SlideShare a Scribd company logo
1 of 156
Download to read offline
การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ :
ข้อเรียกร้องต่อการแสดงความรับผิดชอบภายใต้พันธกรณีระหว่าง
                                                      ประเทศ
  ที่ประเทศไทยมีภาระหน้าที่ในการนําตัวฆาตกรเข้าสู่กระบวนการ
                                                     ยุติธรรม




          สมุดปกขาวโดยสํานักกฎหมาย Amsterdam & Peroff
บทคัดย่อ


เป็นเวลากว่า 4 ปีทประชาชนชาวไทยตกเป็นเหยือของการละเมิดสิทธิ
                   ่ี                         ่
ขันพืนฐานอย่างต่อเนืองและเป็นระบบ สิทธิดังกล่าวคือสิทธิในการ
  ้ ้                 ่
กําหนดทางเลือกของตนผ่านการเลือกตั้งอย่างแท้จริงที่ดํารงอยู่บน
ฐานของเจตจํานงของประชาชน การโจมตีระบอบประชาธิปไตยเริม         ่
ขึ้นด้วยการวางแผนและได้รับการลงมือโดยการทํารัฐประหารโดย
ทหารเมือปี 2549 เป็นความร่วมมือของสมาชิกของคณะองคมนตรี ผู้
        ่
บัญชาการทหารของไทยในการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
ตามระบอบประชาธิปไตยของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร หัวหน้า
พรรคไทยรักไทย ซึ่งชนะการเลือกตั้งมาถึง 3 สมัยติดต่อกัน ทั้งในปี
2544, 2548 และ 2549 การรัฐประหารในปี 2549 ถือเป็นการเริ่มต้น
ในการพยายามที่จะฟื้นฟูอํานาจในการชี้นําของกลุ่มทุนเก่า นาย
ทหารระดับสูง ข้าราชการระดับสูง และกลุมองคมนตรี (“กลุมอํานาจ
                                       ่               ่
เก่า”) โดยทําลายล้างพลังจากการเลือกตั้งซึ่งได้กลายเป็นสิ่งท้าทาย
อํานาจของพวกเขาอย่างสําคัญและเป็นประวัตการณ์ ระบอบทีการ
                                            ิ              ่
รัฐประหารตั้งขึ้นได้เข้าควบคุมหน่วยงานต่างๆของรัฐบาล ยุบพรรค
ไทยรักไทย และตัดสิทธิทางการเมืองของแกนนําพรรคเป็นเวลา 5 ปี
เมื่อพรรคที่สืบทอดจากพรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งใน
ปลายปี พ.ศ. 2550 ก็กลับถูกศาลเฉพาะกิจ (ad hoc court) อัน
ประกอบไปด้วยผู้พิพากษาที่แต่งตั้งโดยผู้ทําการรัฐประหารตัดสินให้
ยุบพรรคนั้นอีก และเปิดทางให้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขึ้นสู่ตําแหน่ง
นายกรัฐมนตรี หลังจากนั้น รัฐบาลอภิสิทธิ์ก็ถูกกดดันให้ต้องใช้
มาตรการกดขี่เพื่อรักษาฐานอํานาจอันไม่ชอบธรรมและปราบการ
เคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยที่ก่อตัวขึ้นเพื่อตอบโต้การรัฐประหาร
โดยทหารเมื่อปี 2549 และการรัฐประหารโดยศาลในปี 2551 หนึ่งใน
วิธการกดขีกคอการทีรฐบาลได้บล็อกเวปไซท์ประมาณ 50,000 เวป
   ี        ่ ็ ื     ่ ั
ปิดสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมของฝ่ายต่อต้านรัฐบาล และกักขังคน
จํานวนหนึ่งภายใต้กฎหมายหมิ่นพระบรมราชานุภาพอันเลื่องชื่อของ
ไทย และภายใต้พ.ร.บ.การกระทําผิดทางคอมพิวเตอร์ที่โหดร้ายพอๆ
กัน เมือเผชิญกับการชุมนุมประท้วงโดยมวลชนทีทาทายอํานาจของ
       ่                                          ่ ้
รัฐบาล รัฐบาลก็ได้เชื้อเชิญให้กองทัพเข้ามาจัดการ และได้ระงับ
เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญโดยการนําพ.ร.บ.ความมันคงในราช   ่
อาณาจักร พร้อมทั้งพระราชกําหนดการบริหารราชการใน
สถานการณ์ฉุกเฉินซึ่งเข้มงวดยิ่งกว่ามาใช้ ตังแต่วนที่ 7 เมษายน
                                             ้        ั
2553 เป็นต้นมา รัฐบาลทหารชุดใหม่ของประเทศในนามของศูนย์
อํานวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ได้เข้ามาปกครอง
ประเทศโดยไม่มีมาตรการตรวจสอบความรับผิดใดๆ ภายใต้การ
ประกาศ “สถานการณ์ฉุกเฉิน” ที่ถูกประกาศอย่างไม่เหมาะสม ถูก
นํามาบังคับใช้อย่างไม่สอดคล้องกับความรุนแรงของสถานการณ์
และใช้อย่างต่อเนืองไม่มกาหนดเพือปิดปากการคัดค้านใดๆ ทีมตอ
                  ่       ี ํ    ่                            ่ ี ่
รัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง นีเป็นอีกครังทีกลุมอํานาจเก่าไม่
                                   ่           ้ ่ ่
อาจปฏิเสธข้อเรียกร้องเพื่อการปกครองตนเองของประชาชนชาว
ไทยได้โดยไม่ต้องหันไปหาระบอบเผด็จการทหาร

     ในเดือนมีนาคม 2553 เกิดการประท้วงต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่
ในกรุงเทพฯ โดยกลุ่มคนเสื้อแดง หรือที่เรียกว่า “แนวร่วม
ประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) การชุมนุมของคน
เสื้อแดงดําเนินมาจนถึงวันที่ 66 ในวันที่ 19 พฤษภาคม เมื่อรถหุ้ม
เกราะบดขยี้แนวกั้นที่ทําขึ้นชั่วคราวรอบสี่แยกราชประสงค์ใน
กรุงเทพฯ และทะลวงค่ายประท้วงของคนเสือแดง หลายสัปดาห์กอน
                                            ้                    ่
หน้านั้น เมือวันที่ 10 เมษายน กองกําลังทหารพยายามสลายการ
            ่
ชุมนุมของกลุมเสือแดงทีสะพานผ่านฟ้าแต่ลมเหลว ยังผลให้มีผู้เสีย
                ่   ้     ่                   ้
ชีวต 27 ราย และในการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ระหว่าง
    ิ
วันที่ 13 -19 พฤษภาคม มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 55 ราย นับถึงเวลาที่
บริเวณที่ชุมนุมได้ถูกเคลียร์เรียบร้อย อาคารพาณิชย์สําคัญๆ สอง
สามแห่งยังคงมีควันกรุ่น มีผู้เสียชีวิตไปมากกว่า 80 คน และผู้ที่ถูก
กล่าวหาว่าเป็นแกนนําการชุมนุมมากกว่า 50 คนอาจเผชิญกับโทษ
ประหารชีวตจากข้อหา “ก่อการร้าย” ผู้ชุมนุมหลายร้อยคนยังคงถูก
              ิ
ควบคุมตัวข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณา
จักรและพ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึ่งรัฐไทย
นํามาใช้เป็นเครืองมือในการทําให้การชุมนุมทางการเมืองทีชอบ
                  ่                                       ่
ธรรมเป็นเรื่องผิดกฎหมาย

       ประเทศไทยมีพันธกรณีตามกฎหมายระหว่างประเทศ และ
พันธกรณีตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights -
ICCPR) ในการสืบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรงทั้งหลาย
ที่เกิดขึ้นระหว่างการชุมนุมของคนเสื้อแดง รวมถึงต้องดําเนินคดีกับ
เจ้าหน้าทีทหารและพลเรือนซึงอยูภายใต้สายการบังคับบัญชาสําหรับ
            ่                ่ ่
อาชญากรรมอย่างการสังหารพลเรือนกว่า 80 รายโดยพลการและ
ตามอําเภอใจในกรุงเทพฯ ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553
ด้วย ข้อเท็จจริงต่างๆ ปรากฏอย่างชัดเจนว่ามีการละเมิดกฎหมาย
ระหว่างประเทศด้วยการใช้กองกําลังทหารอย่างเกินความจําเป็น มี
การกักขังโดยพลการต่อเนื่องเป็นเวลานาน และการทําให้หาย
สาบสูญ และยังมีระบบการประหัตประหารทางการเมืองที่ปฏิเสธ
เสรีภาพในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและในการแสดงออกของ
พลเมือง รวมถึงกลุ่มคนเสื้อแดง มีหลักฐานว่ามีการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนอย่างร้ายแรงเพียงพอที่จะดําเนินการสืบสวนข้อเท็จจริง
อย่างเป็นอิสระและเป็นกลาง เพื่อที่ผู้ที่กระทําความผิดกฎหมาย
อาญาระหว่างประเทศจะถูกนําตัวเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม

       นอกจากนี้ การใช้กองกําลังทหารในการปราบปรามกลุ่มคน
เสือแดงในเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553 ยังจัดเป็นการประทุษร้าย
   ้
ประชาชนพลเรือนอย่างเป็นระบบและเป็นวงกว้าง ซึงอาจเข้าข่าย
                                                 ่
อาชญากรรมต่อมนุษยชาติตามธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญา
ระหว่างประเทศซึ่งกําหนดให้จัดตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศในกรุง
เฮกอีกด้วย แม้ว่าประเทศไทยจะไม่ได้ให้สัตยาบันต่อธรรมนูญกรุง
โรมฯ แต่การโจมตีเช่นนี้ก็อาจจะเป็นเหตุเพียงพอให้ได้รับการ
พิจารณาให้เข้าสู่การพิจารณาของศาลอาญาระหว่างประเทศได้หาก
เป็นการดําเนินการโดยรู้ถึงการกระทํานั้นภายใต้นโยบายที่ยอมให้
เกิดหรือสนับสนุนให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิตโดยไม่จําเป็น หรือเป็น
นโยบายทีออกแบบมาเพือโจมตีกลุมทางการเมืองทีเฉพาะเจาะจง
          ่              ่       ่                 ่
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง มีหลักฐานมากมายทีชวาแผนต่อต้านคนเสือแดงที่
                                    ่ ้ี ่               ้
ดําเนินมาเป็นระยะเวลา 4 ปีนนกําลังดําเนินการอยูในปัจจุบนภายใต้
                            ้ั                 ่       ั
นโยบายที่รับรองโดยรัฐบาลอภิสิทธิ์ และการสังหารหมู่คนเสื้อแดงที่
เพิ่งผ่านมาก็เป็นเพียงการปฏิบัติตามนโยบายนโยบายดังกล่าวครั้ง
ล่าสุดเท่านัน
            ้

     ท้ายที่สุด การสืบสวนเหตุการณ์สังหารหมู่คนเสื้อแดงในเดือน
เมษายน- พฤษภาคมทีรฐบาลตังใจจะทํานันปรากฏแล้วว่าทังไม่เป็น
                      ่ ั   ้         ้               ้
อิสระและไม่เป็นกลางตามที่ตามกฎหมายระหว่างประเทศกําหนดไว้
ในขณะที่ประเทศไทยอาจมีความผิดเพิ่มเติมกรณีการละเมิดกติกา
ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมือง (ICCPR) และ
กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ จากที่ไม่ดูแลให้มีการสืบสวน
การสังหารหมู่อย่างเป็นธรรมและสมบูรณ์ การกดดันจากนานาชาติ
จึงเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ
และเพื่อป้องกันความพยายามในการฟอกตัวเองจากเหตุการณ์ดัง
กล่าวที่กําลังดําเนินอยู่ของรัฐบาล

      ความจริงที่ไม่มีใครโต้แย้งได้ก็คือประเทศไทยควรจะก้าวให้พ้น
ความรุนแรง และจะต้องดําเนินการเพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ แต่
ทว่าความสมานฉันท์นั้นจําเป็นต้องเริ่มด้วยการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
ของประชาชนในการปกครองตนเอง ยิ่งไปกว่านั้นการที่จะทําให้มี
การสมานฉันท์ จะต้องมีการดําเนินการตามกฎหมายเพื่อให้ผู้ที่สั่ง
การให้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรงที่กระทําไปเพื่อยับยั้ง
สิทธิในการปกครองตนเองนั้นต้องรับผิด กฎหมายระหว่างประเทศ
กําหนดไว้ว่าไม่อาจยอมรับสิ่งที่น้อยไปกว่านี้ได้
สารบัญ

