
Bohr
 

Similar to Act20

Act18
Act18Act18
Act8
Act8Act8
โครงการ1
โครงการ1โครงการ1
โครงการ1
Wityaporn Pleeboot
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
Wityaporn Pleeboot
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
Thiti Wongpong
 
Act1
Act1Act1
Act13
Act13Act13

Similar to Act20 (8)

Act18
Act18Act18
Act18
 
Act8
Act8Act8
Act8
 
โครงการ1
โครงการ1โครงการ1
โครงการ1
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
Act1
Act1Act1
Act1
 
Act13
Act13Act13
Act13
 

More from Piyawat Katewongsa

Act19
Act19Act19
Act17
Act17Act17
Act16
Act16Act16
Act16
Act16Act16
Act15
Act15Act15
Act14
Act14Act14
Act12
Act12Act12
Act11
Act11Act11
Act10
Act10Act10
Act9
Act9Act9
Act7
Act7Act7
Act6
Act6Act6
Act5
Act5Act5
Intro
IntroIntro
Act4
Act4Act4
Act3
Act3Act3
Act2
Act2Act2

More from Piyawat Katewongsa (17)

Act19
Act19Act19
Act19
 
Act17
Act17Act17
Act17
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act15
Act15Act15
Act15
 
Act14
Act14Act14
Act14
 
Act12
Act12Act12
Act12
 
Act11
Act11Act11
Act11
 
Act10
Act10Act10
Act10
 
Act9
Act9Act9
Act9
 
Act7
Act7Act7
Act7
 
Act6
Act6Act6
Act6
 
Act5
Act5Act5
Act5
 
Intro
IntroIntro
Intro
 
Act4
Act4Act4
Act4
 
Act3
Act3Act3
Act3
 
Act2
Act2Act2
Act2
 

Act20

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : เทศบาลตำ�บลจอมพล เจ้าพระยา อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม เนื่องจากชุมชนเทศบาลตำ�บลจอมพลเจ้าพระยา ตำ�บลตาสิทธิ์ อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง มีประชาชน ที่เป็นผู้สูงอายุมีเวลาในช่วงเย็นทุกวัน และประชาชน ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพรับจ้างบริษัทเอกชน รวมทั้ง มีเด็กและเยาวชนที่กำ�ลังศึกษาเป็นจำ�นวนมาก ดังนั้น ชุมชนจึงส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมให้ประชาชน ได้ทำ�ร่วมกันภายในชุมชน ด้วยการส่งเสริมให้เกิด การออกกำ�ลังกายในชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพ แข็งแรง ด้วยการออกกำ�ลังกายตามจังหวะของ กลองยาว โดยให้ผู้รำ�กลองยาวมีท่ารำ�ที่เหมาะ สมกับการออกกำ�ลังกาย ซึ่งการส่งเสริมการออก กำ�ลังกายด้วยกลองยาวนั้น สามารถอนุรักษ์การละ เล่นพื้นบ้านและวัฒนธรรมประเพณีชุมชนได้เป็น อย่างดี ทำ�ให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความสามัคคีในชุมชน ดังนั้น ชุมชนเทศบาล ตำ�บลจอมพลเจ้าพระยา จึงได้มีการแต่งตั้งคณะ กลองยาวและคณะนางรำ�ให้แก่ชุมชน เพื่อเป็นบุคลากร ในการถ่ายทอดความรู้ในการละเล่นกลองยาว ทั้ง ทักษะการตีกลองและท่าทางการรำ�ที่ประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกับการออกกำ�ลังกายในพื้นที่ชุมชน “รำ�กลองยาว” หรือเรียกอีกอย่างว่า “การเล่นเถิดเทิง” มีผู้สันนิษฐานว่าเป็นการละเล่นของพม่า ที่นิยม เล่นกันมาก่อนเมื่อครั้งพม่ามาทำ�สงครามกับไทยในสมัย กรุงธนบุรี หรือสมัยต้นแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เวลาพัก รบพวกทหารพม่าก็เล่นสนุกสนานด้วยการละเล่นต่างๆ ซึ่งทหารพม่าบางพวกก็เล่น “กลองยาว” คนไทยเราได้ เห็นก็จำ�มาเล่นกันบ้าง และยังมีเพลงดนตรีเพลงหนึ่ง ซึ่งดนตรีไทยนำ�มาใช้บรรเลง มีทำ�นองเป็นเพลงพม่า เรียกกันมาแต่เดิมว่า “เพลงพม่ากลองยาว” ต่อมาได้ มีผู้ปรับเป็นเพลงระบำ� กำ�หนดให้ผู้รำ�แต่งตัวใส่เสื้อ นุ่งโสร่ง ศีรษะโพกผ้าสีชมพู (หรือสีอื่นๆ บ้างตาม แต่จะให้สีสลับกัน เห็นสวยอย่างแบบระบำ�) มือถือ ขวานออกมาร่ายรำ�เข้ากับจังหวะเพลง ซึ่งเรียกเพลง นี้กันอีกชื่อหนึ่งว่า “เพลงพม่ารำ�ขวาน” อีกความหนึ่ง มีผู้กล่าวว่า การเล่นเทิงบ้องกลองยาวนี้ เพิ่งมีเข้ามา ในเมืองไทยเมื่อสมัยรัชกาลที่ 4 กรุงรัตนโกสินทร์นี้เอง เมื่อชาวไทยเราเห็นเป็นการละเล่นที่สนุกสนานและ เล่นได้ง่ายก็เลยนิยมเล่นกันแพร่หลายไปแทบทุกหัว บ้านหัวเมืองสืบมาจนตราบทุกวันนี้ แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม กิจกรรมนี้เริ่มต้นจากการร่วมมือของโดยชุมชน จอมพลและชุมชนเจ้าพระยา ในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ สำ�หรับฝึกปฏิบัติ อบรม และแสดงในการประชัน กลองยาว ในส่วนของการฝึกซ้อมได้จัดหาวิทยากรให้ ความรู้ด้านการให้จังหวะกลองยาวจำ�นวน 2 คน และ วิทยาให้ความรู้ด้านการแสดงท่ารำ� จำ�นวน 2 คน ให้สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้วิธีการตี กลองยาวและท่ารำ�ต่างๆ อย่างถูกวิธี ผู้ดำ�เนินโครงการได้วางแผนให้มีการติดตาม กิจกรรมตลอดโครงการเป็นระยะๆ โดยมีทั้งกิจกรรม แสดงความก้าวหน้า โดยเทศบาลตำ�บลจอมพล เจ้าพระยาได้มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไป ได้ทราบว่าจะมีการจัดกิจกรรมการแสดงความก้าวหน้า ของโครงการการละเล่นกลองยาวเพื่อส่งเสริมการออก กำ�ลังกายและนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้าน ซึ่งการแสดง ในครั้งนี้ สมาชิกของโครงการแต่ละชุมชนคือชุมชน จอมพลและชุมชนเจ้าพระยาต้องขึ้นแสดงให้เห็นว่า ผ่านการอบรมมาระยะหนึ่งแล้ว โดยที่บริเวณจัดงาน คือ หน้าสำ�นักงานเทศบาลตำ�บลจอมพลเจ้าพระยา ม.3 ต.ตาสิทธิ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง โดยในกิจกรรม นี้มีผู้เข้าร่วมงานไม่น้อยกว่า 300 คน หลังจากนั้นจึงได้นำ�กิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้แสดง นำ�เสนอความก้าวหน้านั้นไปสานต่อจนกระทั่งครบ หลักสูตรการอบรม รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 30 ชั่วโมง การอบรม และนำ�ไปสู่กิจกรรมประชันกลองยาวที่ จัดขึ้นในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 17.30 น. กิจกรรมประชันกลองยาว จะเป็นการประชันเกี่ยวกับ ท่ารำ�เพื่อการออกกำ�ลังกาย โดยแบ่งเป็น 2 ชุมชน คือชุมชนจอมพล และชุมชนเจ้าพระยา แต่ละชุมชน มีผู้แสดงจำ�นวน 40 คน ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เชิญผู้มีความรู้ความสามารถด้านกลองยาวและ การแสดงท่ารำ� จากโรงเรียนชุมชนบริษัทน้ำ�ตาล ตะวันออก ม.3 ต.