SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
รำ�รองเง็งบิค
จังหวัดพังงา
ภาคใต้
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : 	องค์การบริหารส่วนตำ�บล
	 ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา
ที่มาของกิจกรรม
	 องค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมือง อำ�เภอ
ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา มีประชากรจำ�นวน 7,650
คน มีพื้นที่ 8 หมู่บ้าน ซึ่งมีทั้งนับถือศาสนาพุทธ และ
อิสลาม และมีชนพื้นเมือง ซึ่งภาษาถิ่นเรียกว่าชาวเล
หรือชาวมอร์แกน อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 6
บางส่วน ซึ่งหลังเกิดเหตุการณ์สึนามิ ได้มีการฟื้นฟู
ประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ประเพณีอย่างหนึ่ง
ที่มีการฟื้นฟูคือประเพณีการรำ�รองเง็ง ซึ่งในปัจจุบัน
หน่วยงานมูลนิธิของต่างประเทศ โรงเรียนชาวไทย
ใหม่และองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมืองได้หัน
มาฟื้นฟูโดยองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมือง
	 ได้บรรจุในแผนพัฒนาตำ�บล 3 ปีและตั้งงบ
ประมาณในการฟื้นฟูอนุรักษ์เป็นประจำ�ทุกที แต่ยัง
ไม่เป็นรูปธรรมมากนัก การรำ�รองเง็งเป็นการรำ�ที่ใช้
อวัยวะทุกส่วนของร่างกายไม่ว่าจะเป็นมือ แขน ขา
เอว และสะโพก ซึ่งเป็นการออกกำ�ลังกายได้ดีประกอบ
กับจากการศึกษาข้อมูลปัญหาสุขภาพของประชาชนใน
ตำ�บลท้ายเหมือง มีปัญหาในเรื่องของปัญหาปวดเมื่อย
ปวดกล้ามเนื้อ เพราะไม่ได้ออกกำ�ลังกาย ทางองค์กร
บริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมืองจึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริม
ให้ประชาชนหันมาดูแลสุขภาพ ก็จะสามารถแก้ไข
ปัญหาสุขภาพดังกล่าวได้ ทางองค์การบริหารส่วน
ตำ�บลท้ายเหมืองพิจารณาแล้วเห็นว่า หากได้มีการ
ประยุกต์ประเพณีการรำ�รองเง็ง ซึ่งเป็นการรำ�ที่ใช้
อวัยวะทุกส่วนในการรำ� นำ�มาประยุกต์ โดยการปรับ
ท่ารำ� ปรับความเร็ว ความช้าของท่ารำ�ก็จะสามารถ
ใช้เป็นท่าในการออกกำ�ลังกายสำ�หรับประชาชนได้ จึง
ได้เสนอโครงการรำ�รองเง็งเพื่อสุขภาพและอนุรักษ์
วัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อหาแกนนำ�และเครือข่ายในการ
ออกกำ�ลังกายเพื่ออนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น
ต่อไป
แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม
	 กิจกรรมรำ�รองเง็งเพื่อสุขภาพของตำ�บลท้ายเหมือง
จังหวัดพังงานั้น มีกระบวนการทำ�งานกิจกรรมที่เริ่ม
จากการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน และแต่งตั้งคณะ
ทำ�งานของโครงการเป็นขั้นตอนแรก เพื่อเป็นการ
ขอความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงเริ่มทำ�การ
ออกแบบท่ารำ�และประยุกต์ท่ารำ�ให้มีความเหมาะสม
กับวัย และมีเอกลักษณ์เชิงพื้นที่ของตน เมื่อมีท่ารำ�
เบื้องต้นแล้วจึงได้จัดให้มีเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ
เพื่อนำ�เสนอท่ารำ�ดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ให้ร่วมกันวิพากษ์และปรับปรุงพัฒนาท่ารำ�ดังกล่าว
ให้ตรงตามความต้องการของทุกคน หลังจากนั้นจึง
มีการฝึกอบรมวิทยากรเพื่อถ่ายทอดให้กับแกนนำ�ทั้ง
8 หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านทางการประชาสัมพันธ์
เพื่อชักชวนให้แต่ละพื้นที่เข้าร่วมโครงการ หลังจาก
ได้แกนนำ�ในการดำ�เนินกิจกรรมแล้ว จึงเริ่มที่จะนำ�
กิจกรรมดังกล่าวไปปฏิบัติในพื้นที่ และเข้าสู่การจัด
ให้มีการประกวด “รองเง็งบิคเพื่อสุขภาพ” ตามด้วย
การติดตามและประเมินผลตามลำ�ดับ
วัตถุประสงค์
	 1.	เพื่อส่งเสริมการออกกำ�ลังกายควบคู่กับการ
อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
	 2.	เพื่อสืบทอดประเพณีการรำ�รองเง็งให้ตกทอด
สู่รุ่นลูกหลานต่อไป
	 3.	เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป
มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง
เป้าหมายของกิจกรรม
	 1.	เด็ก เยาวชน ประชาชน และผู้สูงอายุใน
เขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมืองร้อยละ 80
มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง
	 2.	มีแกนนำ�ในพื้นที่ที่เป็นแกนนำ�ในการรำ�รองเง็ง
เพื่อสุขภาพหมู่ละ 10 คน
	 3.	โรงเรียนในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้าน
เหมือง จำ�นวน 8 โรงเรียนและหน่วยงานสาธารณสุข
รำ�รองเง็งบิค
ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ
	 1.	เกิดการออกกำ�ลังกายในรูปแบบอนุรักษ์
วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
	 2.	ทำ�ให้เด็ก เยาวชน ประชาชน และผู้สูงอายุ
มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง
	 3.	มีแกนนำ�ออกกำ�ลังกายที่มีความรู้ความสามารถ
ลงพื้นที่เพื่อขยายผลได้
จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กลุ่มผู้เล่น : เด็ก วัยรุ่น วัยกลางคน ผู้สูงอายุ
สถานที่ : สถานที่กว้างๆ หรือบริเวณโล่งๆ
อุปกรณ์ที่ใช้
	 - ผ้าคลุมไหล่บางๆ
	 - ถุงเท้ายาว
	 - รองเท้าผ้าใบ (สำ�หรับออกกำ�ลังกาย)
ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย มีดังนี้
	 รำ�รองเง็งบิค เป็นการผสมผสานระหว่างท่ารำ�
รองเง็ง ซึ่งเป็นศิลปะพื้นบ้านทางภาคใต้กับท่ากายบริหาร
แบบแอโรบิค โดยการนำ�ท่าทางการประกอบอาชีพ
ร่อนแร่ และกรีดยางซึ่งเป็นวิถีชีวิตของชาวบ้าน
มาประยุกต์ใช้เป็นท่ารำ� โดยจะใช้อวัยวะส่วนขาและ
แขนในการออกกำ�ลังกาย และใช้ดนตรีประกอบการรำ�
ที่มีจังหวะเร็วและสนุกสนานและมีความทันสมัย เริ่ม
ด้วยท่าเต้นแบบเบาๆ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม
ของร่างกาย เช่น ท่าการเดินโยกตัวไปมาตามจังหวะ
การยืดลำ�ตัว การเหวี่ยงแขน เป็นต้น ประกอบด้วย
ท่ารำ�ทั้งหมด 22 ท่า ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละท่า
ออกกำ�ลังกายดังนี้
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 1 และวิธีปฏิบัติ (ท่าเตรียม
พร้อมก่อนออกกำ�ลังกาย)
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และเท้าทั้ง
สองข้างยืนชิดติดกัน
	 2.	ก้าวไปข้างหน้าโดยใช้ส้นเท้าขวาซ้าย สลับ
กัน พร้อมทั้งบิดตัวไปในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า
ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงขวาซ้ายสลับกัน ในทิศทาง
เดียวกับการก้าว
	 3.	ก้าวส้นเท้าขวาซ้ายไปข้างหน้า สลับกัน พร้อม
ทั้งบิดตัวไปในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า และให้เหวี่ยง
ซ้ายขวาสลับกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
93
ท่าออกกำ�ลังกายที่ 2 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้จะ
เป็นการออกกำ�ลังกายโดยใช้แขน หัวไหล่ และข้อมือ)
	