บทนํา
………………………………………………………………………
……………7
เส้นทางไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย
      ตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทย
      ……………………………………………………16
การขึ้นสู่อํานาจของพรรคไทยรักไทย
……………………………………………….20
ถนนสู่การปฏิวัติ 2549
…………………………………………………………..........27
การฟื้นฟูระบอบอํามาตยาธิปไตยอย่างผิด
กฎหมาย............................................33
      5.1 การยึดอํานาจโดยทหาร
      ……………………………………………………………..34
      5.2 ระเบียบรัฐธรรมนูญใหม่
      ……………………………………………………………..37
      5.3 การยุบพรรคไทยรักไทย
      ………………………………………………………………
      40
      5.4 การรัฐประหารทางศาลและเหตุการณ์ความวุ่นวายที่ถูกจัด
      ตั้งขึ้น …………………..42
ฤดูร้อนสีดําของประเทศไทย: การสังหารหมู่คนเสื้อ
แดง………………………………52
      6.1 คนเสื้อแดงต้องการอะไร
      ……………………………………………………………...52
      6.2 มาตรการอันผิดกฎหมายของการรณรงค์ประหัตประหาร
      และความรุนแรง ………….56
      6.3 บดขยีคนเสือแดง
                ้        ้
………………………………………………………………
      ……..61
      6.4 มาตรฐานสากลว่าด้วยการใช้กําลัง
      …………………………………………………..66
ฤดูกาลใหม่ของการปกครองโดย
ทหาร………………………………………………..70
      7.1 พระราชบัญญัติความมั่นคงภายใน
      …………………………………………………..71
      7.2 การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
      ……………………………………………………...73
      7.3 การควบคุมข้อมูลข่าวสาร
      …………………………………………………………….75
      7.4 เสื้อแดงนะหรือคือผู้ก่อการร้าย
      ……………………………………………………….76
ข้อเรียกร้องหาความ
ยุติธรรม……………………………………………………………
84
      8.1 หน้าที่ในการสืบสวนและหาผู้กระทําความผิดของ
      ประเทศไทย ………………………84
      8.2 การสังหารโดยพลการและตามอําเภอใจ: การละเมิดสิทธิ
      มนุษยชนที่ร้ายแรงอื่นๆ …..87
      8.3 การประหัตประหารทางการเมือง
      ……………………………………………………...90
      8.4 อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ
      ……………………………………………………………94
      8.5 หลักฐานเรื่องการพยายามปกปิด
      ……………………………………………………..99
      8.6 ความเป็นธรรมสําหรับผู้ถูกกล่าวหา
      …………………………………………………..104
บทสรุป : หนทางเดียวสู่ความปรองดอง
………………………………………………….106
บทนํา

ในปีพ.ศ. 2541 ผมก่อตั้งพรรคไทยรักไทยภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับ
แรกของประเทศไทยที่เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง รัฐธรรมนูญ
ฉบับที่เรียกกันว่ารัฐธรรมนูญฉบับประชาชนนี้มอบการเป็นตัวแทน
อย่างแท้จริงในกระบวนการเลือกตั้งแก่พี่น้องชาวไทยเป็นครั้งแรก
ในฐานะนายกรัฐมนตรี ผมพยายามดําเนินนโยบายสาธารณะต่างๆ
ที่ได้เสนอไว้ในช่วงหาเสียงเลือกตั้ง และผมเชือว่าคนไทยส่วนใหญ่ก็
                                            ่
เห็นด้วยกับข้อเท็จจริงทีวา เสียงของพวกเขาได้รับการสดับรับฟัง นี่
                        ่ ่
เป็นเหตุผลที่ทําให้พรรคไทยรักไทยได้รับความนิยมและแข็งแกร่ง

      ในปี 2549 การรัฐประหารได้ช่วงชิงสิทธิในการเลือกตั้งของพี่
น้องประชาชนไป ซึงทําให้คนไทยส่วนใหญ่ของประเทศไม่พอใจ และ
                  ่
ทําให้พนองประชาชนจํานวนมากลุกขึนมาต่อต้าน แต่แทนทีจะ
       ่ี ้                        ้                      ่
ยอมรับฟังข้อเรียกร้องของพวกเขา กลุมอํานาจเก่าทีนยมระบอบ
                                     ่           ่ ิ
เผด็จการกลับพยายามที่จะกําจัดพี่น้องประชาชนคนไทย ความ
ทะยานอยากของคนกลุ่มนี้เป็นอันตรายยิ่ง อีกทั้งยังรุกล้ําจิตวิญญาณ
ของความเป็นมนุษย์

     ผมได้ขอให้สํานักกฎหมาย อัมสเตอร์ดัม แอนด์ เปรอฟ เข้ามา
ทําการศึกษากรณีของการประท้วงของกลุ่มคนเสื้อแดงเมื่อวันที่ 10
เมษายน และ 19 พฤษภาคม 2553 ว่าเป็นการชุมนุมทางการเมืองเพื่อ
เรียกร้องประชาธิปไตยตามมาตรฐานกฎหมายระหว่างประเทศหรือ
ไม่ ผมยังได้ขอให้สํานักกฎหมายดังกล่าวศึกษากระบวนการทําลาย
ระบอบประชาธิปไตยทีมงเป้ามาทีกลุมคนเสือแดง และศึกษานัยยะ
                     ่ ุ่    ่ ่       ้
ของเหตุการณ์เหล่านั้นภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ โลกควรจะ
ได้เข้าใจว่าในประเทศไทยประชาธิปไตยที่แท้จริงกําลังถูกทําร้าย

      ผมเชือว่าการเลือกตังจะเกิดขึนในไม่ชา อย่างไรก็ตามหากการ
            ่               ้         ้      ้
เลือกตั้งหมายถึงการก้าวไปสู่ความสมานฉันท์ การเลือกตั้งเช่นนั้นจะ
ต้องตอบข้อกังวลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการเสริมสร้างอํานาจประชาชน
และการฟื้นฟูประเทศไทยให้เป็นรัฐประชาธิปไตยแบบที่ไม่กีดกันคน
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งและในขณะเดียวกัน เราต้องปฏิเสธการใช้ความ
รุนแรงเพื่อเป็นเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายทางการเมือง
สันติสุขที่แท้จริงจะมีได้ก็ต่อเมื่อทุกฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมในทางการ
เมืองได้อย่างแท้จริง



                                               ดร. ทักษิณ ชินวัตร
การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ :
ข้อเรียกร้องต่อการแสดงความรับผิดชอบภายใต้พันธกรณีระหว่าง
                                                      ประเทศ
  ที่ประเทศไทยมีภาระหน้าที่ในการนําตัวฆาตกรเข้าสู่กระบวนการ
                                                     ยุติธรรม



           สมุดปกขาวโดยสํานักกฎหมาย Amsterdam & Peroff
1. บทนํา

      เป็นเวลากว่า 4 ปีทประชาชนชาวไทยตกเป็นเหยือของการ
                         ่ี                       ่
ละเมิดสิทธิขนพืนฐานอย่างต่อเนืองและเป็นระบบ สิทธิดังกล่าวคือ
             ้ั ้                ่
สิทธิในการกําหนดทางเลือกของตนโดยผ่านการเลือกตั้งอย่าง
แท้จริงทีดารงอยูบนฐานของเจตจํานงของประชาชน การโจมตี
         ่ ํ      ่
ระบอบประชาธิปไตยเริ่มขึ้นด้วยการวางแผนและลงมือกระทําการ
รัฐประหารโดยทหารเมื่อปี 2549 ด้วยความร่วมมือกับสมาชิก
องคมนตรี ผู้บัญชาการทหาร ของไทยล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการ
เลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร
หัวหน้าพรรคไทยรักไทย ซึ่งชนะการเลือกตั้งมาถึง 3 สมัยติดต่อกัน
ทั้งในปี 2544, 2548 และ 2549 ระบอบที่การรัฐประหารตั้งขึ้นได้เข้า
ควบคุมหน่วยงานต่างๆของรัฐบาล ยุบพรรคไทยรักไทย และตัดสิทธิ
ทางการเมืองของแกนนําพรรคเป็นเวลา 5 ปี การที่อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ได้เป็นนายกรัฐมนตรีก็ด้วยเหตุผลเดียวนั่นก็คือเพราะ
พรรคการเมืองต่างๆ ทีชนะการเลือกตังตามระบอบประชาธิปไตย
                       ่              ้
ตลอดการเลือกตั้งสี่ครั้งที่ผ่านมาถูกยุบไป

     การรัฐประหารในปี 2549 ถือเป็นการเริ่มต้นในการพยายามที่
จะฟืนฟูอานาจนําของกลุมทุนเก่า นายทหารระดับสูง ข้าราชการ
    ้     ํ             ่
ระดับสูง และกลุมองคมนตรี ซึงจะขอรวมเรียกว่าเป็น “กลุมอํานาจ
                 ่             ่                        ่
เก่า” ซึ่งการฟื้นฟูระบอบที่กลุ่มอํานาจเก่าต้องการนั้นจะสําเร็จได้ก็
ต้องทําลายพรรคไทยรักไทยเป็นอันดับแรก เพราะพรรคไทยรักไทย
เป็นพลังทางการเลือกตั้งที่ได้กลายเป็นสิ่งท้าทายอํานาจของกลุ่ม
อํานาจเก่าอย่างสําคัญและเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ และหลัง
จากนั้นกลุ่มอํานาจเก่าก็ไม่อาจหยุดยั้งการกวาดล้างขบวนการเรียก
ร้องประชาธิปไตยทีเกิดขึนตามมา
                    ่     ้

        พรรคไทยรักไทยเป็นพรรคการเมืองแรกในประวัติศาสตร์ไทย
ที่ได้รับความนิยมสูงสุดให้มาปกครองประเทศ อันเป็นการไปขัดขวาง
ธรรมเนียมปฏิบตอนยาวนานทีรฐบาลผสมทีออนแอจะได้เข้ามารับใช้
                ั ิ ั             ่ ั           ่ ่
ตามอําเภอใจของกลุมอํานาจเก่า ด้วยการเสริมอํานาจของฐานเสียง
                        ่
ทีถกเบียดขับไปอยูชายขอบของชีวตทางการเมืองของประเทศมา
  ่ ู                 ่                   ิ
ยาวนาน พรรคไทยรักไทยได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในระดับ
ที่ไม่เคยมีมาก่อน ทําให้พรรคฯ รูสกว่าไม่จาเป็นต้องสยบยอมมอบ
                                      ้ ึ     ํ
อํานาจใดๆ ที่รัฐธรรมนูญได้มีให้รัฐบาลจากการเลือกตั้งแก่พวกกลุ่ม
อํานาจเก่า การบริหารจัดการของพรรคฯ จึงเป็นไปเพื่อยืนยันการ
ควบคุมกระบวนการกําหนดนโยบาย การให้ทหารอยู่ภายใต้การ
ควบคุมของพลเรือน และการทําลายเครือข่ายระบบอุปถัมภ์ทสมาชิก ่ี
อันทรงอํานาจของคณะองคมนตรีได้ใช้อทธิพลของตนเหนือ
                                            ิ
ข้าราชการ ระบบตุลาการ และกองกําลังทหาร ทั้งสองด้านของ
นโยบายเศรษฐกิจแบบคูขนาน (dual track) ที่รัฐบาลไทยรักไทยได้
                            ่
ดําเนินการอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีเสียงข้างมากในสภานั้น ยิ่งทําให้
บรรดานักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพฯ ถอนการสนับสนุนทักษิณ ในขณะ
ที่นโยบายเปิดตลาดเสรีของพรรคไทยรักไทยได้ทําให้กลุ่มธุรกิจ
ขนาดใหญ่ที่อิงกลุ่มอํานาจเก่าต้องมีการแข่งขันมากขึ้น ความนิยมที่
มีต่อโครงการต่างๆ ทีตอบสนองต่อความจําเป็นของเกษตรกรในต่าง
                          ่
จังหวัดและคนจนเมืองก็ทาให้รฐบาลยืนหยัดต่อแรงกดดันทีมาจาก
                              ํ ั                       ่
กลุมตัวละครหลักๆ ของกลุมอํานาจเก่าไว้ได้
   ่                   ่

      เมือไม่สามารถจะขจัดหรือบันทอนรัฐบาลทีมาจากการเลือกตัง
         ่                      ่          ่              ้
ได้ด้วยวิธีใดๆ ทหารจึงใช้ยุทธวิธีในการยกขบวนรถถังและกอง
กําลังพิเศษเข้ามาทวงประเทศคืนจากตัวแทนของประชาชน

        หลังจากการรัฐประหารเป็นต้นมา พวกกลุ่มอํานาจเก่าก็ได้
พยายามที่จะรวบรวมอํานาจทางการเมืองของตน ในขณะเดียวกันก็
ถอยไปซ่อนตัวอยูหลังฉากทีสร้างภาพว่าเป็นประชาธิปไตยแบบมี
                    ่        ่
รัฐธรรมนูญ กลุ่มอํานาจเก่าได้ใช้การรณรงค์อย่างไม่หยุดหย่อนเพื่อ
กําจัดพรรคไทยรักไทยออกจากพื้นที่ทางการเมืองไทย เพือให้มนใจ  ่    ่ั
ได้วาจะกลับไปสูการมีรฐบาลอ่อนแอทียอมรับใช้ผลประโยชน์ของ
      ่           ่     ั                ่
กลุมอํานาจเก่า เมื่อแผนนี้ไม่สําเร็จ กลุ่มอํานาจเก่าจึงต้องหันไปพึ่ง
    ่
ฝ่ายตุลาการที่ถูกทําให้เข้ามามีส่วนพัวพันทางการเมืองอย่างมาก
และได้รบอํานาจตามรัฐธรรมนูญฉบับปีพ.ศ. 2550 ให้สามารถล้มผล
         ั
การเลือกตั้งที่ดําเนินอย่างเสรีได้ เพียงเพื่อทําให้การกําจัดรัฐบาล
ที่มาจากการเลือกตั้งนั้นดูเป็นสิ่งที่ถูกต้องตามกฎหมาย

