SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ความเปนธรรมในสังคม
                                      มนุษยเปนสัตวทอยูเปนสังคม การที่อยูรวมกันก็ยอมมีการ
                                                      ี่                       
                                      ประพฤติปฏิบัติตอกันและกัน รวมทั้งมนุษยแตละคนยอม
                                      มีแนวปฏิบัติของตนเองวา จะกระทําอะไร อยางไร ดวย
                                      เหตุผลอะไร โดยธรรมชาติมนุษยมแนวโนมที่จะใฝหา
                                                                   ี
                                      ความสุข ความสบาย หลีกหนีความทุกขยาก ความลําบาก
และโดยธรรมชาติมนุษยอาจจะปฏิบัติตอผูอนอยางเลวรายหรืออยางเอารัดเอาเปรียบ หากวา
                                       ื่
ตนเองจะไดรับประโยชนหรือความสุขความสบายเปนเครื่องตอบแทนถาทุกคนปฏิบัติเชนนั้น
สังคมก็จะยุงเหยิงวุนวายที่สุดแลวก็คงไมมีใครที่จะอยูไดอยางสุขสงบ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตอง
                    
มีกฎเกณฑรวมกัน การที่จะใหผอื่นเคารพสิทธิของตนเองและไมเบียดเบียนตนเอง ตนก็ตอง
                           ู                                               
เคารพสิทธิของผูอื่นและไมเบียดเบียนผูอื่น ตนเองอยากใหผูอนปฏิบัติตอตนเองอยางไร ก็ตอง
                                                        ื่
ปฏิบัติอยางนั้นตอผูอื่น
                     
ความยุติธรรมเปนแมแบบของแนวทางตางๆ เปนแนวทางในเกณฑการตัดสิน ซึ่งมีกฏหมายเปน
เครื่องมือในการทําหนาที่ ความยุติธรรมนั้นเปนเรืองที่ละเอียดเพราะการที่คนเราจะกําหนดวา
                                                 ่
อะไรคือความดี แลวความดีกับความชัวตางกันตรงไหนเปนเรืองที่ตองวิเคราะหกันอยางละเอียด
                                 ่                    ่
ความยุติธรรม คือ ยุติ และ ธรรม ตีความตามตัวอักษรไดวา เปนธรรมอันนําไปสูความยุติ คือจบ
ลงแหงเรื่องราว ความยุติธรรมก็เหมือนกับประชาธิปไตยคือ ความคิดเห็นของคนสวนมากทีมี
                                                                               ่
ความคิดเห็นอยางเดียวกัน ผลประโยชนที่ไดรับคือผลประโยชนที่กลุมคนไดรับเหมือนกัน คิด
วาเหมือนผลประโยชนของสวนรวมนันแหละ แนนอนวาบางครั้งความยุตธรรมมันตองขัดกับ
                               ่                             ิ
ผลประโยชนของคนกลุมๆหนึ่ง

      ความยุตธรรมเปนตัวกําหนดทิศทางของสังคม ซึ่งความยุติธรรมของแตละสังคมไม
             ิ
เหมือนกัน ยกตัวอยางเชน หากสังคมหนึ่งทุกคนเห็นพองตองกันวา การขโมยของเปนเรืองที่
                                                                               ่
ถูกตอง ถือวายุตธรรม ซึ่งในความเปนจริงแลวความยุติธรรมทีเ่ ปนที่นิยมมากที่สุดเปนความ
                 ิ
ยุติธรรมที่ตองอยูคูกับ คุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนเครืองชวยในการกําหนดกฎเกณฑวาสิ่ง
                                                      ่
ไหนเปนสิ่งที่ดี ถูกตอง และเหมาะสม แลวความยุตธรรมแบบไหนที่คนสวนมากจะยอมรับ
                                               ิ

มนุษยเราโดยกําเนิดลวนแลวแตมีใจเปนธรรมในกนบึ้งของจิตใจไมเรื่องใดก็เรื่องหนึ่ง ไมทาง
ใดก็ทางหนึ่ง ตองการชีวิตสันติสงบสุข ความเปนธรรม ความกาวหนา ความเจริญรุงเรืองของ
เผาพันธุ ตลอดจนมวลมนุษยชาติ ซึ่งเปนความปรารถนาของมนุษยมากบางนอยบาง แตกตางกัน
ไปตามสภาพแวดลอมที่กําหนด สภาพความมันปวนของมนุษยลวนลอมรอบเกิดจากปญหา
                                    ่              
ความไมเปนธรรม ไมวาขอบเขตระหวางประเทศหรือภายในแวนแควนแตกตางกันไป ตาม
สภาพของแตละประเทศแตละเผาพันธุ