	
	
	
	
	
	
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และยืนแยก
เท้าทั้งสองข้างให้มีความกว้างเท่ากับช่วงไหล่ หรือ
กว้างกว่าเล็กน้อย
	 2.	ชูผ้าขึ้นเหนือศีรษะโดยให้ผ้าตึง และเหวี่ยง
แขนทั้งสองข้างไปมาสลับซ้ายขวา ด้านละ 3 จังหวะ
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 	
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 3 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้จะ
เป็นการออกกำ�ลังกายโดยใช้แขน หัวไหล่ และข้อมือ)
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และนำ�ผ้า
คลุมไหล่มาไว้บริเวณระดับหน้าอก ให้แขนทั้งสอง
ข้างขนานกับพื้น พร้อมทั้งยืนแยกเท้าทั้งสองข้างให้
มีความกว้างเท่ากับช่วงไหล่ หรือกว้างกว่าเล็กน้อย
	 2.	ดึงผ้าให้ตึง และเหวี่ยงแขนทั้งสองข้างไปมา
สลับซ้ายขวา ด้านละ 8 จังหวะ
	
	
	
	
	
	
	
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 4 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้มีการ
แปรขบวน โดยแต่ละกลุ่มจะเดินเรียงแถวกัน และ
ก้าวเดินไปข้างหน้าในลักษณะวงกลม)
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และนำ�ผ้า
คลุมไหล่มาไว้บริเวณระดับหน้าอก ให้แขนทั้งสอง
ข้างขนานกับพื้น พร้อมทั้งยืนแยกเท้าทั้งสองข้างให้
มีความกว้างเท่ากับช่วงไหล่ หรือกว้างกว่าเล็กน้อย
	 2.	เดินไปข้างหน้าโดยใช้ส้นเท้าขวาซ้าย
สลับกัน พร้อมทั้งบิดตัวไปในทิศทางเดียวกับการ
ก้าวเท้า ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงขวาซ้ายสลับกัน
ในทิศทางเดียวกับการก้าว
94
3.	กลับมาอยู่ที่ตำ�แหน่งเดิม และใช้ส้นเท้าขวา
ซ้ายก้าวไปข้างหน้า สลับกัน พร้อมทั้งบิดตัวไปใน
ทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยง
ขวาซ้ายสลับกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า
	 4. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และก้าวเดิน
โดยใช้ส้นเท้าขวาและซ้ายสลับกันอย่างต่อเนื่อง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 5 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว และ
กำ�มือทั้งสองข้าง
	 2.	สับแขนขึ้นและลงสลับขวาซ้าย พร้อมทั้งยืน
โยกไปมาสลับขวาซ้าย โดยที่ เมื่อโยกไปด้านใดให้เปิด
ส้นเท้าในด้านนั้น
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 6 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว และ
กำ�มือทั้งสองข้าง
	 2.	เมื่อใช้ปลายเท้าซ้ายก้าวไปด้านหลัง ให้เหวี่ยง
แขนทั้งสองข้างขึ้น
	 3.	เมื่อใช้ปลายเท้าขวาก้าวไปด้านหลัง ให้เหวี่ยง
แขนทั้งสองข้างลง
	 4.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 7 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว และ
กำ�มือทั้งสองข้าง
	 2.	เมื่อโยกตัวไปด้านหลัง ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้าง
หน้า ใช้ส้นเท้าซ้ายแตะพื้น พร้อมทั้งให้เหวี่ยงแขนทั้ง
สองข้างขึ้น
							