       ด้วยการครอบงําศาล และด้วยความสําเร็จบางส่วนในการ
ทําให้ฝ่ายนิติบัญญัติในรัฐบาลผสมของทักษิณอ่อนแอลง และด้วย
ความวุ่นวายที่ก่อโดยกลุ่มการเมืองนอกรัฐสภาอย่างพันธมิตร
ประชาชนเพือประชาธิปไตย (พธม.) กลุ่มอํานาจเก่าก็สามารถทําให้
            ่
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีได้ ทว่าหลังจากนัน
                                                            ้
รัฐบาลอภิสิทธิ์ก็ถูกกดดันให้ต้องใช้มาตรการกดขี่เพื่อรักษาฐาน
อํานาจอันไม่ชอบธรรมและปราบปรามการเคลือนไหวเพือ
                                            ่         ่
ประชาธิปไตยที่ก่อตัวขึ้นเพื่อตอบโต้การรัฐประหารโดยทหารเมื่อปี
2549 และการรัฐประหารโดยศาลในปี 2551 หนึ่งในวิธีการกดขี่ก็คือ
การทีรฐบาลได้บล็อกเวปไซท์ประมาณ 50,000 เวป ปิดสถานีโทรทัศน์
      ่ ั
ดาวเทียมของฝ่ายต่อต้านรัฐบาล และกักขังคนจํานวนหนึ่งภายใต้
กฎหมายหมิ่นพระบรมราชานุภาพอันเลื่องชื่อของไทย และภายใต้
พ.ร.บ.การกระทําผิดทางคอมพิวเตอร์ที่โหดร้ายพอๆ กัน เมือเผชิญ   ่
กับการชุมนุมประท้วงโดยมวลชนทีทาทายอํานาจของรัฐบาล รัฐบาล
                                      ่ ้
ก็ได้เชือเชิญให้กองทัพเข้ามาจัดการ และได้ระงับเสรีภาพตาม
        ้
รัฐธรรมนูญโดยการนําพ.ร.บ.ความมันคงในราชอาณาจักร พร้อมทั้ง
                                          ่
พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินซึ่งเข้มงวด
ยิ่งกว่ามาใช้ ตังแต่วนที่ 7 เมษายน 2553 เป็นต้นมา รัฐบาลทหารชุด
                   ้     ั
ใหม่ของประเทศในนามของศูนย์อํานวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน
(ศอฉ.) ได้เข้ามาปกครองประเทศโดยไม่มีมาตรการตรวจสอบความ
รับผิดใดๆ ภายใต้การประกาศ “สถานการณ์ฉุกเฉิน” ที่ถูกประกาศ
อย่างไม่เหมาะสม ถูกนํามาบังคับใช้อย่างไม่สอดคล้องกับความ
รุนแรงของสถานการณ์ และใช้อย่างต่อเนืองอย่างไม่มกาหนดเพือที่
                                            ่           ี ํ       ่
จะปิดปากการคัดค้านใดๆ ที่มีต่อรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง
นี่เป็นอีกครั้งที่กลุ่มอํานาจเก่าไม่อาจปฏิเสธข้อเรียกร้องเพื่อการ
ปกครองตนเองของประชาชนชาวไทยได้โดยไม่ตองหันไปหาระบอบ้
เผด็จการทหาร

        ในเดือนมีนาคม 2553 เกิดการประท้วงต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่
ในกรุงเทพฯ โดยกลุ่มคนเสื้อแดง หรือที่เรียกว่า “แนวร่วม
ประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) การชุมนุมของคน
เสื้อแดงดําเนินมาจนถึงวันที่ 66 ในวันที่ 19 พฤษภาคม เมื่อรถหุ้ม
เกราะบดขยี้แนวกั้นที่ทําขึ้นชั่วคราวรอบสี่แยกราชประสงค์ใน
กรุงเทพฯ และทะลวงค่ายประท้วงของคนเสือแดง หลายสัปดาห์กอน
                                            ้                   ่
หน้านั้น เมือวันที่ 10 เมษายน กองกําลังทหารพยายามสลายการ
            ่
ชุมนุมของกลุมเสือแดงทีสะพานผ่านฟ้าแต่ลมเหลว ยังผลให้มีผู้เสีย
               ่    ้     ่                   ้
ชีวต 27 ราย และในการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ระหว่าง
    ิ
วันที่ 13 -19 พฤษภาคม มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 55 ราย เมือต้อง
                                                        ่
เผชิญกับความพ่ายแพ้ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แกนนํานปช. ได้ประกาศยุติ
การชุมนุมและยอมมอบตัวกับตํารวจ
พยานนับร้อยๆ คน และวิดโอคลิปพันๆ คลิป ได้บันทึกการใช้
                                 ี
กระสุนจริงอย่างเป็นระบบโดยกองกําลังฝ่ายความมั่นคงของไทยต่อ
พลเรือนที่ไร้อาวุธ รวมถึงนักข่าวและเจ้าหน้าที่หน่วยแพทย์ฉุกเฉินใน
เดือนเมษายนและพฤษภาคม นับถึงเวลาทีบริเวณทีชมนุมได้ถก
                                               ่   ่ ุ     ู
เคลียร์เรียบร้อย อาคารพาณิชย์สําคัญๆ สองสามแห่งยังคงมีควัน
กรุ่น มีผู้เสียชีวิตไปมากกว่า 80 คน และผูทถกกล่าวหาว่าเป็นแกนนํา
                                           ้ ่ี ู
การชุมนุมมากกว่า 50 คนอาจเผชิญกับโทษประหารชีวตจากข้อหา ิ
“ก่อการร้าย” ผู้ชุมนุมหลายร้อยคนยังคงถูกควบคุมตัวข้อหาฝ่า
ฝืนพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรและพ.ร.ก.การ
บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึงรัฐบาลไทยนํามาใช้เป็น
                                       ่
เครื่องมือในการทําให้การชุมนุมทางการเมืองที่ชอบธรรมกลับกลาย
เป็นเรื่องผิดกฎหมาย นอกจากนี้ยังมีการออกหมายจับจํานวนสูงถึง
แปดร้อยหมาย และทางการยังได้สั่งแช่แข็งบัญชีธนาคารของผู้ที่ถูก
กล่าวหาว่าร่วมขบวนการและอาจเป็นผู้สนับสนุนทางการเงินแก่น
ปช.อีกอย่างน้อย 83 ราย ทีนาสลดใจก็คอ แกนนําคนเสื้อแดงในท้อง
                             ่ ่         ื
ถิ่นต่างๆ ได้ถูกลอบสังหารในชลบุรี นครราชสีมา และปทุมธานี

    ท่ามกลางเหตุการณ์ที่น่าสลดอันเป็นจุดสูงสุดของโครงการสี่ปี
ในการโค่นเจตนารมย์ของประชาชนเพือให้เป็นไปตามความต้องการ
                                   ่
ของกลุมอํานาจเก่า สมุดปกขาวเล่มนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้
      ่

      วัตถุประสงค์ข้อแรก คือ เพื่อเน้นถึงพันธกรณีของประไทยตาม
กฎหมายระหว่างประเทศ และพันธกรณีตามกติการะหว่างประเทศว่า
ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on
Civil and Political Rights - ICCPR) ในการสืบสวนการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนขั้นร้ายแรงทั้งหลายที่เกิดขึ้นระหว่างการชุมนุมของคนเสื้อ
แดง รวมถึงต้องดําเนินคดีกับเจ้าหน้าที่ทหารและพลเรือนซึ่งอยู่ภาย
ใต้สายการบังคับบัญชาสําหรับอาชญากรรมอย่างการสังหาร
พลเรือนกว่า 80 รายโดยพลการและตามอําเภอใจในกรุงเทพฯ ใน
ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคมด้วย ข้อเท็จจริงต่างๆ ปรากฏอย่าง
ชัดเจนว่ามีการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศด้วยการใช้กองกําลัง
ทหารอย่างเกินความจําเป็น การกักขังโดยพลการต่อเนื่องเป็นเวลา
นาน และการทําให้ประชาชนบางส่วนหายสาบสูญ และยังมีระบบการ
ประหัตประหารทางการเมืองที่ปฏิเสธเสรีภาพในการมีส่วนร่วม
ทางการเมืองและในการแสดงออกของพลเมืองของกลุ่มคนเสื้อแดง
มีหลักฐานว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงเพียงพอที่จะ
ดําเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงอย่างเป็นอิสระและเป็นกลาง เพื่อที่ผู้ที่
กระทําความผิดกฎหมายอาญาระหว่างประเทศจะถูกนําตัวเข้าสู่
กระบวนการยุติธรรม จากประวัตศาสตร์ความเป็นปรปักษ์ตอการ
                                ิ                         ่
เคลือนไหวของกลุมคนเสือแดง ทําให้เป็นการสมเหตุสมผลที่จะ
    ่           ่      ้
ยืนยันให้มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ อย่างเหมาะสม ด้วยหน่วย
งานที่เป็นกลางและเป็นอิสระ เพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบต้องการละเมิด
กฎหมายและสิทธิมนุษยชนดังกล่าวจะต้องรับผิดตามที่กําหนดโดย
กฎหมายระหว่างประเทศ

     เป้าหมายประการที่สอง เกี่ยวข้องกับพันธกรณีของประเทศไทย
ในการสืบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่อาจเกิดขึ้นในด้านสิทธิ
ทางการเมือง หลังจากการรัฐประหารในปี 2549 และในระหว่างที่
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ดํารงแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลที่มีทหาร
หนุนหลังพยายามที่จะรวบรวมอํานาจของตนโดยการกดขี่ปราบ
ปรามการคัดค้านทางการเมืองของกลุ่มคนเสื้อแดง มาตรการ
ประการหนึ่งก็คือ การปราบปรามขบวนการเคลื่อนไหวนั้นโดยมีการ
ประทุษร้ายประชาชนพลเรือนทีไร้อาวุธอย่างเป็นระบบและอย่างเป็น
                             ่
วงกว้าง ซึงอาจเข้าข่ายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติตามธรรมนูญกรุง
          ่
โรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศซึงกําหนดให้จดตังศาลอาญา
                                   ่           ั ้
ระหว่างประเทศในกรุงเฮกอีกด้วย แม้วาประเทศไทยจะไม่ได้ให้
                                     ่
สัตยาบันต่อธรรมนูญกรุงโรมฯ แต่การกระทําผิดต่อกลุ่มคนเสื้อแดง
อย่างร้ายแรงนี้ก็อาจจะเป็นเหตุเพียงพอให้ได้รับการพิจารณาให้เข้า
สู่การพิจารณาของศาลอาญาระหว่างประเทศได้หากเป็นการดําเนิน
การโดยรู้ถึงการกระทํานั้นภายใต้นโยบายที่ยอมให้เกิดหรือ
สนับสนุนให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิตโดยไม่จําเป็น หรือเป็นนโยบาย
ที่มีเป้าหมายเพื่อโจมตีกลุ่มทางการเมืองกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ
เจาะจง มีหลักฐานมากมายทีชวาแผนต่อต้านคนเสือแดงทีดาเนินมา
                             ่ ้ี ่             ้        ่ ํ
เป็นระยะเวลา 4 ปีและทีกาลังดําเนินการอยูในปัจจุบนภายใต้
                        ่ ํ              ่        ั
นโยบายที่รับรองโดยรัฐบาลอภิสิทธิ์ และการสังหารหมู่คนเสื้อแดงที่
เพิ่งผ่านมาก็เป็นเพียงการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวครั้งล่าสุด
เท่านั้น

      สมุดปกขาวเล่มนี้ศึกษาการเกิดขึ้นของความรุนแรงใน
ประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติการทางทหารในเดือนเมษายนและ
เดือนพฤษภาคม 2553 รวมทังการปราบปรามในเดือนเมษายนปี
                           ้
2552 ทีมประชาชนเสียชีวตอย่างน้อย 2 คน จากแง่มมของหลัก
       ่ ี              ิ                      ุ
ประกันตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมือง หลักฐานต่างๆ นั้นเพียงพอต่อการสืบสวนโดยหน่วย
งานที่เป็นอิสระและเป็นกลางถึงนัยยะทางอาญาของการประหัต
ประหารทางการเมืองเช่นนี้ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ

      วัตถุประสงค์ประการที่สามของสมุดปกขาวเล่มนี้คือเพื่อยืนยัน
ถึงสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศของสมาชิกนปช.หลายร้อยคน
ทีกาลังเผชิญข้อกล่าวหาทางอาญาจากการเข้าร่วมการชุมนุมของ
  ่ ํ
กลุ่มคนเสื้อแดง กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมืองรับรองสิทธิในการต่อสู้ดคีอย่างยุติธรรม รวมถึงสิทธิที่
จะเลือกทนายของตนเอง เพื่อเตรียมการต่อสู้คดีโดยมีเวลาและสิ่ง
อํานวยความสะดวกอย่างเพียงพอ และสิทธิในการสามารถเข้าถึง
หลักฐานได้อย่างเท่าเทียม ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิในการตรวจสอบหลัก
ฐานอย่างอิสระผ่านทางผู้เชี่ยวชาญหรือทนายของตนเอง ภายใต้
เงื่อนไขเดียวกันกับรัฐบาล และมีสิทธิในการเรียกพยานหลักฐานฝ่าย
ตนเพื่อแก้ต่างให้ตนเองได้

       เพือเป็นการตอบสนองต่อข้อประท้วงของนานาชาติเกียวกับ
          ่                                           ่
ความรุนแรงในเดือนเมษายนและพฤษภาคม นายอภิสิทธิ์ได้ประกาศ
โร้ดแมปเพื่อการปรองดองและได้ตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง
ขึ้นมาอย่างเป็นทางการ สิ่งที่หายไปจากโร้ดแมปของอภิสิทธิ์ก็คือ
ความเป็นอิสระและความเป็นกลางอย่างแท้จริงในกระบวนการตรวจ
สอบตัวเอง นายคณิต ณ นคร อดีตอัยการสูงสุด ที่ได้รบแต่งตั้งให้นํา
คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ได้บอกกับสือมวลชนในเกือบจะใน
                                        ่
ทันทีทันใดว่าเขาสนใจในการ “ส่งเสริมการให้อภัย” มากกว่าการ
เรียนรู้ข้อเท็จจริง การละเลยเช่นนีอาจจะสอดคล้องกับแนวความคิด
                                  ้
เรื่องการปรองดองแบบเดิมๆ ของไทย ที่ให้นิรโทษกรรมแก่ผู้ที่
สังหารผู้ชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยในปี 2516, 2519 และ 2535
หลายร้อยคน แต่ไม่ทําอะไรกับการสืบหาข้อเท็จจริงหรือส่งเสริมการ
สมานฉันท์ที่แท้จริงเลย