ตาสิทธิ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง การละเล่นกลองยาว
  • 3. มาเป็นคณะกรรมการตัดสินการประชันในครั้งนี้เพื่อ ความเป็นมาตรฐาน เป้าหมาย 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ใช้เวลาว่างใน การเสริมสร้างสุขภาพ 2. เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการละเล่นพื้นบ้าน ด้วยการเล่นเพลงกลองยาว 3. เพื่อนำ�ศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาประยุกต์ ใช้ในการออกกำ�ลังกาย 4. เพื่อให้เกิดพื้นที่ในการถ่ายทอดศิลปะการตี กลอง และการรำ�ตามจังหวะกลองยาวให้กับประชาชน ในชุมชนที่สนใจ ประโยชน์ 1. ทำ�ให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจ แข็งแรงจากการเล่นและรำ�กลองยาว 2. ทำ�ให้เกิดความสามัคคีของคนในชุมชน 3. ทำ�ให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคมในการพบปะ พูดคุย และทำ�กิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน 4. ทำ�ให้ประชาชนมีความรู้ด้านทักษะการ ละเล่นกลองยาวและรำ�กลองยาว 5. ทำ�ให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ระยะเวลาที่ใช้ การละเล่นกลองยาวและรำ�กลองยาว ถือได้ว่า เป็นการออกกำ�ลังกายชนิดหนึ่ง ดังนั้น ระยะเวลา ในการการละเล่นกลองยาวและรำ�กลองยาว ควร อยู่ระหว่าง 30-60 นาที ต่อเนื่องกันหรือขึ้นอยู่กับ อิริยาบถ ระดับความหนักของจังหวะ ท่าทางของการ ออกกำ�ลังกายจากการละเล่นกลองยาว กลุ่มของผู้เล่น การละเล่นกลองยาว หรือรำ�กลองยาวนั้น ถ้า หากเล่นเพื่อสุขภาพและนันทนาการ ประชาชนทั่วไป ที่สนใจสามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย จำ�นวนผู้เล่น จำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการละเล่นกลองยาว จะแบ่งออกเป็น 2 ชุด คือชุดผู้ที่บรรเลงดนตรีและ ชุดของผู้ที่รำ�กลองยาว โดยชุดผู้ที่ต้องบรรเลงดนตรี จะต้องมีผู้บรรเลงอย่างน้อย 12 คน คนตีกลองยาว (กลองยาวสามารถเล่นกันได้หลายๆ ลูก) และมี ผู้เล่นประกอบจังหวะ เช่น ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ กรับ โหม่ง ปี่ ลูกแซก ทัมมาลีน เป็นต้น และในส่วน ของชุดผู้รำ�กลองยาวนั้น หากเป็นการรำ�เพื่อสุขภาพ และนันทนาการ ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมสามารถ เข้าร่วมได้โดยไม่จำ�กัดจำ�นวน อุปกรณ์ที่ใช้ กลองยาว 4 ใบ ฉิ่ง 1 คู่ ฉาบเล็ก 1 คู่ ฉาบใหญ่ 1 คู่ กรับไม้ 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ ปี่ 