						
95
3.	เมื่อก้าวเท้าขวาไปข้างหลัง และใช้ปลายเท้า
ขวาแตะพื้น พร้อมทั้งให้เหวี่ยงแขนทั้งสองข้างลง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 8 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและกำ�
มือทั้งสองข้าง
	 2.	ก้าวเท้าขวาไปทางด้านขวา 2 จังหวะ และ
ใช้ปลายเท้าขวาแตะพื้น พร้อมทั้ง ให้เหวี่ยงแขนขวา
ไปทางด้านขวา 2 จังหวะ
	 3.	ก้าวเท้าซ้ายไปทางด้านซ้าย 2 จังหวะ และ
ใช้ปลายเท้าซ้ายแตะพื้น พร้อมทั้งเหวี่ยงแขนซ้าย ไป
ทางด้านซ้าย 2 จังหวะ
	 4.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 9 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและกำ�
มือทั้งสองข้าง บิดข้อมือขึ้นและลงตามจังหวะ
	 2.	นำ�มือทั้งสองข้างโค้งเข้าหาลำ�ตัว และใช้ส้น
เท้าขวาแตะพื้น
	 3.	นำ�มือทั้งสองข้างโค้งออกจากลำ�ตัว และใช้ส้น
เท้าซ้ายแตะพื้น
	 4. ปฎิบัติซ้ำ�
ข้อที่ 1-3 อย่าง
ต่อเนื่อง
96
ท่าออกกำ�ลังกายที่ 10 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและ
แบมือทั้งสองข้าง
	 2.	เมื่อก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า ให้ใช้ส้นเท้าขวา
แตะพื้น 1 ครั้ง ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงแขนทั้ง
สองข้างไปทางด้านซ้าย
	 3.	เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ให้ใช้ส้นเท้าซ้าย
แตะพื้น 1 ครั้ง ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงแขนทั้ง
สองข้างไปทางด้านขวา
	 4.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่
11 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดย
ให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว
และแบมือทั้งสองข้าง
	 2.	เมื่อก้าวเท้าไปทางด้านขวา 4 ก้าว (ขวา-ซ้าย-
ขวา-ซ้าย) จากนั้นก้าวเท้าสลับขวาซ้าย 3 จังหวะ ไป
ข้างหน้า โดยที่แต่ละครั้งของการก้าวเท้าจะใช้ส้นเท้า
แตะพื้น
	 (ท่าออกกำ�ลังกายที่ 11 ก้าวเท้าไปทางด้านขวา
4 ก้าว (ขวา-ซ้าย-ขวา-ซ้าย)
	 (ท่าออกกำ�ลังกายที่ 11 เมื่อก้าวเท้าขวาซ้าย
สลับกันไปข้างหน้าจะใช้ส้นเท้าแตะพื้น)
	 3.	เมื่อก้าวเท้าไปทางด้านซ้าย 4 ก้าว (ซ้าย-
ขวา-ซ้าย-ขวา) จากนั้นก้าวเท้าสลับซ้ายขวา 3 จังหวะ
ไปข้างหน้า โดยที่แต่ละครั้งของการก้าวเท้าจะใช้ส้น
เท้าแตะพื้น
	 4.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 12 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและ
กำ�มือทั้งสองข้าง
	 2.	เมื่อก้าวเท้าซ้ายขวาสลับกันไปข้างหน้าและ
ใช้ส้นเท้าแตะ ในขณะเดียวกัน ใช้มือทั้งสองข้างชก
ลมไปข้างหน้า
	 3.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-2 อย่างต่อเนื่อง
97
ท่าออกกำ�ลังกายที่ 13 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	นำ�มือทั้งสองข้างจับที่เอว
	 2	เมื่อบิดตัวไปทางด้านซ้าย ให้ก้าวเท้าซ้าย
เฉียงไปด้านข้าง เช่นเดียวกัน เมื่อบิดตัวไปทางด้าน
ขวา ให้ก้าวเท้าขวาเฉียงไปด้านข้าง
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	 3.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-2 อย่างต่อเนื่อง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 14 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่
	 2.	หมุนตัวไปทางด้านขวา 45 องศา และก้าว
เท้าซ้ายไปแตะพื้น
	 3.	หมุนตัวไปทาง
ด้านซ้าย 45 องศา และ
ก้าวเท้าขวาไปแตะพื้น
	 4.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่
1-3 อย่างต่อเนื่อง
	