      ปัจจัยหลายอย่างได้ชให้เห็นว่าจําเป็นทีจะต้องมีการเข้ามา
                          ้ี                  ่
เกี่ยวข้องจากประชาคมโลก เพื่อรักษาการสืบสวนการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนที่เกิดขึ้นทุกกรณีอย่างเป็นอิสระและเป็นกลาง ประการแรก
รัฐบาลไม่มีทีท่าจะยอมอ่อนข้อในการยึดอํานาจทางการเมือง โดย
การให้ผู้นําทหารและพลเรือนถูกดําเนินคดีอาชญากรรมระหว่าง
ประเทศ ประการที่สอง การกักขังที่ยาวนานและการไม่สนใจที่จะ
ดําเนินคดีอย่างเป็นธรรมต่อคนเสื้อแดงหลายร้อยคนที่ถูกรัฐบาล
ตัดสินไปล่วงหน้าแล้วว่าเป็น “ผู้ก่อการร้าย” นั้นทําให้เกิดการตั้ง
คําถามถึงความเป็นธรรมของการสอบข้อเท็จจริงในกรณีนี้ ประการ
ที่สาม คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงของอภิสิทธิ์ทํางานรับใช้ความ
ต้องการของนายกรัฐมนตรี และไม่มหน้าทีทชดเจนในการสืบสวน
                                    ี     ่ ่ี ั
หรือดําเนินคดีกบรัฐบาล ส่วนความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง
                ั
ของคณะกรรมการก็ถูกขัดขวางโดยกฎระเบียบต่างๆ ที่ออกภายใต้
การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่ถูกเหมือนจะยังคงมีผลในช่วงเวลา
ส่วนใหญ่ของการดําเนินการของคณะกรรมการ ประการสุดท้าย
การวิเคราะห์หลักฐานของรัฐบาลไทยนั้นมีแนวโน้มจะโอนเอียงและ
เชื่อถือไม่ได้เช่นที่มักจะเป็นในทุกครั้งที่รัฐบาลต้องทําการตรวจสอบ
การกระทําผิดของตัวเอง การที่รัฐบาลยึดมั่นกับผู้สืบสวนที่เลือกมา
จากฐานของการถือข้างมากกว่าจากฐานของความเชี่ยวชาญทําให้
กระบวนการไต่สวนทั้งหมดมีมลทิน การสืบสวนข้อเท็จจริงทีมอคติ    ่ ี
ไม่เป็นกลาง และตอบสนองผลประโยชน์ของรัฐบาลทหารนั้นก็เท่ากับ
ไม่มีการสืบสวนเลย

      ทุกคนย่อมยอมรับความจริงทีวาประเทศไทยควรจะก้าวให้พน
                                   ่ ่                       ้
ความรุนแรง และดําเนินการให้เกิดความปรองดอง ทว่าความ
ปรองดองนั้นจําเป็นต้องเริ่มด้วยการฟื้นคืนสิทธิขั้นพื้นฐานของ
ประชาชนในการปกครองตนเอง ยิ่งไปกว่านั้นความปรองดองนี้ยัง
ต้องการความรับผิดอย่างเต็มที่ต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้าย
แรงที่กระทําไปเพื่อยับยั้งสิทธิในการปกครองตนเองนั้น กฎหมาย
ระหว่างประเทศกําหนดไว้ว่าไม่อาจยอมรับสิ่งที่น้อยไปกว่านี้ได้
2. เส้นทางไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย
                      ตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทย

ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบ “ประชาธิปไตย” มาตั้งแต่การ
เปลียนแปลงระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น
    ่
ระบอบภายใต้รัฐธรรมนูญเมื่อปีพ.ศ. 2475 ในรัชสมัยของพระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว ในความจริง นอกจากช่วงเวลาทีเป็น
                            ่ ั                           ่
เผด็จการทหารอย่างรุนแรงในระหว่างปี พ.ศ. 2501- 2512 แล้ว
ประเทศไทยมีการเลือกตั้งฝ่ายนิติบัญญัติเป็นประจํามาตั้งแต่
เปลียนแปลงการปกครอง ทว่า อํานาจมักจะถูกเปลียนมือด้วยการ
      ่                                         ่
รัฐประหารโดยทหารมากกว่าด้วยกระบวนการตามรัฐธรรมนูญที่ว่า
ด้วยการเปลียนแปลงรัฐบาล และจะมีการนํารัฐธรรมนูญฉบับที่
            ่
สนับสนุนโดยทหารและรัฐบาลที่แต่งตั้งโดยทหารเข้ามาบังคับใช้
แทนที่รัฐธรรมนูญและรัฐบาลของช่วงเวลานั้น รัฐธรรมนูญในช่วง
หลังมักจะถูกร่างขึ้นเพื่อรักษาการควบคุมของกลุ่มที่ก่อการ
รัฐประหาร ไม่ว่าผู้ก่อการจะตั้งใจใช้อํานาจโดยตรงหรือโดยอ้อมผ่าน
ทางการให้ตวแทนหรือการเข้าควบคุมจัดการรัฐบาลพลเรือนที่
              ั
อ่อนแอ การจัดการเช่นนีจะยังคงมีผลบังคับใช้ไปจนกว่าจะมีกลุม
                          ้                                 ่
ทหารกลุ่มอื่นทํารัฐประหารครั้งใหม่ และนํารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่
ออกแบบมาเพือทําให้สมดุลย์อานาจใหม่ได้รบการรับรองใน
                ่               ํ           ั
กฎหมายขึ้นมาใช้ วิธปฏิบตเช่นนีดาเนินเรือยมา ผ่านทางการ
                   ี   ั ิ    ้ ํ        ่
รัฐประหารโดยทหารที่สําเร็จ 11 ครั้ง รัฐธรรมนูญ 14 ฉบับ และ
แผนการและปฏิบัติการล้มล้างรัฐบาลที่ไม่สําเร็จอีกหลายครั้ง ตังแต่
                                                            ้
เดือนมิถุนายน 2475 มาจนถึงเดือนพฤษภาคม 2535

      ตลอดช่วงเวลาเหล่านี้ ประเทศไทยมีชวง “ประชาธิปไตย” สั้นๆ
                                         ่
เพียงสามครั้งที่หยั่งรากอยู่ในเสรีภาพในการแสดงความเห็นและ
การแข่งขันในการเลือกตั้งอย่างแท้จริง โดยครั้งแรกคือหลังจากการ
ใช้รัฐธรรมนูญฉบับพ.ศ. 2507 และครั้งที่สองคือหลังจากการประท้วง
ใหญ่ในปี 2516 ครั้งที่สามคือหลังการเลือกตั้งที่ได้พลเอกชาติชาย
ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี เมือปี 2531 ในทั้งสามครั้งนี้รัฐบาลที่มา
                                ่
จากการเลือกตั้งถูกล้มล้างด้วยกระบอกปืนของกองกําลังทหาร และ
ถูกแทนทีดวยระบอบทีเหมาะสมกับการคุมครองอํานาจของกลุม
         ่ ้           ่               ้                    ่
อํานาจเก่าและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของพวกเขา
มากกว่า

       นอกจากช่วงเวลาสั้นๆ เหล่านันแล้ว ประเทศไทยตังแต่ปี 2547
                                     ้               ้
เป็นต้นมาถูกปกครองโดยระบอบที่มีส่วนผสมของประชาธิปไตยและ
เผด็จการแตกต่างกันไป สิ่งที่ทุกระบอบมีเหมือนกันก็คือ เครือข่าย
ของเจ้าหน้าที่รัฐในราชการพลเรือนและทหาร หรือที่เรียกว่ากลุ่ม
อํามาตย์ ทีทาหน้าทีเป็นศูนย์กลางของอํานาจทางการเมืองทีแท้จริง
              ่ ํ      ่                                 ่
ไม่ใช่ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนขึ้นมา ผูแทนของประชาชน
                                                 ้
มีอิสรภาพระดับหนึ่ง และมีมากขึ้นในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา แต่
ภายใต้ระบบอํามาตยาธิปไตย (คําที่ใช้เรียกระบบรัฐบาลที่ถูก
ควบคุมโดยกลุมอํามาตย์ มักจะใช้ในทางตรงข้ามกับ
                   ่
“ประชาธิปไตย”) รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งไม่เคยได้รับสิทธิใน
การกําหนดให้ทหารอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน และเข้า
ควบคุมกระบวนการกําหนดนโยบายทางทหารได้ ทีจริงแล้ว แนวคิด
                                                   ่
เรื่อง “ประชาธิปไตยแบบไทยๆ” ได้ถูกจัดขึ้นโดยรัฐไทยตั้งแต่ช่วง
ต้นทศวรรษที่ 2500 เป็นต้นมา โดยหมายถึงรูปแบบรัฐบาลที่มีการ
เลือกตั้งเกิดขึ้น แต่มีการกําหนดข้อจํากัดเข้มงวดเรื่องเสรีภาพของ
พลเมือง และเรืองขอบเขตอํานาจทีเจ้าหน้าทีทมาจากการเลือกตัง
                 ่                 ่         ่ ่ี             ้
สามารถใช้ได้ ระบบรัฐบาลแบบนี้ที่อยู่บนฐานของการยินยอมอย่าง
ไม่ใยดีของประชากรไทยส่วนใหญ่ ได้รกษาอํานาจของทหาร
                                        ั
ข้าราชการ นายทุนขนาดใหญ่ และกลุมองคมนตรี (หรือเรียกรวมๆว่า
                                      ่
“กลุมอํานาจเก่า”) ในการกําหนดนโยบายระดับชาติส่วนใหญ่เอาไว้
    ่

        เหตุการณ์ต่างๆ หลังจากการยึดอํานาจจากนายกรัฐมนตรีพล
เอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยกองทัพที่นําโดยพลเอกสุจินดา ครา
ประยูร เมือปีพ.ศ. 2533 ถือเป็นจุดเปลียนสําคัญในเรืองอํานาจนําของ
            ่                        ่            ่
กลุ่มอํานาจเก่าที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งเหนือระบบการเมืองไทย
การประท้วงโดยประชาชนจํานวนมากที่ต่อต้านการขึ้นมาเป็นนายก
รัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา หลังจากที่มีการเลือกตั้งที่มีเปลือกนอก
ว่าเป็น “ประชาธิปไตย” ในเดือนมีนาคม 2535 ได้นําไปสู่การปะทะ
รุนแรงเป็นประวัติการณ์ระหว่างพลเรือนกับทหารในช่วงวันที่ 17-20
พฤษภาคม ผู้ประท้วงหลายสิบคนที่เรียกร้องให้พลเอกสุจินดาลา
ออกและนําประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยถูกสังหารโดยโหด
ร้ายโดยทหารในช่วงระหว่างเหตุการณ์ "พฤษภาทมิฬ” ปี 2535 ใน
ท้ายที่สุด พลเอกสุจินดา ได้ลาออกหลังจากทีพระบาทสมเด็จ
                                            ่
พระเจ้าอยู่หัวได้ปรากฏพระองค์ต่อสาธารณะ และนําไปสู่การเลือก
ตั้งครั้งใหม่ในเดือนกันยายน 2535

      โศกนาฏกรรมพฤษภาทมิฬทําให้ประเทศเดินเข้าสู่หนทางการ
เป็น “ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” อย่าง
แท้จริง และมีกระบวนการปฏิรปเป็นเวลานานห้าปี อันสิ้นสุดลงด้วย
                             ู
การประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 ด้วย
การมีส่วนร่วมอย่างสูงในกระบวนการที่นําไปสู่การออกรัฐธรรมนูญ
รวมถึงการที่มีเนื้อหาเป็นประชาธิปไตยอย่างไม่กํากวม รัฐธรรมนูญ
ฉบับพ.ศ. 2540 นี้จึงเป็นที่รู้จักกันในนาม “รัฐธรรมนูญฉบับ
ประชาชน”

        รัฐธรรมนูญฉบับพ.ศ. 2540 นํามาซึ่งยุคใหม่แห่งการเมืองที่ไม่มี
การกีดกันในไทย เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยที่ผู้แทนของ
ประชาชนเป็นผู้ร่างและรับรองรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่เป็นการกําหนดมา
จากกลุมอํานาจเก่าอย่างแต่เดิม นําไปสูยคแห่งประชาธิปไตยทีแท้
          ่                             ่ ุ                    ่
จริง ความโปร่งใส และการรับผิดตรวจสอบได้ รัฐธรรมนูญฉบับนี้
รับรองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพของพลเมือง ซึงฉบับก่อนหน้านีไม่
                                                 ่               ้
ได้รองรับ และยังกําหนดกลไกอีกบางประการ รวมถึงเรื่องการเลือก
ตั้งสภาทั้งสอง ระบบการเลือกตังแบบปาร์ตลสต์เพือมาใช้พร้อมกับ
                               ้            ้ี ิ   ่
ระบบแบ่งเขตแบบเดิม และตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ออกแบบ
มาเพือรับประกันว่าจะมีรฐบาลตัวแทนอย่างเต็มที่ และเพื่อสร้าง
      ่                  ั
สนามเลือกตั้งที่เท่าเทียมกันสําหรับผู้สมัครรับเลือกตั้ง ในขณะที่ยัง
รักษาความเป็นธรรมและความซือสัตย์เอาไว้ให้ได้ ทีสาคัญก็คอ รัฐ
                                 ่                   ่ ํ     ื
ธรรมนูญพ.ศ. 2540 นี้ยังห้ามการใช้สิทธิหรือเสรีภาพในการล้มล้าง
การปกครองแบบประชาธิปไตย และยังห้ามความพยายามใดๆ ใน
การ “ให้ได้มาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้
เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้” และยังห้าม
ทําการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญยกเว้นแต่เป็นไปตามหลักการและ
วิธีการที่บัญญัติไว้