1 อัน ลูกแซก 1 อัน ทัมมาลีน 1 อัน สถานที่ ลักษณะของพื้นที่ในการใช้เล่นกลองยาวและ รำ�กลองยาวเป็นลานที่มีบริเวณกว้าง ขั้นตอนการละเล่นรำ�กลองยาว 1. ขั้นตอนการอบอุ่นร่างกาย (Warm Up) การอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นหรือรำ�กลองยาวเพื่อสุขภาพ มีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มอัตราการไหลเวียนของเลือด การทำ�งานของหัวใจและกล้ามเนื้อลาย เป็นการเพิ่ม อุณหภูมิของร่างกายวิธีการอบอุ่นร่างกายจะค่อยๆ เพิ่ม จังหวะการเคลื่อนไหวในส่วนต่างๆ ของร่างกายขึ้นไป ตามลำ�ดับเพื่อเตรียมร่างกายสำ�หรับระดับการละเล่น ที่หนักขึ้น โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 5-10 นาที 2. ขั้นตอนการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Stretching) ในการละเล่นหรือรำ�กลองยาวควรมีการยืดเหยียดกล้าม เนื้อและกายบริหารแบบเบาๆ เช่น ข้อมือ ข้อศอก แขน หัวไหล่ ขา หลังส่วนล่าง ข้อตะโพก ขาหนีบ และ ส่วนต่างๆ ของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการทำ�กิจกรรม เพื่อช่วยลดโอกาสการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและข้อต่อ อันเนื่องมาจากอาการบาดเจ็บในระหว่างการละเล่น 3. ขั้นตอนการอบอุ่นร่างกายด้วยอุปกรณ์การ ละเล่นกลองยาว การอบอุ่นร่างกายด้วยการตีกลอง ยาวนั้น เป็นการเตรียมความพร้อมของร่างกาย เพื่อ ให้ร่างกายพร้อมที่จะทำ�การละเล่นกลองยาวโดยใช้ ทักษะการของการละเล่นอุปกรณ์นั้นๆ และทำ�ให้ ร่างกายพร้อมที่จะทำ�การเคลื่อนไหวในท่าทางที่ใช้ เมื่อทำ�กิจกรรมจริง นอกจากนี้ เป็นการช่วยฝึกฝน ทักษะพื้นฐานของการละเล่นกลองยาวและรำ�กลอง 177
  • 4. 178 ยาว เพื่อให้เกิดความเคยชิน และสร้างความพร้อม ให้กับร่างกายในบริเวณกล้ามเนื้อที่จะต้องใช้ในการ ละเล่นรำ�กลองยาวอีกด้วย 4. ขั้นตอนการละเล่นรำ�กลองยาว 4.1 การตีกลองยาว หลักของการตีกลอง ยาวนั้น เสียงหลักๆ ที่ใช้ในการตี จะประกอบด้วย 3 เสียง คือ ปะ เพิ่ง บ่อม ภาพลักษณะการตีกลองยาวให้มีเสียง “ป๊ะ” “ป๊ะ” คือ เสียงกลองยาว ที่ใช้ตีสอดแทรกกับ เสียงอื่น วิธีการตีคือใช้ฝ่ามือจนถึงปลายนิ้วตีลงไป บริเวณหนากลองมุมใดมุมหนึ่ง ตีโดยกดมือขวาลงไป ที่หนากลองและเมื่อตีแล้วต้องให้มือแนบติดหนากลอง ตลอดเวลา ภาพลักษณะการตีกลองยาวให้มีเสียง “เพิ่ง” “เพิ่ง” คือ เสียงที่เกิดจากการตีเปิดมือโดย ใช้ มือขวาบริเวณโคนนิ้วถึงปลายนิ้ว โดยให้นิ้วทั้งสี่เรียง ชิดติดกันตีลงที่บนหนากลองยาวบริเวณระหว่างขอบ กลองกับใจกลางหน้ากลอง ภาพลักษณะการตีกลองยาวให้มีเสียง “บ่อม” “บอม” คือ เสียงที่มีใช้มากสำ�หรับการตี กลองยาว จะใช้ในตอนแรกหลังจากโห่สามลาแล้วโหม่ง ขึ้นตั้งจังหวะ ต่อจากนั้นจึงตีเป็นเสียงบอม สำ�หรับ การบังคับมือ คือ ให้กำ�มือขวาแล้วตีลงบนหนากลอง บริเวณที่ติดข้าวสุกหรือกล้วยตากบด เมื่อตีแล้วให้ผู้ตี