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 15 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้
มีการแปรขบวน โดยให้ผู้ออกกำ�ลังกายทุกคนมายืน
เรียงแถวตรง)
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและกำ�
มือทั้งสองข้าง
	 2.	เมื่อก้าวเท้าซ้ายขวาสลับกันไปข้างหน้าและ
ใช้ส้นเท้าแตะ ในขณะเดียวกัน ใช้มือทั้งสองข้างชก
ลมไปข้างหน้า
	 3.	มีการเปลี่ยนจากกำ�มือทั้งสองข้างเป็นแบมือ
ทั้งสองข้าง และเมื่อก้าวขาขวาออกไป จะกางมือออก
เช่นเดียวกัน เมื่อก้าวขาซ้ายออกไป จะกางมือออก
ซึ่งผู้ออกกำ�ลังกายจะทำ�ก้าวสลับด้านกันไป เช่น
ผู้ออกกำ�ลังกายคนที่ 1 ก้าวเท้าขวาออกไป ผู้ออกกำ�ลังกาย
คนที่สอง 2 ก้าวขาซ้ายออกไป ทำ�สลับแบบนี้ไปเรื่อยๆ
จนถึงคนสุดท้าย
	 4.	ผู้ออกกำ�ลังกายทุกคน
จะกลับไปตำ�แหน่งเดิม โดยการ
เปลี่ยนท่าออกกำ�ลังกายเป็นเมื่อ
ก้าวเท้าซ้ายขวาสลับกันไปข้าง
หน้าและใช้ส้นเท้าแตะ ในขณะ
เดียวกัน ใช้มือทั้งสองข้างชกลม
ไปข้างหน้า
98
ท่าออกกำ�ลังกายที่ 16 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและ
กำ�มือทั้งสองข้าง
	 2.	ก้าวเท้าซ้ายขวาไปข้างหน้า อย่างละ 1
ก้าว ในขณะเดียวกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า
ให้เหวี่ยงแขนไปทางด้านซ้ายขวา จากนั้นก้าวเท้าขวา
ซ้ายเฉียงถอยหลัง อย่างละ 1 ก้าว ในขณะเดียวกัน
ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า ให้เหวี่ยงแขนไปทาง
ด้านซ้ายขวา
	 (ท่าที่ 16 ก้าวเท้าซ้ายขวาไปข้างหน้า อย่างละ
1 ก้าว ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงแขนไปทางด้านซ้าย
ขวา)
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 17และวิธีปฏิบัติ
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่
	 2.	ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 3 จังหวะ และใช้
ปลายเท้าแตะพื้น ต่อจากนั้น ให้ยกเข่าซ้ายขึ้นเอียง
ไปด้านซ้าย จากนั้นก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 3 ครั้ง
และใช้ปลายเท้าแตะพื้น ต่อจากนั้น ให้ยกเข่าขวา
ขึ้นเอียงไปด้านขวา
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 18 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	กำ�มือทั้งสองข้าง
	 2.	ก้าวเท้าไปด้านซ้ายขวา สลับกันด้านละ 2
ก้าว และเหวี่ยงแขนทั้งสองข้างไปในทิศทางเดียวกัน
และทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า
99
3.	ใช้การก้าวเท้าสลับไปด้านซ้ายและขวา
อย่างละ 2 ก้าว และเหวี่ยงแขนทั้งสองข้างไปในทิศทาง
เดียวกับการก้าวเท้า โดยมีลักษณะการเคลื่อนไหว
ดังรูป
(ท่านี้มีการเคลื่อนไหวดังรูป)
(ท่านี้มีการเคลื่อนไหวดังรูป)
	
	
	
	
	
	
	
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 19 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่
	 2.	เดินไปข้างหน้าเฉียงไปด้านซ้าย โดยที่ก้าว
เท้าซ้ายขวาสลับกัน 4 จังหวะ และยกเข่าขวาซ้าย
สลับกัน 4 จังหวะ เช่นเดียวกัน เดินไปข้างหน้าเฉียง
ไปด้านขวา โดยที่ก้าวเท้าขวาซ้ายสลับกัน 4 จังหวะ
และยกเข่าซ้ายขวาสลับกัน 4 จังหวะ
	 3.	ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-2 อย่างต่อเนื่อง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 20 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	ท่านี้ใช้มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และ
ย่ำ�เท้าอยู่กับที่
100
2.	เปลี่ยนท่าเป็น ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า และ
ให้เหวี่ยงแขนขวาไปข้างหน้า ในทิศทางเดียวกับการ
ก้าวเท้า ในขณะเดียวกัน เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า
และให้เหวี่ยงแขนซ้ายไปข้างหน้า
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 21 และวิธีปฏิบัติ
	 1.	มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่
	 2.	ก้าวเท้าขวาซ้ายเฉียงไปด้านหลังอย่างละ
1 ก้าว เคลื่อนไหวเหมือนรูปตัว V คว่ำ� จากนั้นก้าว
เท้าทั้งสองข้างกลับมาที่ตำ�แหน่ง
	 3.	ก้าวเท้าขวาซ้ายเฉียงไปด้านหน้าอย่างละ
1 ก้าว เคลื่อนไหวเหมือนรูปตัว V จากนั้นก้าวเท้า
ทั้งสองข้างกลับมาที่ตำ�แหน่ง
	 ท่าออกกำ�ลังกายที่ 22 และวิธีปฏิบัติ (ลักษณะ
ของท่าจะช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังจากการ
ออกกำ�ลังกาย)
	 1.	พนมมือ และย่ำ�เท้าอยู่กับที่
							
	 2.	ยกมือขึ้น พร้อมทั้งให้กางมือทั้งสองข้างออก
จากนั้นมาสู่ท่าพนมมือ
	 3.	พนมมือ และชูมือขึ้น จากนั้นกางมือทั้งสอง
ข้างออก
101

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

Royal Native's Community Profile
Royal Native's Community Profile Royal Native's Community Profile
Royal Native's Community Profile
 
Curriculum For Teaching (Summer)
Curriculum For Teaching (Summer)Curriculum For Teaching (Summer)
Curriculum For Teaching (Summer)
 
Jofra leo
Jofra leoJofra leo
Jofra leo
 
Golf Courses
Golf CoursesGolf Courses
Golf Courses
 
Project 1: Chipotle Buyer Persona Overview
Project 1: Chipotle Buyer Persona OverviewProject 1: Chipotle Buyer Persona Overview
Project 1: Chipotle Buyer Persona Overview
 