       รัฐธรรมนูญพ.ศ. 2540 ยังได้สร้างเสถียรภาพทางการเมือง
อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้รับการรับรองใน
ช่วงที่มีวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและทางการเงินอย่างหนักใน
ประเทศ การส่งออกลดลงและความกังวลเรื่องสถานการณ์ของภาค
การเงินทําให้เกิดการไหลออกของทุนขนาดใหญ่อย่างทันที จนเกิด
วิกฤตอัตราแลกเปลียนในช่วงปลายปีพ.ศ. 2540 ในสถานการณ์ที่
                     ่
ประชาชนต่างไม่พอใจรัฐบาลที่ไม่สามารกู้วิกฤติเศรษฐกิจของปะเทศ
ได้ จึงเป็นที่คาดกันว่าอาจจะเกิดการรัฐประหารครั้งที่ 12 อย่าง
แน่นอน แต่ถึงกระนั้นวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 ก็ไม่ได้นําไปสู่วิกฤต
ทางการเมือง ข้อผูกพันมุ่งมั่นของประเทศที่จะเป็นประชาธิปไตยภาย
ใต้รัฐธรรมนูญอย่างแท้จริงดูเหมือนจะยังคงถูกรักษาไว้ได้ในที่สุด

      รัฐธรรมนูญ 2540 ยังกําหนดยุทธศาสตร์ทางการเมืองแบบใหม่
ก่อนหน้านี้พรรคการเมืองที่อ่อนแอและแตกแยกต้องขึ้นอยู่กับผู้มี
อิทธิพลในท้องถิ่นและเครือข่ายเส้นสายของระบบอุปถัมภ์ ในการ
ระดมพลังสนับสนุนในพื้นที่การเลือกตั้งส่วนใหญ่ของประเทศ
เนื่องจากพรรคเหล่านั้นมีเนื้อหาเชิงโครงการน้อยมาก และมีภาพ
ลักษณ์ของพรรคไม่ชดเจน ด้วยระบบตรวจสอบและถ่วงดุลย์ การ
                    ั
ป้องกันการคอร์รัปชั่น และด้วยบทบัญญัตใหม่ๆ ทีเสริมอํานาจของ
                                        ิ      ่
ฝ่ายบริหารโดยการทําให้นายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งมีความ
เปราะบางต่อการแปรพรรคน้อยลง รัฐธรรมนูญพ.ศ. 2540 ได้เปิด
ช่องทางให้เกิดการเติบโตของผู้นําทางการเมืองใหม่ๆ ทีพยายามจะ
                                                     ่
สร้างพรรคการเมืองระดับชาติที่เข้มแข็งที่อยู่บนฐานของวาระ
นโยบายเชิงโครงการที่ชัดเจน ทีอาจจะเป็นทีสนใจของผูมสทธิเลือก
                                ่         ่         ้ ี ิ
ตังทัวประเทศ นีเป็นบริบททีทาให้ทกษิณ ชินวัตร ตั้งพรรค
  ้ ่           ่           ่ ํ    ั
ไทยรักไทยและนําพรรคไปสู่ประสบความสําเร็จในการเลือกตั้งในปี
2544 และ 2548 อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ทําให้จนตนารของคน
                                                  ิ
นับล้านๆเป็นจริง และได้มอบปากเสียงให้แก่พลังทางการเมืองที่
ปัจจุบนนีคดค้านการบริหารปกครองของอภิสทธิ์ เวชชาชีวะ อย่าง
       ั ้ ั                                 ิ
มั่นคง
3. การขึ้นสู่อํานาจของพรรคไทยรักไทย


ทักษิณ ชินวัตร เกิดเมือปีพ.ศ. 2492 เป็นคนจังหวัดเชียงใหม่ จบการ
                      ่
ศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตํารวจในปีพ.ศ. 2516 และรับราชการเป็น
เวลา 14 ปี จนมียศพันตํารวจโท ซึ่งในระหว่างนั้นเขาได้ลาไปศึกษา
ต่อขันปริญญาโทและปริญญาเอกในสาขาอาชญาวิทยาที่
     ้
มหาวิทยาลัย Eastern Kentucky และมหาวิทยาลัย Sam Houston ใน
เท็กซัส

       ในปีพ.ศ. 2526 ขณะรับราชการตํารวจอยู่นั้น ทักษิณก่อตั้ง
บริษทชินวัตร คอมพิวเตอร์แอนด์คอมมิวนิเคชันส์กรุป กับภรรยาและ
     ั                                        ่     ๊
พี่ชายภรรยา หลังจากออกจากราชการตํารวจในปี 2530 และทุมเท     ่
ความสนใจทั้งหมดให้กับธุรกิจ บริษทของเขาก็เติบโตเป็นบริษทชิน
                                     ั                        ั
คอร์ป ในช่วงทศวรรษ 1990s (2533-2542) บริษทนีเป็นผูบกเบิก
                                                ั ้    ้ ุ
ธุรกิจโทรคมนาคมโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่กําลังเริ่มต้นในประเทศไทย ใน
ปี 2537 อันเป็นปีที่เขาเข้าสู่วงการการเมือง นิตยสาร Forbes ประเมิน
ว่าเขามีทรัพย์สินประมาณ 1.6 พันล้านเหรียญ

     ทักษิณเข้าสู่การเมืองโดยเข้าร่วมในรัฐบาลชวน หลีกภัย ในปี
2537 เมื่อเขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง
ประเทศ ในฐานะสมาชิกพรรคพลังธรรมของพลตรีจําลองศรีเมือง
จากนั้นเขาก็เป็นรองนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาสั้นๆ ในรัฐบาล
บรรหาร ศิลปอาชา (2538-2539) และรัฐบาลชวลิต ยงใจยุทธ (2540)
ในวันที่ 14 กรกฏคม 2541 เขาก่อตั้งพรรคไทยรักไทยอย่างเป็น
ทางการร่วมกับสมาชิกพรรครุ่นก่อตั้ง 22 คน ภายใต้การนําของ
ทักษิณ ไม่นานพรรคก็ประสบความสําเร็จอย่างที่ไม่เคยมี
พรรคการเมืองใดทําได้มาก่อนเลยในประเทศไทย

       ในความพยายามที่จะแก้ปัญหาวิกฤตการเงินในปี 2540 รัฐบาล
ไทยได้ขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
เงินกู้จํานวน 1.7 หมื่นล้านเหรียญนั้นต้องแลกมาด้วยกับการยอมรับ
เงื่อนไขของ IMF ที่จะต้องมีการปฏิรูประบบการเงิน การแปรรูป
รัฐวิสาหกิจ และมาตรการอื่นๆ เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ
(foreign direct investment) ในช่วงแรก การปฏิรูปเหล่านี้ก่อให้เกิด
ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ค่าจ้างตกต่าลง อัตราว่าง
                                                 ํ
งานเพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพความเป็นอยู่ของ
เกษตรกรและแรงงาน บรรดานักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพฯ ที่ได้รับ
ผลกระทบอย่างรุนแรงได้เข้าร่วมขบวนการชาตินิยมที่กําลังขยายตัว
ต่อต้าน IMF และพรรคประชาธิปตย์ทเป็นรัฐบาลขณะนัน นายกฯ
                                 ั     ่ี           ้
ชวน หลีกภัยถูกโจมตีจากหลายด้าน ทั้งภาคธุรกิจขนาดใหญ่ นัก
วิชาการ องค์กรประชาสังคมก่นประนามเขาว่าทําลายเศรษฐกิจ รับ
นโยบายจากต่างประเทศ ปล่อยให้ตางชาติเข้ามาฮุบทรัพย์สนของ
                                     ่                     ิ
ไทยในราคาถูก

     ในระหว่างการหาเสียงเลือกตั้งในเดือนมกราคม 2544 พรรค
ไทยรักไทยของทักษิณปราศรัยถึงประเด็นเหล่านี้อย่างดุเดือด พรรค
มีนโยบายให้ความสําคัญกับเศรษฐกิจ สาธารณสุข การศึกษา และ
พลังงาน ในขณะเดียวกันนโยบายสวัสดิการสังคมของไทยรักไทย
และการพัฒนาชนบทก็ได้รับความนิยมอย่างมากจากชนชั้นแรงงาน
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ

More Related Content

Viewers also liked

June 2011 TOP500 Presentation
June 2011 TOP500 PresentationJune 2011 TOP500 Presentation
June 2011 TOP500 Presentationtop500
 
F 3-2011-1-110623082754-phpapp01
F 3-2011-1-110623082754-phpapp01F 3-2011-1-110623082754-phpapp01
F 3-2011-1-110623082754-phpapp01cepmaio
 
40th TOP500 List and Awarding Session
40th TOP500 List and Awarding Session40th TOP500 List and Awarding Session
40th TOP500 List and Awarding Sessiontop500
 
Santa catarina
Santa catarinaSanta catarina
Santa catarinacepmaio
 
MM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - EN
MM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - ENMM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - EN
MM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - ENctc-cct
 
Effects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary students
Effects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary studentsEffects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary students
Effects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary studentsspastudent
 
Nei , teniamoli sotto controllo.
Nei , teniamoli sotto controllo.Nei , teniamoli sotto controllo.
Nei , teniamoli sotto controllo.Cagliostro Puntodue
 
Real world citizenship
Real world citizenshipReal world citizenship
Real world citizenshipmrshixson
 
Apoyo y-seguimiento-docente
Apoyo y-seguimiento-docenteApoyo y-seguimiento-docente
Apoyo y-seguimiento-docentetonio hualpa
 
JPS - It's Time for You to Grade!
JPS - It's Time for You to Grade!JPS - It's Time for You to Grade!
JPS - It's Time for You to Grade!glkeeler
 
Lcf building life
Lcf building lifeLcf building life
Lcf building lifevinod kumar
 
Curso de idiomas globo inglês livro002
Curso de idiomas globo inglês livro002Curso de idiomas globo inglês livro002
Curso de idiomas globo inglês livro002rosemere12
 
Turma m8 2011.1
Turma m8   2011.1Turma m8   2011.1
Turma m8 2011.1cepmaio
 
Power point presentation edu 633
Power point presentation edu 633Power point presentation edu 633
Power point presentation edu 633steven_sterud
 
Sniper fx mm presentation (50k) year 2009
Sniper fx  mm presentation   (50k) year 2009Sniper fx  mm presentation   (50k) year 2009
Sniper fx mm presentation (50k) year 2009Yasser Ghorayeb
 

Viewers also liked (20)

June 2011 TOP500 Presentation
June 2011 TOP500 PresentationJune 2011 TOP500 Presentation
June 2011 TOP500 Presentation
 
F 3-2011-1-110623082754-phpapp01
F 3-2011-1-110623082754-phpapp01F 3-2011-1-110623082754-phpapp01
F 3-2011-1-110623082754-phpapp01
 
40th TOP500 List and Awarding Session
40th TOP500 List and Awarding Session40th TOP500 List and Awarding Session
40th TOP500 List and Awarding Session
 
Santa catarina
Santa catarinaSanta catarina
Santa catarina
 
MM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - EN
MM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - ENMM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - EN
MM - University of Calgary - Nov. 17, 2011 - EN
 
Effects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary students
Effects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary studentsEffects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary students
Effects of Cardiovascular Vs Strength Training on Cognition in Tertiary students
 
Nei , teniamoli sotto controllo.
Nei , teniamoli sotto controllo.Nei , teniamoli sotto controllo.
Nei , teniamoli sotto controllo.
 
Real world citizenship
Real world citizenshipReal world citizenship
Real world citizenship
 
Interstellar Designs
Interstellar DesignsInterstellar Designs
Interstellar Designs
 
Apoyo y-seguimiento-docente
Apoyo y-seguimiento-docenteApoyo y-seguimiento-docente
Apoyo y-seguimiento-docente
 
mpifg_p10_13
mpifg_p10_13mpifg_p10_13
mpifg_p10_13
 
01
0101
01
 
Entradas
EntradasEntradas
Entradas
 
JPS - It's Time for You to Grade!
JPS - It's Time for You to Grade!JPS - It's Time for You to Grade!
JPS - It's Time for You to Grade!
 