" ที่ไหนมีการกดขี่ ที่นนยอมมีการตอสู ที่ไหนไมมีความรู ที่นั้นตองไดรับการศึกษา ที่ไหนยังไม
                       ั้
มีการพัฒนา ที่นนตองมีการเรียกรอง ที่ไหนไมมีความถูกตอง ทีนนตองเรียกรองความเปน
               ั้                                           ่ ั้
ธรรม"
อุดมการณของสังคมที่เกียวของกับ"ความเปนธรรม"มีหลายหลากกระแสความคิด และภายใต
                       ่
อุดมการณดังกลาวทําใหเกิด"เครื่องมือทางสังคม"ในรูปแบบที่หลากหลาย เพือจะนําสังคมไปสู
                                                                      ่
อุดมการณนั้นๆ ซึ่งก็ผลัดกันมีอิทธิพล และมีบทบาทเหนือสังคมในแตละหวงเวลาของ
พัฒนาการของสังคมที่แตกตางในแตละยุคสมัยไมเหมือนกัน เกณฑหรือมาตราฐานความเปน
ธรรมที่เกิดขึ้นภายใตเครืองมือตางๆที่มีอยูในสังคม จะทําอยางไรที่จะใหไปในทางเดียวกัน ใน
                         ่
เวลานี้ มาตราฐานความเปนธรรมตามกฎหมาย นอกจากจะไปไมไดกับมาตรฐานอื่นที่สังคม
ยึดถือแลว ในหลายๆกรณีกลับขัดแยง และในหลายๆกรณีก็ทําใหผิดไปจากที่สังคมคาดหวัง
ดังนั้น การกลาวถึง " ความเปนธรรม "ทางสังคมจึงเปนประเด็นที่มีหลายมิติ และโดยประการ
สําคัญมิไดมีระนาบเดียว มิไดหมายถึงการผูกขาดแตเฉพาะแตบทบาทของรัฐที่อางวามีรฐเพื่อมา
                                                                                ั
ใหความยุตธรรม เทานัน หมายความถึง บทบาทของนักกฎหมายทีจะทําหนาที่ในการบอกวา
          ิ          ้                                ่
อะไรเปนธรรมหรือไมเปนธรรมไมวาจะโดยสายงานอาชีพหรือถูกคาดหวังจากผูคนสวนหนึ่ง
                                                                    
ของสังคมที่ตกอยูภายใตอิทธิพลและมายาคติที่นักกฎหมายสรางขึ้นตามกระแสความเชียวชาญ
                                                                            ่
เฉพาะดาน แตตองการที่จะหมายถึงสังคมทั้งระบบที่ตองหันมาใหความสําคัญกับเรื่องนี้

More Related Content

Similar to ความเป นธรรมในส งคม

ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมPayupoom Yodharn
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมPayupoom Yodharn
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลluckana9
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186CUPress
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าSoraj Hongladarom
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 

Similar to ความเป นธรรมในส งคม (20)

ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาล
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
Q social o net
Q social o netQ social o net
Q social o net
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 

More from Mai New

ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
การพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกันการพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกันMai New
 
การพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกันการพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกันMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมMai New
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมMai New
 

More from Mai New (9)

ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
การพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกันการพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกัน
 
การพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกันการพึ่งพาอาศัยกัน
การพึ่งพาอาศัยกัน
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคม
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคม
 