Act14
Act14Act14
Act14
 

Similar to Act13 (7)

Act17
Act17Act17
Act17
 
Act7
Act7Act7
Act7
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act15
Act15Act15
Act15
 
Act20
Act20Act20
Act20
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 
ทันตสุขภาพผู้พิการตำบลโคกทราย ป่าบอน พัทลุง
ทันตสุขภาพผู้พิการตำบลโคกทราย ป่าบอน พัทลุงทันตสุขภาพผู้พิการตำบลโคกทราย ป่าบอน พัทลุง
ทันตสุขภาพผู้พิการตำบลโคกทราย ป่าบอน พัทลุง
 

More from Piyawat Katewongsa (13)

Act19
Act19Act19
Act19
 
Act12
Act12Act12
Act12
 
Act11
Act11Act11
Act11
 
Act10
Act10Act10
Act10
 
Act9
Act9Act9
Act9
 
Act8
Act8Act8
Act8
 
Act6
Act6Act6
Act6
 
Act5
Act5Act5
Act5
 
Intro
IntroIntro
Intro
 
Act4
Act4Act4
Act4
 
Act3
Act3Act3
Act3
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
Act1
Act1Act1
Act1
 

Act13

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : องค์การบริหารส่วนตำ�บล ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา ที่มาของกิจกรรม องค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมือง อำ�เภอ ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา มีประชากรจำ�นวน 7,650 คน มีพื้นที่ 8 หมู่บ้าน ซึ่งมีทั้งนับถือศาสนาพุทธ และ อิสลาม และมีชนพื้นเมือง ซึ่งภาษาถิ่นเรียกว่าชาวเล หรือชาวมอร์แกน อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 6 บางส่วน ซึ่งหลังเกิดเหตุการณ์สึนามิ ได้มีการฟื้นฟู ประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ประเพณีอย่างหนึ่ง ที่มีการฟื้นฟูคือประเพณีการรำ�รองเง็ง ซึ่งในปัจจุบัน หน่วยงานมูลนิธิของต่างประเทศ โรงเรียนชาวไทย ใหม่และองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมืองได้หัน มาฟื้นฟูโดยองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมือง ได้บรรจุในแผนพัฒนาตำ�บล 3 ปีและตั้งงบ ประมาณในการฟื้นฟูอนุรักษ์เป็นประจำ�ทุกที แต่ยัง ไม่เป็นรูปธรรมมากนัก การรำ�รองเง็งเป็นการรำ�ที่ใช้ อวัยวะทุกส่วนของร่างกายไม่ว่าจะเป็นมือ แขน ขา เอว และสะโพก ซึ่งเป็นการออกกำ�ลังกายได้ดีประกอบ กับจากการศึกษาข้อมูลปัญหาสุขภาพของประชาชนใน ตำ�บลท้ายเหมือง มีปัญหาในเรื่องของปัญหาปวดเมื่อย ปวดกล้ามเนื้อ เพราะไม่ได้ออกกำ�ลังกาย ทางองค์กร บริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมืองจึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริม ให้ประชาชนหันมาดูแลสุขภาพ ก็จะสามารถแก้ไข ปัญหาสุขภาพดังกล่าวได้ ทางองค์การบริหารส่วน ตำ�บลท้ายเหมืองพิจารณาแล้วเห็นว่า หากได้มีการ ประยุกต์ประเพณีการรำ�รองเง็ง ซึ่งเป็นการรำ�ที่ใช้ อวัยวะทุกส่วนในการรำ� นำ�มาประยุกต์ โดยการปรับ ท่ารำ� ปรับความเร็ว ความช้าของท่ารำ�ก็จะสามารถ ใช้เป็นท่าในการออกกำ�ลังกายสำ�หรับประชาชนได้ จึง ได้เสนอโครงการรำ�รองเง็งเพื่อสุขภาพและอนุรักษ์ วัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อหาแกนนำ�และเครือข่ายในการ ออกกำ�ลังกายเพื่ออนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ต่อไป แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม กิจกรรมรำ�รองเง็งเพื่อสุขภาพของตำ�บลท้ายเหมือง จังหวัดพังงานั้น มีกระบวนการทำ�งานกิจกรรมที่เริ่ม จากการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน และแต่งตั้งคณะ ทำ�งานของโครงการเป็นขั้นตอนแรก เพื่อเป็นการ ขอความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงเริ่มทำ�การ ออกแบบท่ารำ�และประยุกต์ท่ารำ�ให้มีความเหมาะสม กับวัย และมีเอกลักษณ์เชิงพื้นที่ของตน เมื่อมีท่ารำ� เบื้องต้นแล้วจึงได้จัดให้มีเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อนำ�เสนอท่ารำ�ดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ร่วมกันวิพากษ์และปรับปรุงพัฒนาท่ารำ�ดังกล่าว ให้ตรงตามความต้องการของทุกคน หลังจากนั้นจึง มีการฝึกอบรมวิทยากรเพื่อถ่ายทอดให้กับแกนนำ�ทั้ง 8 หมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านทางการประชาสัมพันธ์ เพื่อชักชวนให้แต่ละพื้นที่เข้าร่วมโครงการ หลังจาก ได้แกนนำ�ในการดำ�เนินกิจกรรมแล้ว จึงเริ่มที่จะนำ� กิจกรรมดังกล่าวไปปฏิบัติในพื้นที่ และเข้าสู่การจัด ให้มีการประกวด “รองเง็งบิคเพื่อสุขภาพ” ตามด้วย