Ceará
CearáCeará
Ceará
 
Lcf building life
Lcf building lifeLcf building life
Lcf building life
 
Curso de idiomas globo inglês livro002
Curso de idiomas globo inglês livro002Curso de idiomas globo inglês livro002
Curso de idiomas globo inglês livro002
 
Turma m8 2011.1
Turma m8   2011.1Turma m8   2011.1
Turma m8 2011.1
 
Power point presentation edu 633
Power point presentation edu 633Power point presentation edu 633
Power point presentation edu 633
 
Sniper fx mm presentation (50k) year 2009
Sniper fx  mm presentation   (50k) year 2009Sniper fx  mm presentation   (50k) year 2009
Sniper fx mm presentation (50k) year 2009
 

Similar to 34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ

Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดChor Chang
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรkhamaroon
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai) 60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai) Junya Yimprasert
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายhideuki
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายhideuki
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายhideuki
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550Poramate Minsiri
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 

Similar to 34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ (20)

Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดร
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai) 60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Soc
SocSoc
Soc
 

34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ

  • 1. การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ : ข้อเรียกร้องต่อการแสดงความรับผิดชอบภายใต้พันธกรณีระหว่าง ประเทศ ที่ประเทศไทยมีภาระหน้าที่ในการนําตัวฆาตกรเข้าสู่กระบวนการ ยุติธรรม สมุดปกขาวโดยสํานักกฎหมาย Amsterdam & Peroff
  • 2. บทคัดย่อ เป็นเวลากว่า 4 ปีทประชาชนชาวไทยตกเป็นเหยือของการละเมิดสิทธิ ่ี ่ ขันพืนฐานอย่างต่อเนืองและเป็นระบบ สิทธิดังกล่าวคือสิทธิในการ ้ ้ ่ กําหนดทางเลือกของตนผ่านการเลือกตั้งอย่างแท้จริงที่ดํารงอยู่บน ฐานของเจตจํานงของประชาชน การโจมตีระบอบประชาธิปไตยเริม ่ ขึ้นด้วยการวางแผนและได้รับการลงมือโดยการทํารัฐประหารโดย ทหารเมือปี 2549 เป็นความร่วมมือของสมาชิกของคณะองคมนตรี ผู้ ่ บัญชาการทหารของไทยในการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ตามระบอบประชาธิปไตยของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร หัวหน้า พรรคไทยรักไทย ซึ่งชนะการเลือกตั้งมาถึง 3 สมัยติดต่อกัน ทั้งในปี 2544, 2548 และ 2549 การรัฐประหารในปี 2549 ถือเป็นการเริ่มต้น ในการพยายามที่จะฟื้นฟูอํานาจในการชี้นําของกลุ่มทุนเก่า นาย ทหารระดับสูง ข้าราชการระดับสูง และกลุมองคมนตรี (“กลุมอํานาจ ่ ่ เก่า”) โดยทําลายล้างพลังจากการเลือกตั้งซึ่งได้กลายเป็นสิ่งท้าทาย อํานาจของพวกเขาอย่างสําคัญและเป็นประวัตการณ์ ระบอบทีการ ิ ่ รัฐประหารตั้งขึ้นได้เข้าควบคุมหน่วยงานต่างๆของรัฐบาล ยุบพรรค ไทยรักไทย และตัดสิทธิทางการเมืองของแกนนําพรรคเป็นเวลา 5 ปี
  • 3. เมื่อพรรคที่สืบทอดจากพรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งใน ปลายปี พ.ศ. 2550 ก็กลับถูกศาลเฉพาะกิจ (ad hoc court) อัน ประกอบไปด้วยผู้พิพากษาที่แต่งตั้งโดยผู้ทําการรัฐประหารตัดสินให้ ยุบพรรคนั้นอีก และเปิดทางให้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขึ้นสู่ตําแหน่ง นายกรัฐมนตรี หลังจากนั้น รัฐบาลอภิสิทธิ์ก็ถูกกดดันให้ต้องใช้ มาตรการกดขี่เพื่อรักษาฐานอํานาจอันไม่ชอบธรรมและปราบการ เคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยที่ก่อตัวขึ้นเพื่อตอบโต้การรัฐประหาร โดยทหารเมื่อปี 2549 และการรัฐประหารโดยศาลในปี 2551 หนึ่งใน วิธการกดขีกคอการทีรฐบาลได้บล็อกเวปไซท์ประมาณ 50,000 เวป ี ่ ็ ื ่ ั ปิดสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมของฝ่ายต่อต้านรัฐบาล และกักขังคน จํานวนหนึ่งภายใต้กฎหมายหมิ่นพระบรมราชานุภาพอันเลื่องชื่อของ ไทย และภายใต้พ.ร.บ.การกระทําผิดทางคอมพิวเตอร์ที่โหดร้ายพอๆ กัน เมือเผชิญกับการชุมนุมประท้วงโดยมวลชนทีทาทายอํานาจของ ่ ่ ้ รัฐบาล รัฐบาลก็ได้เชื้อเชิญให้กองทัพเข้ามาจัดการ และได้ระงับ เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญโดยการนําพ.ร.บ.ความมันคงในราช ่ อาณาจักร พร้อมทั้งพระราชกําหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉินซึ่งเข้มงวดยิ่งกว่ามาใช้ ตังแต่วนที่ 7 เมษายน ้ ั 2553 เป็นต้นมา รัฐบาลทหารชุดใหม่ของประเทศในนามของศูนย์ อํานวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ได้เข้ามาปกครอง ประเทศโดยไม่มีมาตรการตรวจสอบความรับผิดใดๆ ภายใต้การ ประกาศ “สถานการณ์ฉุกเฉิน” ที่ถูกประกาศอย่างไม่เหมาะสม ถูก นํามาบังคับใช้อย่างไม่สอดคล้องกับความรุนแรงของสถานการณ์ และใช้อย่างต่อเนืองไม่มกาหนดเพือปิดปากการคัดค้านใดๆ ทีมตอ ่ ี ํ ่ ่ ี ่ รัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง นีเป็นอีกครังทีกลุมอํานาจเก่าไม่ ่ ้ ่ ่ อาจปฏิเสธข้อเรียกร้องเพื่อการปกครองตนเองของประชาชนชาว ไทยได้โดยไม่ต้องหันไปหาระบอบเผด็จการทหาร ในเดือนมีนาคม 2553 เกิดการประท้วงต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่ ในกรุงเทพฯ โดยกลุ่มคนเสื้อแดง หรือที่เรียกว่า “แนวร่วม
  • 4. ประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) การชุมนุมของคน เสื้อแดงดําเนินมาจนถึงวันที่ 66 ในวันที่ 19 พฤษภาคม เมื่อรถหุ้ม เกราะบดขยี้แนวกั้นที่ทําขึ้นชั่วคราวรอบสี่แยกราชประสงค์ใน กรุงเทพฯ และทะลวงค่ายประท้วงของคนเสือแดง หลายสัปดาห์กอน ้ ่ หน้านั้น เมือวันที่ 10 เมษายน กองกําลังทหารพยายามสลายการ ่ ชุมนุมของกลุมเสือแดงทีสะพานผ่านฟ้าแต่ลมเหลว ยังผลให้มีผู้เสีย ่ ้ ่ ้ ชีวต 27 ราย และในการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ระหว่าง ิ วันที่ 13 -19 พฤษภาคม มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 55 ราย นับถึงเวลาที่ บริเวณที่ชุมนุมได้ถูกเคลียร์เรียบร้อย อาคารพาณิชย์สําคัญๆ สอง สามแห่งยังคงมีควันกรุ่น มีผู้เสียชีวิตไปมากกว่า 80 คน และผู้ที่ถูก กล่าวหาว่าเป็นแกนนําการชุมนุมมากกว่า 50 คนอาจเผชิญกับโทษ ประหารชีวตจากข้อหา “ก่อการร้าย” ผู้ชุมนุมหลายร้อยคนยังคงถูก ิ ควบคุมตัวข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณา จักรและพ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึ่งรัฐไทย นํามาใช้เป็นเครืองมือในการทําให้การชุมนุมทางการเมืองทีชอบ ่ ่ ธรรมเป็นเรื่องผิดกฎหมาย ประเทศไทยมีพันธกรณีตามกฎหมายระหว่างประเทศ และ พันธกรณีตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) ในการสืบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรงทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นระหว่างการชุมนุมของคนเสื้อแดง รวมถึงต้องดําเนินคดีกับ เจ้าหน้าทีทหารและพลเรือนซึงอยูภายใต้สายการบังคับบัญชาสําหรับ ่ ่ ่ อาชญากรรมอย่างการสังหารพลเรือนกว่า 80 รายโดยพลการและ ตามอําเภอใจในกรุงเทพฯ ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553 ด้วย ข้อเท็จจริงต่างๆ ปรากฏอย่างชัดเจนว่ามีการละเมิดกฎหมาย ระหว่างประเทศด้วยการใช้กองกําลังทหารอย่างเกินความจําเป็น มี การกักขังโดยพลการต่อเนื่องเป็นเวลานาน และการทําให้หาย สาบสูญ และยังมีระบบการประหัตประหารทางการเมืองที่ปฏิเสธ
  • 5. เสรีภาพในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและในการแสดงออกของ พลเมือง รวมถึงกลุ่มคนเสื้อแดง มีหลักฐานว่ามีการละเมิดสิทธิ มนุษยชนอย่างร้ายแรงเพียงพอที่จะดําเนินการสืบสวนข้อเท็จจริง อย่างเป็นอิสระและเป็นกลาง เพื่อที่ผู้ที่กระทําความผิดกฎหมาย อาญาระหว่างประเทศจะถูกนําตัวเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม นอกจากนี้ การใช้กองกําลังทหารในการปราบปรามกลุ่มคน เสือแดงในเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553 ยังจัดเป็นการประทุษร้าย ้ ประชาชนพลเรือนอย่างเป็นระบบและเป็นวงกว้าง ซึงอาจเข้าข่าย ่ อาชญากรรมต่อมนุษยชาติตามธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญา ระหว่างประเทศซึ่งกําหนดให้จัดตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศในกรุง เฮกอีกด้วย แม้ว่าประเทศไทยจะไม่ได้ให้สัตยาบันต่อธรรมนูญกรุง โรมฯ แต่การโจมตีเช่นนี้ก็อาจจะเป็นเหตุเพียงพอให้ได้รับการ พิจารณาให้เข้าสู่การพิจารณาของศาลอาญาระหว่างประเทศได้หาก เป็นการดําเนินการโดยรู้ถึงการกระทํานั้นภายใต้นโยบายที่ยอมให้ เกิดหรือสนับสนุนให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิตโดยไม่จําเป็น หรือเป็น นโยบายทีออกแบบมาเพือโจมตีกลุมทางการเมืองทีเฉพาะเจาะจง ่ ่ ่ ่ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง มีหลักฐานมากมายทีชวาแผนต่อต้านคนเสือแดงที่ ่ ้ี ่ ้ ดําเนินมาเป็นระยะเวลา 4 ปีนนกําลังดําเนินการอยูในปัจจุบนภายใต้ ้ั ่ ั นโยบายที่รับรองโดยรัฐบาลอภิสิทธิ์ และการสังหารหมู่คนเสื้อแดงที่ เพิ่งผ่านมาก็เป็นเพียงการปฏิบัติตามนโยบายนโยบายดังกล่าวครั้ง ล่าสุดเท่านัน ้ ท้ายที่สุด การสืบสวนเหตุการณ์สังหารหมู่คนเสื้อแดงในเดือน เมษายน- พฤษภาคมทีรฐบาลตังใจจะทํานันปรากฏแล้วว่าทังไม่เป็น ่ ั ้ ้ ้ อิสระและไม่เป็นกลางตามที่ตามกฎหมายระหว่างประเทศกําหนดไว้ ในขณะที่ประเทศไทยอาจมีความผิดเพิ่มเติมกรณีการละเมิดกติกา ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมือง (ICCPR) และ กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ จากที่ไม่ดูแลให้มีการสืบสวน
  • 6. การสังหารหมู่อย่างเป็นธรรมและสมบูรณ์ การกดดันจากนานาชาติ จึงเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ และเพื่อป้องกันความพยายามในการฟอกตัวเองจากเหตุการณ์ดัง กล่าวที่กําลังดําเนินอยู่ของรัฐบาล ความจริงที่ไม่มีใครโต้แย้งได้ก็คือประเทศไทยควรจะก้าวให้พ้น ความรุนแรง และจะต้องดําเนินการเพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ แต่ ทว่าความสมานฉันท์นั้นจําเป็นต้องเริ่มด้วยการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน ของประชาชนในการปกครองตนเอง ยิ่งไปกว่านั้นการที่จะทําให้มี การสมานฉันท์ จะต้องมีการดําเนินการตามกฎหมายเพื่อให้ผู้ที่สั่ง การให้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรงที่กระทําไปเพื่อยับยั้ง สิทธิในการปกครองตนเองนั้นต้องรับผิด กฎหมายระหว่างประเทศ กําหนดไว้ว่าไม่อาจยอมรับสิ่งที่น้อยไปกว่านี้ได้