ความเป นธรรมในส งคม

  • 1. ความเปนธรรมในสังคม มนุษยเปนสัตวทอยูเปนสังคม การที่อยูรวมกันก็ยอมมีการ ี่  ประพฤติปฏิบัติตอกันและกัน รวมทั้งมนุษยแตละคนยอม มีแนวปฏิบัติของตนเองวา จะกระทําอะไร อยางไร ดวย เหตุผลอะไร โดยธรรมชาติมนุษยมแนวโนมที่จะใฝหา ี ความสุข ความสบาย หลีกหนีความทุกขยาก ความลําบาก และโดยธรรมชาติมนุษยอาจจะปฏิบัติตอผูอนอยางเลวรายหรืออยางเอารัดเอาเปรียบ หากวา ื่ ตนเองจะไดรับประโยชนหรือความสุขความสบายเปนเครื่องตอบแทนถาทุกคนปฏิบัติเชนนั้น สังคมก็จะยุงเหยิงวุนวายที่สุดแลวก็คงไมมีใครที่จะอยูไดอยางสุขสงบ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตอง  มีกฎเกณฑรวมกัน การที่จะใหผอื่นเคารพสิทธิของตนเองและไมเบียดเบียนตนเอง ตนก็ตอง  ู  เคารพสิทธิของผูอื่นและไมเบียดเบียนผูอื่น ตนเองอยากใหผูอนปฏิบัติตอตนเองอยางไร ก็ตอง   ื่ ปฏิบัติอยางนั้นตอผูอื่น  ความยุติธรรมเปนแมแบบของแนวทางตางๆ เปนแนวทางในเกณฑการตัดสิน ซึ่งมีกฏหมายเปน เครื่องมือในการทําหนาที่ ความยุติธรรมนั้นเปนเรืองที่ละเอียดเพราะการที่คนเราจะกําหนดวา ่ อะไรคือความดี แลวความดีกับความชัวตางกันตรงไหนเปนเรืองที่ตองวิเคราะหกันอยางละเอียด ่ ่ ความยุติธรรม คือ ยุติ และ ธรรม ตีความตามตัวอักษรไดวา เปนธรรมอันนําไปสูความยุติ คือจบ ลงแหงเรื่องราว ความยุติธรรมก็เหมือนกับประชาธิปไตยคือ ความคิดเห็นของคนสวนมากทีมี ่ ความคิดเห็นอยางเดียวกัน ผลประโยชนที่ไดรับคือผลประโยชนที่กลุมคนไดรับเหมือนกัน คิด วาเหมือนผลประโยชนของสวนรวมนันแหละ แนนอนวาบางครั้งความยุตธรรมมันตองขัดกับ ่ ิ ผลประโยชนของคนกลุมๆหนึ่ง ความยุตธรรมเปนตัวกําหนดทิศทางของสังคม ซึ่งความยุติธรรมของแตละสังคมไม ิ เหมือนกัน ยกตัวอยางเชน หากสังคมหนึ่งทุกคนเห็นพองตองกันวา การขโมยของเปนเรืองที่ ่ ถูกตอง ถือวายุตธรรม ซึ่งในความเปนจริงแลวความยุติธรรมทีเ่ ปนที่นิยมมากที่สุดเปนความ ิ
  • 2. ยุติธรรมที่ตองอยูคูกับ คุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนเครืองชวยในการกําหนดกฎเกณฑวาสิ่ง  ่ ไหนเปนสิ่งที่ดี ถูกตอง และเหมาะสม แลวความยุตธรรมแบบไหนที่คนสวนมากจะยอมรับ ิ มนุษยเราโดยกําเนิดลวนแลวแตมีใจเปนธรรมในกนบึ้งของจิตใจไมเรื่องใดก็เรื่องหนึ่ง ไมทาง ใดก็ทางหนึ่ง ตองการชีวิตสันติสงบสุข ความเปนธรรม ความกาวหนา ความเจริญรุงเรืองของ เผาพันธุ ตลอดจนมวลมนุษยชาติ ซึ่งเปนความปรารถนาของมนุษยมากบางนอยบาง แตกตางกัน ไปตามสภาพแวดลอมที่กําหนด สภาพความมันปวนของมนุษยลวนลอมรอบเกิดจากปญหา ่  ความไมเปนธรรม ไมวาขอบเขตระหวางประเทศหรือภายในแวนแควนแตกตางกันไป ตาม สภาพของแตละประเทศแตละเผาพันธุ " ที่ไหนมีการกดขี่ ที่นนยอมมีการตอสู ที่ไหนไมมีความรู ที่นั้นตองไดรับการศึกษา ที่ไหนยังไม ั้ มีการพัฒนา ที่นนตองมีการเรียกรอง ที่ไหนไมมีความถูกตอง ทีนนตองเรียกรองความเปน ั้ ่ ั้ ธรรม" อุดมการณของสังคมที่เกียวของกับ"ความเปนธรรม"มีหลายหลากกระแสความคิด และภายใต ่ อุดมการณดังกลาวทําใหเกิด"เครื่องมือทางสังคม"ในรูปแบบที่หลากหลาย เพือจะนําสังคมไปสู ่ อุดมการณนั้นๆ ซึ่งก็ผลัดกันมีอิทธิพล และมีบทบาทเหนือสังคมในแตละหวงเวลาของ พัฒนาการของสังคมที่แตกตางในแตละยุคสมัยไมเหมือนกัน เกณฑหรือมาตราฐานความเปน ธรรมที่เกิดขึ้นภายใตเครืองมือตางๆที่มีอยูในสังคม จะทําอยางไรที่จะใหไปในทางเดียวกัน ใน ่ เวลานี้ มาตราฐานความเปนธรรมตามกฎหมาย นอกจากจะไปไมไดกับมาตรฐานอื่นที่สังคม ยึดถือแลว ในหลายๆกรณีกลับขัดแยง และในหลายๆกรณีก็ทําใหผิดไปจากที่สังคมคาดหวัง ดังนั้น การกลาวถึง " ความเปนธรรม "ทางสังคมจึงเปนประเด็นที่มีหลายมิติ และโดยประการ สําคัญมิไดมีระนาบเดียว มิไดหมายถึงการผูกขาดแตเฉพาะแตบทบาทของรัฐที่อางวามีรฐเพื่อมา ั ใหความยุตธรรม เทานัน หมายความถึง บทบาทของนักกฎหมายทีจะทําหนาที่ในการบอกวา ิ ้ ่ อะไรเปนธรรมหรือไมเปนธรรมไมวาจะโดยสายงานอาชีพหรือถูกคาดหวังจากผูคนสวนหนึ่ง  ของสังคมที่ตกอยูภายใตอิทธิพลและมายาคติที่นักกฎหมายสรางขึ้นตามกระแสความเชียวชาญ ่ เฉพาะดาน แตตองการที่จะหมายถึงสังคมทั้งระบบที่ตองหันมาใหความสําคัญกับเรื่องนี้