ยกมือขึ้นเล็กน้อยจากหนากลองทันทีเพื่อช่วยให้เสียงที่ ตีแล้วนั้นดังกังวานและเกิดเป็นเสียงบอมตามที่ต้องการ ในการละเล่นกลองยาวจะมี ฉิ่ง ฉาบใหญ่ ฉาบ เล็ก กรับไม้ เป็นเครื่องดนตรีที่ในการควบคุมจังหวะ โดยมีโหม่งเป็นเครื่องตีประกอบจังหวะที่ทำ�ด้วยโลหะ มีลักษณะเป็นวงกลมตรงกลางที่นูนออกโหม่งทำ�หน้าที่ ควบคุมจังหวะกลองทุกใบไปพรอมๆ กับฉิ่ง ฉาบและ กรับ 4.2 วิธีการบรรเลงกลองยาว วิธีการบรรเลงกลองยาวนิยมตีกันอยู่ 3 เสียง คือ “ปะ เพิ่ง บอม” การละเล่นกลองยาวนั้น จะเริ่ม ด้วยการโห ที่เรียกว่า “โห่สามลา” ก่อนทุกครั้ง แล้ว ให้โหม่งตีนำ�เพื่อตั้งความเร็วของจังหวะ แลวกลอง ยาวจะเริ่มตีจังหวะพม่าเดินทัพ ซึ่งมีจังหวะดังนี้ |- - - บอม|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง – บอม |- - - บอม|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง - บอม| จังหวะบ่อมเดียว ซึ่งมีจังหวะดังนี้ |- - - -|- เพิ่ง - บอม|- - - -|- เพิ่ง – บอม |- - - -|- เพิ่ง - บอม|- - - -|- เพิ่ง - บอม| เมื่อตีสามบ่อมหรือบอมเดียวสลับกันไปมาบาง ครั้งนำ�จังหวะกราวเข้ามาใช้มีจังหวะดังนี้ |- - - -|- - - เพิ่ง|- เพิ่ง - -|- เพิ่ง – เพิ่ง |- - - -|- - -เพิ่ง|- เพิ่ง- -|- เพิ่ง - เพิ่ง|
  • 5. 179ขั้นตอนการบรรเลงกลองยาว ขั้นตอนที่ 1 เริ่มจากการโหสามลา ขั้นตอนที่ 2 โหม่งตีให้จังหวะ โดยจะตีทั้งหมด 10 ครั้ง ขั้นตอนที่ 3 จากนั้นกลองยาว (กลองยืน) เริ่ม ตีออกมาโดยการตีโหมโรงโดยมีทั้งหมด 20 มือ แต่จะ มีการตีให้ได้เสียงต่างๆ เป็น 8 จังหวะ การให้เสียง โหม่ง ลูกแซก ทัมมาลีน ฉิ่ง ฉาบ จะให้เสียงเป็น จังหวะที่มีความเร็วสม่ำ�เสมอ ส่วนของเสียงปี่ จะให้ เสียงที่เป็นทำ�นองเพลงที่วงเล่น 4.3 การแสดงท่ารำ�เพื่อการออกกำ�ลังกาย ก่อนการแสดงท่ารำ�กลองยาวเพื่อสุขภาพจำ�เป็นต้องมี การมีการอบอุ่นร่างกาย ท่ารำ�ที่ทำ�การรำ�ตามจังหวะ กลองยาว มีทั้งหมด 20 ชุดการแสดงท่ารำ� โดยจะ สอดคล้องกับจังหวะของกลองยาว ซึ่งภาพรวมของการ แสดงท่ารำ�จะเน้นให้ทุกส่วนของร่างกายได้เคลื่อนไหว เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการออกกำ�ลังกาย หลังการละเล่นรำ�กลองยาว หลังจากที่ละรำ�กลองยาวเล่นจบชุดการแสดง ท่ารำ� มีความจำ�เป็นในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบช้าๆ ซึ่งจะช่วยปรับระบบการหายใจให้เป็นปกติ และรักษา ระดับออกซิเจนในร่างกาย โดยอาจใช้การลดระดับ ความหนักของท่ารำ� จังหวะการตีกลองและอุปกรณ์ ของเครื่องดนตรีให้ช้าลงคล้ายๆ กับตอนอบอุ่นร่างกาย ของช่วงแรก อีกทั้ง ผู้เล่นควรทำ�การยืดเหยียดกล้าม เนื้อที่คล้ายกับช่วงก่อนการละเล่นกลองยาว ซึ่งจะช่วย ในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หรือทำ�ให้กล้ามเนื้อกลับ คืนสภาพปกติ เพื่อลดอาการตึง เกร็ง ของกล้ามเนื้อ ในวันต่อมาลดลง และไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บได้ง่าย