  • 7.
  • 8. สารบัญ บทนํา ……………………………………………………………………… ……………7 เส้นทางไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย ตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทย ……………………………………………………16 การขึ้นสู่อํานาจของพรรคไทยรักไทย ……………………………………………….20 ถนนสู่การปฏิวัติ 2549 …………………………………………………………..........27 การฟื้นฟูระบอบอํามาตยาธิปไตยอย่างผิด กฎหมาย............................................33 5.1 การยึดอํานาจโดยทหาร ……………………………………………………………..34 5.2 ระเบียบรัฐธรรมนูญใหม่ ……………………………………………………………..37 5.3 การยุบพรรคไทยรักไทย ……………………………………………………………… 40 5.4 การรัฐประหารทางศาลและเหตุการณ์ความวุ่นวายที่ถูกจัด ตั้งขึ้น …………………..42 ฤดูร้อนสีดําของประเทศไทย: การสังหารหมู่คนเสื้อ แดง………………………………52 6.1 คนเสื้อแดงต้องการอะไร ……………………………………………………………...52 6.2 มาตรการอันผิดกฎหมายของการรณรงค์ประหัตประหาร และความรุนแรง ………….56 6.3 บดขยีคนเสือแดง ้ ้
  • 9. ……………………………………………………………… ……..61 6.4 มาตรฐานสากลว่าด้วยการใช้กําลัง …………………………………………………..66 ฤดูกาลใหม่ของการปกครองโดย ทหาร………………………………………………..70 7.1 พระราชบัญญัติความมั่นคงภายใน …………………………………………………..71 7.2 การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ……………………………………………………...73 7.3 การควบคุมข้อมูลข่าวสาร …………………………………………………………….75 7.4 เสื้อแดงนะหรือคือผู้ก่อการร้าย ……………………………………………………….76 ข้อเรียกร้องหาความ ยุติธรรม…………………………………………………………… 84 8.1 หน้าที่ในการสืบสวนและหาผู้กระทําความผิดของ ประเทศไทย ………………………84 8.2 การสังหารโดยพลการและตามอําเภอใจ: การละเมิดสิทธิ มนุษยชนที่ร้ายแรงอื่นๆ …..87 8.3 การประหัตประหารทางการเมือง ……………………………………………………...90 8.4 อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ……………………………………………………………94 8.5 หลักฐานเรื่องการพยายามปกปิด ……………………………………………………..99 8.6 ความเป็นธรรมสําหรับผู้ถูกกล่าวหา …………………………………………………..104 บทสรุป : หนทางเดียวสู่ความปรองดอง ………………………………………………….106
  • 10.
  • 11. บทนํา ในปีพ.ศ. 2541 ผมก่อตั้งพรรคไทยรักไทยภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับ แรกของประเทศไทยที่เป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง รัฐธรรมนูญ ฉบับที่เรียกกันว่ารัฐธรรมนูญฉบับประชาชนนี้มอบการเป็นตัวแทน อย่างแท้จริงในกระบวนการเลือกตั้งแก่พี่น้องชาวไทยเป็นครั้งแรก ในฐานะนายกรัฐมนตรี ผมพยายามดําเนินนโยบายสาธารณะต่างๆ ที่ได้เสนอไว้ในช่วงหาเสียงเลือกตั้ง และผมเชือว่าคนไทยส่วนใหญ่ก็ ่ เห็นด้วยกับข้อเท็จจริงทีวา เสียงของพวกเขาได้รับการสดับรับฟัง นี่ ่ ่ เป็นเหตุผลที่ทําให้พรรคไทยรักไทยได้รับความนิยมและแข็งแกร่ง ในปี 2549 การรัฐประหารได้ช่วงชิงสิทธิในการเลือกตั้งของพี่ น้องประชาชนไป ซึงทําให้คนไทยส่วนใหญ่ของประเทศไม่พอใจ และ ่ ทําให้พนองประชาชนจํานวนมากลุกขึนมาต่อต้าน แต่แทนทีจะ ่ี ้ ้ ่ ยอมรับฟังข้อเรียกร้องของพวกเขา กลุมอํานาจเก่าทีนยมระบอบ ่ ่ ิ เผด็จการกลับพยายามที่จะกําจัดพี่น้องประชาชนคนไทย ความ ทะยานอยากของคนกลุ่มนี้เป็นอันตรายยิ่ง อีกทั้งยังรุกล้ําจิตวิญญาณ ของความเป็นมนุษย์ ผมได้ขอให้สํานักกฎหมาย อัมสเตอร์ดัม แอนด์ เปรอฟ เข้ามา
  • 12. ทําการศึกษากรณีของการประท้วงของกลุ่มคนเสื้อแดงเมื่อวันที่ 10 เมษายน และ 19 พฤษภาคม 2553 ว่าเป็นการชุมนุมทางการเมืองเพื่อ เรียกร้องประชาธิปไตยตามมาตรฐานกฎหมายระหว่างประเทศหรือ ไม่ ผมยังได้ขอให้สํานักกฎหมายดังกล่าวศึกษากระบวนการทําลาย ระบอบประชาธิปไตยทีมงเป้ามาทีกลุมคนเสือแดง และศึกษานัยยะ ่ ุ่ ่ ่ ้ ของเหตุการณ์เหล่านั้นภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ โลกควรจะ ได้เข้าใจว่าในประเทศไทยประชาธิปไตยที่แท้จริงกําลังถูกทําร้าย ผมเชือว่าการเลือกตังจะเกิดขึนในไม่ชา อย่างไรก็ตามหากการ ่ ้ ้ ้ เลือกตั้งหมายถึงการก้าวไปสู่ความสมานฉันท์ การเลือกตั้งเช่นนั้นจะ ต้องตอบข้อกังวลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการเสริมสร้างอํานาจประชาชน และการฟื้นฟูประเทศไทยให้เป็นรัฐประชาธิปไตยแบบที่ไม่กีดกันคน กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งและในขณะเดียวกัน เราต้องปฏิเสธการใช้ความ รุนแรงเพื่อเป็นเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายทางการเมือง สันติสุขที่แท้จริงจะมีได้ก็ต่อเมื่อทุกฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมในทางการ เมืองได้อย่างแท้จริง ดร. ทักษิณ ชินวัตร
  • 13. การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ : ข้อเรียกร้องต่อการแสดงความรับผิดชอบภายใต้พันธกรณีระหว่าง ประเทศ ที่ประเทศไทยมีภาระหน้าที่ในการนําตัวฆาตกรเข้าสู่กระบวนการ ยุติธรรม สมุดปกขาวโดยสํานักกฎหมาย Amsterdam & Peroff
  • 14. 1. บทนํา เป็นเวลากว่า 4 ปีทประชาชนชาวไทยตกเป็นเหยือของการ ่ี ่ ละเมิดสิทธิขนพืนฐานอย่างต่อเนืองและเป็นระบบ สิทธิดังกล่าวคือ ้ั ้ ่ สิทธิในการกําหนดทางเลือกของตนโดยผ่านการเลือกตั้งอย่าง แท้จริงทีดารงอยูบนฐานของเจตจํานงของประชาชน การโจมตี ่ ํ ่ ระบอบประชาธิปไตยเริ่มขึ้นด้วยการวางแผนและลงมือกระทําการ รัฐประหารโดยทหารเมื่อปี 2549 ด้วยความร่วมมือกับสมาชิก องคมนตรี ผู้บัญชาการทหาร ของไทยล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการ เลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคไทยรักไทย ซึ่งชนะการเลือกตั้งมาถึง 3 สมัยติดต่อกัน ทั้งในปี 2544, 2548 และ 2549 ระบอบที่การรัฐประหารตั้งขึ้นได้เข้า ควบคุมหน่วยงานต่างๆของรัฐบาล ยุบพรรคไทยรักไทย และตัดสิทธิ ทางการเมืองของแกนนําพรรคเป็นเวลา 5 ปี การที่อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้เป็นนายกรัฐมนตรีก็ด้วยเหตุผลเดียวนั่นก็คือเพราะ พรรคการเมืองต่างๆ ทีชนะการเลือกตังตามระบอบประชาธิปไตย ่ ้ ตลอดการเลือกตั้งสี่ครั้งที่ผ่านมาถูกยุบไป การรัฐประหารในปี 2549 ถือเป็นการเริ่มต้นในการพยายามที่
  • 15. จะฟืนฟูอานาจนําของกลุมทุนเก่า นายทหารระดับสูง ข้าราชการ ้ ํ ่ ระดับสูง และกลุมองคมนตรี ซึงจะขอรวมเรียกว่าเป็น “กลุมอํานาจ ่ ่ ่ เก่า” ซึ่งการฟื้นฟูระบอบที่กลุ่มอํานาจเก่าต้องการนั้นจะสําเร็จได้ก็ ต้องทําลายพรรคไทยรักไทยเป็นอันดับแรก เพราะพรรคไทยรักไทย เป็นพลังทางการเลือกตั้งที่ได้กลายเป็นสิ่งท้าทายอํานาจของกลุ่ม อํานาจเก่าอย่างสําคัญและเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ และหลัง จากนั้นกลุ่มอํานาจเก่าก็ไม่อาจหยุดยั้งการกวาดล้างขบวนการเรียก ร้องประชาธิปไตยทีเกิดขึนตามมา ่ ้ พรรคไทยรักไทยเป็นพรรคการเมืองแรกในประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้รับความนิยมสูงสุดให้มาปกครองประเทศ อันเป็นการไปขัดขวาง ธรรมเนียมปฏิบตอนยาวนานทีรฐบาลผสมทีออนแอจะได้เข้ามารับใช้ ั ิ ั ่ ั ่ ่ ตามอําเภอใจของกลุมอํานาจเก่า ด้วยการเสริมอํานาจของฐานเสียง ่ ทีถกเบียดขับไปอยูชายขอบของชีวตทางการเมืองของประเทศมา ่ ู ่ ิ ยาวนาน พรรคไทยรักไทยได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในระดับ ที่ไม่เคยมีมาก่อน ทําให้พรรคฯ รูสกว่าไม่จาเป็นต้องสยบยอมมอบ ้ ึ ํ อํานาจใดๆ ที่รัฐธรรมนูญได้มีให้รัฐบาลจากการเลือกตั้งแก่พวกกลุ่ม อํานาจเก่า การบริหารจัดการของพรรคฯ จึงเป็นไปเพื่อยืนยันการ ควบคุมกระบวนการกําหนดนโยบาย การให้ทหารอยู่ภายใต้การ ควบคุมของพลเรือน และการทําลายเครือข่ายระบบอุปถัมภ์ทสมาชิก ่ี อันทรงอํานาจของคณะองคมนตรีได้ใช้อทธิพลของตนเหนือ ิ ข้าราชการ ระบบตุลาการ และกองกําลังทหาร ทั้งสองด้านของ นโยบายเศรษฐกิจแบบคูขนาน (dual track) ที่รัฐบาลไทยรักไทยได้ ่ ดําเนินการอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีเสียงข้างมากในสภานั้น ยิ่งทําให้ บรรดานักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพฯ ถอนการสนับสนุนทักษิณ ในขณะ ที่นโยบายเปิดตลาดเสรีของพรรคไทยรักไทยได้ทําให้กลุ่มธุรกิจ ขนาดใหญ่ที่อิงกลุ่มอํานาจเก่าต้องมีการแข่งขันมากขึ้น ความนิยมที่ มีต่อโครงการต่างๆ ทีตอบสนองต่อความจําเป็นของเกษตรกรในต่าง ่ จังหวัดและคนจนเมืองก็ทาให้รฐบาลยืนหยัดต่อแรงกดดันทีมาจาก ํ ั ่
  • 16. กลุมตัวละครหลักๆ ของกลุมอํานาจเก่าไว้ได้ ่ ่ เมือไม่สามารถจะขจัดหรือบันทอนรัฐบาลทีมาจากการเลือกตัง ่ ่ ่ ้ ได้ด้วยวิธีใดๆ ทหารจึงใช้ยุทธวิธีในการยกขบวนรถถังและกอง กําลังพิเศษเข้ามาทวงประเทศคืนจากตัวแทนของประชาชน หลังจากการรัฐประหารเป็นต้นมา พวกกลุ่มอํานาจเก่าก็ได้ พยายามที่จะรวบรวมอํานาจทางการเมืองของตน ในขณะเดียวกันก็ ถอยไปซ่อนตัวอยูหลังฉากทีสร้างภาพว่าเป็นประชาธิปไตยแบบมี ่ ่ รัฐธรรมนูญ กลุ่มอํานาจเก่าได้ใช้การรณรงค์อย่างไม่หยุดหย่อนเพื่อ กําจัดพรรคไทยรักไทยออกจากพื้นที่ทางการเมืองไทย เพือให้มนใจ ่ ่ั ได้วาจะกลับไปสูการมีรฐบาลอ่อนแอทียอมรับใช้ผลประโยชน์ของ ่ ่ ั ่ กลุมอํานาจเก่า เมื่อแผนนี้ไม่สําเร็จ กลุ่มอํานาจเก่าจึงต้องหันไปพึ่ง ่ ฝ่ายตุลาการที่ถูกทําให้เข้ามามีส่วนพัวพันทางการเมืองอย่างมาก และได้รบอํานาจตามรัฐธรรมนูญฉบับปีพ.ศ. 2550 ให้สามารถล้มผล ั การเลือกตั้งที่ดําเนินอย่างเสรีได้ เพียงเพื่อทําให้การกําจัดรัฐบาล ที่มาจากการเลือกตั้งนั้นดูเป็นสิ่งที่ถูกต้องตามกฎหมาย ด้วยการครอบงําศาล และด้วยความสําเร็จบางส่วนในการ ทําให้ฝ่ายนิติบัญญัติในรัฐบาลผสมของทักษิณอ่อนแอลง และด้วย ความวุ่นวายที่ก่อโดยกลุ่มการเมืองนอกรัฐสภาอย่างพันธมิตร ประชาชนเพือประชาธิปไตย (พธม.) กลุ่มอํานาจเก่าก็สามารถทําให้ ่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีได้ ทว่าหลังจากนัน ้ รัฐบาลอภิสิทธิ์ก็ถูกกดดันให้ต้องใช้มาตรการกดขี่เพื่อรักษาฐาน อํานาจอันไม่ชอบธรรมและปราบปรามการเคลือนไหวเพือ ่ ่ ประชาธิปไตยที่ก่อตัวขึ้นเพื่อตอบโต้การรัฐประหารโดยทหารเมื่อปี 2549 และการรัฐประหารโดยศาลในปี 2551 หนึ่งในวิธีการกดขี่ก็คือ การทีรฐบาลได้บล็อกเวปไซท์ประมาณ 50,000 เวป ปิดสถานีโทรทัศน์ ่ ั ดาวเทียมของฝ่ายต่อต้านรัฐบาล และกักขังคนจํานวนหนึ่งภายใต้