การติดตามและประเมินผลตามลำ�ดับ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการออกกำ�ลังกายควบคู่กับการ อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น 2. เพื่อสืบทอดประเพณีการรำ�รองเง็งให้ตกทอด สู่รุ่นลูกหลานต่อไป 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง เป้าหมายของกิจกรรม 1. เด็ก เยาวชน ประชาชน และผู้สูงอายุใน เขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้ายเหมืองร้อยละ 80 มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง 2. มีแกนนำ�ในพื้นที่ที่เป็นแกนนำ�ในการรำ�รองเง็ง เพื่อสุขภาพหมู่ละ 10 คน 3. โรงเรียนในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลท้าน เหมือง จำ�นวน 8 โรงเรียนและหน่วยงานสาธารณสุข รำ�รองเง็งบิค
  • 3. ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ 1. เกิดการออกกำ�ลังกายในรูปแบบอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น 2. ทำ�ให้เด็ก เยาวชน ประชาชน และผู้สูงอายุ มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง 3. มีแกนนำ�ออกกำ�ลังกายที่มีความรู้ความสามารถ ลงพื้นที่เพื่อขยายผลได้ จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน กลุ่มผู้เล่น : เด็ก วัยรุ่น วัยกลางคน ผู้สูงอายุ สถานที่ : สถานที่กว้างๆ หรือบริเวณโล่งๆ อุปกรณ์ที่ใช้ - ผ้าคลุมไหล่บางๆ - ถุงเท้ายาว - รองเท้าผ้าใบ (สำ�หรับออกกำ�ลังกาย) ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย มีดังนี้ รำ�รองเง็งบิค เป็นการผสมผสานระหว่างท่ารำ� รองเง็ง ซึ่งเป็นศิลปะพื้นบ้านทางภาคใต้กับท่ากายบริหาร แบบแอโรบิค โดยการนำ�ท่าทางการประกอบอาชีพ ร่อนแร่ และกรีดยางซึ่งเป็นวิถีชีวิตของชาวบ้าน มาประยุกต์ใช้เป็นท่ารำ� โดยจะใช้อวัยวะส่วนขาและ แขนในการออกกำ�ลังกาย และใช้ดนตรีประกอบการรำ� ที่มีจังหวะเร็วและสนุกสนานและมีความทันสมัย เริ่ม ด้วยท่าเต้นแบบเบาๆ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ของร่างกาย เช่น ท่าการเดินโยกตัวไปมาตามจังหวะ การยืดลำ�ตัว การเหวี่ยงแขน เป็นต้น ประกอบด้วย ท่ารำ�ทั้งหมด 22 ท่า ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละท่า ออกกำ�ลังกายดังนี้ ท่าออกกำ�ลังกายที่ 1 และวิธีปฏิบัติ (ท่าเตรียม พร้อมก่อนออกกำ�ลังกาย) 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และเท้าทั้ง สองข้างยืนชิดติดกัน 2. ก้าวไปข้างหน้าโดยใช้ส้นเท้าขวาซ้าย สลับ กัน พร้อมทั้งบิดตัวไปในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงขวาซ้ายสลับกัน ในทิศทาง เดียวกับการก้าว 3. ก้าวส้นเท้าขวาซ้ายไปข้างหน้า สลับกัน พร้อม ทั้งบิดตัวไปในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า และให้เหวี่ยง ซ้ายขวาสลับกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า 93
  • 4. ท่าออกกำ�ลังกายที่ 2 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้จะ เป็นการออกกำ�ลังกายโดยใช้แขน หัวไหล่ และข้อมือ) 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และยืนแยก เท้าทั้งสองข้างให้มีความกว้างเท่ากับช่วงไหล่ หรือ กว้างกว่าเล็กน้อย 2. ชูผ้าขึ้นเหนือศีรษะโดยให้ผ้าตึง และเหวี่ยง แขนทั้งสองข้างไปมาสลับซ้ายขวา ด้านละ 3 จังหวะ ท่าออกกำ�ลังกายที่ 3 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้จะ เป็นการออกกำ�ลังกายโดยใช้แขน หัวไหล่ และข้อมือ) 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และนำ�ผ้า คลุมไหล่มาไว้บริเวณระดับหน้าอก ให้แขนทั้งสอง ข้างขนานกับพื้น พร้อมทั้งยืนแยกเท้าทั้งสองข้างให้ มีความกว้างเท่ากับช่วงไหล่ หรือกว้างกว่าเล็กน้อย 2. ดึงผ้าให้ตึง และเหวี่ยงแขนทั้งสองข้างไปมา สลับซ้ายขวา ด้านละ 8 จังหวะ ท่าออกกำ�ลังกายที่ 4 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้มีการ แปรขบวน โดยแต่ละกลุ่มจะเดินเรียงแถวกัน และ ก้าวเดินไปข้างหน้าในลักษณะวงกลม) 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และนำ�ผ้า คลุมไหล่มาไว้บริเวณระดับหน้าอก ให้แขนทั้งสอง ข้างขนานกับพื้น พร้อมทั้งยืนแยกเท้าทั้งสองข้างให้ มีความกว้างเท่ากับช่วงไหล่ หรือกว้างกว่าเล็กน้อย 2. เดินไปข้างหน้าโดยใช้ส้นเท้าขวาซ้าย สลับกัน พร้อมทั้งบิดตัวไปในทิศทางเดียวกับการ ก้าวเท้า ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงขวาซ้ายสลับกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าว 94
  • 5. 3. กลับมาอยู่ที่ตำ�แหน่งเดิม และใช้ส้นเท้าขวา ซ้ายก้าวไปข้างหน้า สลับกัน พร้อมทั้งบิดตัวไปใน ทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยง ขวาซ้ายสลับกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า 4. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และก้าวเดิน โดยใช้ส้นเท้าขวาและซ้ายสลับกันอย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 5 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว และ กำ�มือทั้งสองข้าง 2. สับแขนขึ้นและลงสลับขวาซ้าย พร้อมทั้งยืน โยกไปมาสลับขวาซ้าย โดยที่ เมื่อโยกไปด้านใดให้เปิด ส้นเท้าในด้านนั้น ท่าออกกำ�ลังกายที่ 6 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว และ กำ�มือทั้งสองข้าง 2. เมื่อใช้ปลายเท้าซ้ายก้าวไปด้านหลัง ให้เหวี่ยง แขนทั้งสองข้างขึ้น 3. เมื่อใช้ปลายเท้าขวาก้าวไปด้านหลัง ให้เหวี่ยง แขนทั้งสองข้างลง 4. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 7 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว และ กำ�มือทั้งสองข้าง 2. เมื่อโยกตัวไปด้านหลัง ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้าง หน้า ใช้ส้นเท้าซ้ายแตะพื้น พร้อมทั้งให้เหวี่ยงแขนทั้ง สองข้างขึ้น 95
  • 6. 3. เมื่อก้าวเท้าขวาไปข้างหลัง และใช้ปลายเท้า ขวาแตะพื้น พร้อมทั้งให้เหวี่ยงแขนทั้งสองข้างลง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 8 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและกำ� มือทั้งสองข้าง 2. ก้าวเท้าขวาไปทางด้านขวา 2 จังหวะ และ ใช้ปลายเท้าขวาแตะพื้น พร้อมทั้ง ให้เหวี่ยงแขนขวา ไปทางด้านขวา 2 จังหวะ 3. ก้าวเท้าซ้ายไปทางด้านซ้าย 2 จังหวะ และ ใช้ปลายเท้าซ้ายแตะพื้น พร้อมทั้งเหวี่ยงแขนซ้าย ไป ทางด้านซ้าย 2 จังหวะ 4. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 9 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและกำ� มือทั้งสองข้าง บิดข้อมือขึ้นและลงตามจังหวะ 2. นำ�มือทั้งสองข้างโค้งเข้าหาลำ�ตัว และใช้ส้น เท้าขวาแตะพื้น 3. นำ�มือทั้งสองข้างโค้งออกจากลำ�ตัว และใช้ส้น เท้าซ้ายแตะพื้น 4. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่าง ต่อเนื่อง 96
  • 7. ท่าออกกำ�ลังกายที่ 10 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและ แบมือทั้งสองข้าง 2. เมื่อก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า ให้ใช้ส้นเท้าขวา แตะพื้น 1 ครั้ง ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงแขนทั้ง สองข้างไปทางด้านซ้าย 3. เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ให้ใช้ส้นเท้าซ้าย แตะพื้น 1 ครั้ง ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงแขนทั้ง สองข้างไปทางด้านขวา 4. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 11 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดย ให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัว และแบมือทั้งสองข้าง 2. เมื่อก้าวเท้าไปทางด้านขวา 4 ก้าว (ขวา-ซ้าย- ขวา-ซ้าย) จากนั้นก้าวเท้าสลับขวาซ้าย 3 จังหวะ ไป ข้างหน้า โดยที่แต่ละครั้งของการก้าวเท้าจะใช้ส้นเท้า แตะพื้น (ท่าออกกำ�ลังกายที่ 11 ก้าวเท้าไปทางด้านขวา 4 ก้าว (ขวา-ซ้าย-ขวา-ซ้าย) (ท่าออกกำ�ลังกายที่ 11 เมื่อก้าวเท้าขวาซ้าย สลับกันไปข้างหน้าจะใช้ส้นเท้าแตะพื้น) 3. เมื่อก้าวเท้าไปทางด้านซ้าย 4 ก้าว (ซ้าย- ขวา-ซ้าย-ขวา) จากนั้นก้าวเท้าสลับซ้ายขวา 3 จังหวะ ไปข้างหน้า โดยที่แต่ละครั้งของการก้าวเท้าจะใช้ส้น เท้าแตะพื้น 4. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 12 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและ กำ�มือทั้งสองข้าง 2. เมื่อก้าวเท้าซ้ายขวาสลับกันไปข้างหน้าและ ใช้ส้นเท้าแตะ ในขณะเดียวกัน ใช้มือทั้งสองข้างชก ลมไปข้างหน้า 3. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-2 อย่างต่อเนื่อง 97
  • 8. ท่าออกกำ�ลังกายที่ 13 และวิธีปฏิบัติ 1. นำ�มือทั้งสองข้างจับที่เอว 2 เมื่อบิดตัวไปทางด้านซ้าย ให้ก้าวเท้าซ้าย เฉียงไปด้านข้าง เช่นเดียวกัน เมื่อบิดตัวไปทางด้าน ขวา ให้ก้าวเท้าขวาเฉียงไปด้านข้าง 3. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-2 อย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 14 และวิธีปฏิบัติ 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ 2. หมุนตัวไปทางด้านขวา 45 องศา และก้าว เท้าซ้ายไปแตะพื้น 3. หมุนตัวไปทาง ด้านซ้าย 45 องศา และ ก้าวเท้าขวาไปแตะพื้น 4. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-3 อย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 15 และวิธีปฏิบัติ (ท่านี้ มีการแปรขบวน โดยให้ผู้ออกกำ�ลังกายทุกคนมายืน เรียงแถวตรง) 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและกำ� มือทั้งสองข้าง 2. เมื่อก้าวเท้าซ้ายขวาสลับกันไปข้างหน้าและ ใช้ส้นเท้าแตะ ในขณะเดียวกัน ใช้มือทั้งสองข้างชก ลมไปข้างหน้า 3. มีการเปลี่ยนจากกำ�มือทั้งสองข้างเป็นแบมือ ทั้งสองข้าง และเมื่อก้าวขาขวาออกไป จะกางมือออก เช่นเดียวกัน เมื่อก้าวขาซ้ายออกไป จะกางมือออก ซึ่งผู้ออกกำ�ลังกายจะทำ�ก้าวสลับด้านกันไป เช่น ผู้ออกกำ�ลังกายคนที่ 1 ก้าวเท้าขวาออกไป ผู้ออกกำ�ลังกาย คนที่สอง 2 ก้าวขาซ้ายออกไป ทำ�สลับแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนถึงคนสุดท้าย 4. ผู้ออกกำ�ลังกายทุกคน จะกลับไปตำ�แหน่งเดิม โดยการ เปลี่ยนท่าออกกำ�ลังกายเป็นเมื่อ ก้าวเท้าซ้ายขวาสลับกันไปข้าง หน้าและใช้ส้นเท้าแตะ ในขณะ เดียวกัน ใช้มือทั้งสองข้างชกลม ไปข้างหน้า 98
  • 9. ท่าออกกำ�ลังกายที่ 16 และวิธีปฏิบัติ 1. งอข้อศอกโดยให้แขนตั้งฉากกับลำ�ตัวและ กำ�มือทั้งสองข้าง 2. ก้าวเท้าซ้ายขวาไปข้างหน้า อย่างละ 1 ก้าว ในขณะเดียวกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า ให้เหวี่ยงแขนไปทางด้านซ้ายขวา จากนั้นก้าวเท้าขวา ซ้ายเฉียงถอยหลัง อย่างละ 1 ก้าว ในขณะเดียวกัน ในทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า ให้เหวี่ยงแขนไปทาง ด้านซ้ายขวา (ท่าที่ 16 ก้าวเท้าซ้ายขวาไปข้างหน้า อย่างละ 1 ก้าว ในขณะเดียวกัน ให้เหวี่ยงแขนไปทางด้านซ้าย ขวา) ท่าออกกำ�ลังกายที่ 17และวิธีปฏิบัติ 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ 2. ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 3 จังหวะ และใช้ ปลายเท้าแตะพื้น ต่อจากนั้น ให้ยกเข่าซ้ายขึ้นเอียง ไปด้านซ้าย จากนั้นก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 3 ครั้ง และใช้ปลายเท้าแตะพื้น ต่อจากนั้น ให้ยกเข่าขวา ขึ้นเอียงไปด้านขวา ท่าออกกำ�ลังกายที่ 18 และวิธีปฏิบัติ 1. กำ�มือทั้งสองข้าง 2. ก้าวเท้าไปด้านซ้ายขวา สลับกันด้านละ 2 ก้าว และเหวี่ยงแขนทั้งสองข้างไปในทิศทางเดียวกัน และทิศทางเดียวกับการก้าวเท้า 99
  • 10. 3. ใช้การก้าวเท้าสลับไปด้านซ้ายและขวา อย่างละ 2 ก้าว และเหวี่ยงแขนทั้งสองข้างไปในทิศทาง เดียวกับการก้าวเท้า โดยมีลักษณะการเคลื่อนไหว ดังรูป (ท่านี้มีการเคลื่อนไหวดังรูป) (ท่านี้มีการเคลื่อนไหวดังรูป) ท่าออกกำ�ลังกายที่ 19 และวิธีปฏิบัติ 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ 2. เดินไปข้างหน้าเฉียงไปด้านซ้าย โดยที่ก้าว เท้าซ้ายขวาสลับกัน 4 จังหวะ และยกเข่าขวาซ้าย สลับกัน 4 จังหวะ เช่นเดียวกัน เดินไปข้างหน้าเฉียง ไปด้านขวา โดยที่ก้าวเท้าขวาซ้ายสลับกัน 4 จังหวะ และยกเข่าซ้ายขวาสลับกัน 4 จังหวะ 3. ปฎิบัติซ้ำ� ข้อที่ 1-2 อย่างต่อเนื่อง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 20 และวิธีปฏิบัติ 1. ท่านี้ใช้มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ และ ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ 100
  • 11. 2. เปลี่ยนท่าเป็น ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า และ ให้เหวี่ยงแขนขวาไปข้างหน้า ในทิศทางเดียวกับการ ก้าวเท้า ในขณะเดียวกัน เมื่อก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า และให้เหวี่ยงแขนซ้ายไปข้างหน้า ท่าออกกำ�ลังกายที่ 21 และวิธีปฏิบัติ 1. มือทั้งสองข้างจับที่ผ้าคลุมไหล่ 2. ก้าวเท้าขวาซ้ายเฉียงไปด้านหลังอย่างละ 1 ก้าว เคลื่อนไหวเหมือนรูปตัว V คว่ำ� จากนั้นก้าว เท้าทั้งสองข้างกลับมาที่ตำ�แหน่ง 3. ก้าวเท้าขวาซ้ายเฉียงไปด้านหน้าอย่างละ 1 ก้าว เคลื่อนไหวเหมือนรูปตัว V จากนั้นก้าวเท้า ทั้งสองข้างกลับมาที่ตำ�แหน่ง ท่าออกกำ�ลังกายที่ 22 และวิธีปฏิบัติ (ลักษณะ ของท่าจะช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังจากการ ออกกำ�ลังกาย) 1. พนมมือ และย่ำ�เท้าอยู่กับที่ 2. ยกมือขึ้น พร้อมทั้งให้กางมือทั้งสองข้างออก จากนั้นมาสู่ท่าพนมมือ 3. พนมมือ และชูมือขึ้น จากนั้นกางมือทั้งสอง ข้างออก 101