  • 17. กฎหมายหมิ่นพระบรมราชานุภาพอันเลื่องชื่อของไทย และภายใต้ พ.ร.บ.การกระทําผิดทางคอมพิวเตอร์ที่โหดร้ายพอๆ กัน เมือเผชิญ ่ กับการชุมนุมประท้วงโดยมวลชนทีทาทายอํานาจของรัฐบาล รัฐบาล ่ ้ ก็ได้เชือเชิญให้กองทัพเข้ามาจัดการ และได้ระงับเสรีภาพตาม ้ รัฐธรรมนูญโดยการนําพ.ร.บ.ความมันคงในราชอาณาจักร พร้อมทั้ง ่ พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินซึ่งเข้มงวด ยิ่งกว่ามาใช้ ตังแต่วนที่ 7 เมษายน 2553 เป็นต้นมา รัฐบาลทหารชุด ้ ั ใหม่ของประเทศในนามของศูนย์อํานวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ได้เข้ามาปกครองประเทศโดยไม่มีมาตรการตรวจสอบความ รับผิดใดๆ ภายใต้การประกาศ “สถานการณ์ฉุกเฉิน” ที่ถูกประกาศ อย่างไม่เหมาะสม ถูกนํามาบังคับใช้อย่างไม่สอดคล้องกับความ รุนแรงของสถานการณ์ และใช้อย่างต่อเนืองอย่างไม่มกาหนดเพือที่ ่ ี ํ ่ จะปิดปากการคัดค้านใดๆ ที่มีต่อรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง นี่เป็นอีกครั้งที่กลุ่มอํานาจเก่าไม่อาจปฏิเสธข้อเรียกร้องเพื่อการ ปกครองตนเองของประชาชนชาวไทยได้โดยไม่ตองหันไปหาระบอบ้ เผด็จการทหาร ในเดือนมีนาคม 2553 เกิดการประท้วงต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่ ในกรุงเทพฯ โดยกลุ่มคนเสื้อแดง หรือที่เรียกว่า “แนวร่วม ประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) การชุมนุมของคน เสื้อแดงดําเนินมาจนถึงวันที่ 66 ในวันที่ 19 พฤษภาคม เมื่อรถหุ้ม เกราะบดขยี้แนวกั้นที่ทําขึ้นชั่วคราวรอบสี่แยกราชประสงค์ใน กรุงเทพฯ และทะลวงค่ายประท้วงของคนเสือแดง หลายสัปดาห์กอน ้ ่ หน้านั้น เมือวันที่ 10 เมษายน กองกําลังทหารพยายามสลายการ ่ ชุมนุมของกลุมเสือแดงทีสะพานผ่านฟ้าแต่ลมเหลว ยังผลให้มีผู้เสีย ่ ้ ่ ้ ชีวต 27 ราย และในการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ระหว่าง ิ วันที่ 13 -19 พฤษภาคม มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 55 ราย เมือต้อง ่ เผชิญกับความพ่ายแพ้ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แกนนํานปช. ได้ประกาศยุติ การชุมนุมและยอมมอบตัวกับตํารวจ
  • 18. พยานนับร้อยๆ คน และวิดโอคลิปพันๆ คลิป ได้บันทึกการใช้ ี กระสุนจริงอย่างเป็นระบบโดยกองกําลังฝ่ายความมั่นคงของไทยต่อ พลเรือนที่ไร้อาวุธ รวมถึงนักข่าวและเจ้าหน้าที่หน่วยแพทย์ฉุกเฉินใน เดือนเมษายนและพฤษภาคม นับถึงเวลาทีบริเวณทีชมนุมได้ถก ่ ่ ุ ู เคลียร์เรียบร้อย อาคารพาณิชย์สําคัญๆ สองสามแห่งยังคงมีควัน กรุ่น มีผู้เสียชีวิตไปมากกว่า 80 คน และผูทถกกล่าวหาว่าเป็นแกนนํา ้ ่ี ู การชุมนุมมากกว่า 50 คนอาจเผชิญกับโทษประหารชีวตจากข้อหา ิ “ก่อการร้าย” ผู้ชุมนุมหลายร้อยคนยังคงถูกควบคุมตัวข้อหาฝ่า ฝืนพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรและพ.ร.ก.การ บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึงรัฐบาลไทยนํามาใช้เป็น ่ เครื่องมือในการทําให้การชุมนุมทางการเมืองที่ชอบธรรมกลับกลาย เป็นเรื่องผิดกฎหมาย นอกจากนี้ยังมีการออกหมายจับจํานวนสูงถึง แปดร้อยหมาย และทางการยังได้สั่งแช่แข็งบัญชีธนาคารของผู้ที่ถูก กล่าวหาว่าร่วมขบวนการและอาจเป็นผู้สนับสนุนทางการเงินแก่น ปช.อีกอย่างน้อย 83 ราย ทีนาสลดใจก็คอ แกนนําคนเสื้อแดงในท้อง ่ ่ ื ถิ่นต่างๆ ได้ถูกลอบสังหารในชลบุรี นครราชสีมา และปทุมธานี ท่ามกลางเหตุการณ์ที่น่าสลดอันเป็นจุดสูงสุดของโครงการสี่ปี ในการโค่นเจตนารมย์ของประชาชนเพือให้เป็นไปตามความต้องการ ่ ของกลุมอํานาจเก่า สมุดปกขาวเล่มนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ่ วัตถุประสงค์ข้อแรก คือ เพื่อเน้นถึงพันธกรณีของประไทยตาม กฎหมายระหว่างประเทศ และพันธกรณีตามกติการะหว่างประเทศว่า ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) ในการสืบสวนการละเมิดสิทธิ มนุษยชนขั้นร้ายแรงทั้งหลายที่เกิดขึ้นระหว่างการชุมนุมของคนเสื้อ แดง รวมถึงต้องดําเนินคดีกับเจ้าหน้าที่ทหารและพลเรือนซึ่งอยู่ภาย ใต้สายการบังคับบัญชาสําหรับอาชญากรรมอย่างการสังหาร
  • 19. พลเรือนกว่า 80 รายโดยพลการและตามอําเภอใจในกรุงเทพฯ ใน ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคมด้วย ข้อเท็จจริงต่างๆ ปรากฏอย่าง ชัดเจนว่ามีการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศด้วยการใช้กองกําลัง ทหารอย่างเกินความจําเป็น การกักขังโดยพลการต่อเนื่องเป็นเวลา นาน และการทําให้ประชาชนบางส่วนหายสาบสูญ และยังมีระบบการ ประหัตประหารทางการเมืองที่ปฏิเสธเสรีภาพในการมีส่วนร่วม ทางการเมืองและในการแสดงออกของพลเมืองของกลุ่มคนเสื้อแดง มีหลักฐานว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงเพียงพอที่จะ ดําเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงอย่างเป็นอิสระและเป็นกลาง เพื่อที่ผู้ที่ กระทําความผิดกฎหมายอาญาระหว่างประเทศจะถูกนําตัวเข้าสู่ กระบวนการยุติธรรม จากประวัตศาสตร์ความเป็นปรปักษ์ตอการ ิ ่ เคลือนไหวของกลุมคนเสือแดง ทําให้เป็นการสมเหตุสมผลที่จะ ่ ่ ้ ยืนยันให้มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ อย่างเหมาะสม ด้วยหน่วย งานที่เป็นกลางและเป็นอิสระ เพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบต้องการละเมิด กฎหมายและสิทธิมนุษยชนดังกล่าวจะต้องรับผิดตามที่กําหนดโดย กฎหมายระหว่างประเทศ เป้าหมายประการที่สอง เกี่ยวข้องกับพันธกรณีของประเทศไทย ในการสืบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่อาจเกิดขึ้นในด้านสิทธิ ทางการเมือง หลังจากการรัฐประหารในปี 2549 และในระหว่างที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ดํารงแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลที่มีทหาร หนุนหลังพยายามที่จะรวบรวมอํานาจของตนโดยการกดขี่ปราบ ปรามการคัดค้านทางการเมืองของกลุ่มคนเสื้อแดง มาตรการ ประการหนึ่งก็คือ การปราบปรามขบวนการเคลื่อนไหวนั้นโดยมีการ ประทุษร้ายประชาชนพลเรือนทีไร้อาวุธอย่างเป็นระบบและอย่างเป็น ่ วงกว้าง ซึงอาจเข้าข่ายอาชญากรรมต่อมนุษยชาติตามธรรมนูญกรุง ่ โรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศซึงกําหนดให้จดตังศาลอาญา ่ ั ้ ระหว่างประเทศในกรุงเฮกอีกด้วย แม้วาประเทศไทยจะไม่ได้ให้ ่ สัตยาบันต่อธรรมนูญกรุงโรมฯ แต่การกระทําผิดต่อกลุ่มคนเสื้อแดง
  • 20. อย่างร้ายแรงนี้ก็อาจจะเป็นเหตุเพียงพอให้ได้รับการพิจารณาให้เข้า สู่การพิจารณาของศาลอาญาระหว่างประเทศได้หากเป็นการดําเนิน การโดยรู้ถึงการกระทํานั้นภายใต้นโยบายที่ยอมให้เกิดหรือ สนับสนุนให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิตโดยไม่จําเป็น หรือเป็นนโยบาย ที่มีเป้าหมายเพื่อโจมตีกลุ่มทางการเมืองกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ เจาะจง มีหลักฐานมากมายทีชวาแผนต่อต้านคนเสือแดงทีดาเนินมา ่ ้ี ่ ้ ่ ํ เป็นระยะเวลา 4 ปีและทีกาลังดําเนินการอยูในปัจจุบนภายใต้ ่ ํ ่ ั นโยบายที่รับรองโดยรัฐบาลอภิสิทธิ์ และการสังหารหมู่คนเสื้อแดงที่ เพิ่งผ่านมาก็เป็นเพียงการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวครั้งล่าสุด เท่านั้น สมุดปกขาวเล่มนี้ศึกษาการเกิดขึ้นของความรุนแรงใน ประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติการทางทหารในเดือนเมษายนและ เดือนพฤษภาคม 2553 รวมทังการปราบปรามในเดือนเมษายนปี ้ 2552 ทีมประชาชนเสียชีวตอย่างน้อย 2 คน จากแง่มมของหลัก ่ ี ิ ุ ประกันตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมือง หลักฐานต่างๆ นั้นเพียงพอต่อการสืบสวนโดยหน่วย งานที่เป็นอิสระและเป็นกลางถึงนัยยะทางอาญาของการประหัต ประหารทางการเมืองเช่นนี้ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์ประการที่สามของสมุดปกขาวเล่มนี้คือเพื่อยืนยัน ถึงสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศของสมาชิกนปช.หลายร้อยคน ทีกาลังเผชิญข้อกล่าวหาทางอาญาจากการเข้าร่วมการชุมนุมของ ่ ํ กลุ่มคนเสื้อแดง กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมืองรับรองสิทธิในการต่อสู้ดคีอย่างยุติธรรม รวมถึงสิทธิที่ จะเลือกทนายของตนเอง เพื่อเตรียมการต่อสู้คดีโดยมีเวลาและสิ่ง อํานวยความสะดวกอย่างเพียงพอ และสิทธิในการสามารถเข้าถึง หลักฐานได้อย่างเท่าเทียม ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิในการตรวจสอบหลัก ฐานอย่างอิสระผ่านทางผู้เชี่ยวชาญหรือทนายของตนเอง ภายใต้
  • 21. เงื่อนไขเดียวกันกับรัฐบาล และมีสิทธิในการเรียกพยานหลักฐานฝ่าย ตนเพื่อแก้ต่างให้ตนเองได้ เพือเป็นการตอบสนองต่อข้อประท้วงของนานาชาติเกียวกับ ่ ่ ความรุนแรงในเดือนเมษายนและพฤษภาคม นายอภิสิทธิ์ได้ประกาศ โร้ดแมปเพื่อการปรองดองและได้ตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง ขึ้นมาอย่างเป็นทางการ สิ่งที่หายไปจากโร้ดแมปของอภิสิทธิ์ก็คือ ความเป็นอิสระและความเป็นกลางอย่างแท้จริงในกระบวนการตรวจ สอบตัวเอง นายคณิต ณ นคร อดีตอัยการสูงสุด ที่ได้รบแต่งตั้งให้นํา คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ได้บอกกับสือมวลชนในเกือบจะใน ่ ทันทีทันใดว่าเขาสนใจในการ “ส่งเสริมการให้อภัย” มากกว่าการ เรียนรู้ข้อเท็จจริง การละเลยเช่นนีอาจจะสอดคล้องกับแนวความคิด ้ เรื่องการปรองดองแบบเดิมๆ ของไทย ที่ให้นิรโทษกรรมแก่ผู้ที่ สังหารผู้ชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยในปี 2516, 2519 และ 2535 หลายร้อยคน แต่ไม่ทําอะไรกับการสืบหาข้อเท็จจริงหรือส่งเสริมการ สมานฉันท์ที่แท้จริงเลย ปัจจัยหลายอย่างได้ชให้เห็นว่าจําเป็นทีจะต้องมีการเข้ามา ้ี ่ เกี่ยวข้องจากประชาคมโลก เพื่อรักษาการสืบสวนการละเมิดสิทธิ มนุษยชนที่เกิดขึ้นทุกกรณีอย่างเป็นอิสระและเป็นกลาง ประการแรก รัฐบาลไม่มีทีท่าจะยอมอ่อนข้อในการยึดอํานาจทางการเมือง โดย การให้ผู้นําทหารและพลเรือนถูกดําเนินคดีอาชญากรรมระหว่าง ประเทศ ประการที่สอง การกักขังที่ยาวนานและการไม่สนใจที่จะ ดําเนินคดีอย่างเป็นธรรมต่อคนเสื้อแดงหลายร้อยคนที่ถูกรัฐบาล ตัดสินไปล่วงหน้าแล้วว่าเป็น “ผู้ก่อการร้าย” นั้นทําให้เกิดการตั้ง คําถามถึงความเป็นธรรมของการสอบข้อเท็จจริงในกรณีนี้ ประการ ที่สาม คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงของอภิสิทธิ์ทํางานรับใช้ความ ต้องการของนายกรัฐมนตรี และไม่มหน้าทีทชดเจนในการสืบสวน ี ่ ่ี ั หรือดําเนินคดีกบรัฐบาล ส่วนความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ั
  • 22. ของคณะกรรมการก็ถูกขัดขวางโดยกฎระเบียบต่างๆ ที่ออกภายใต้ การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่ถูกเหมือนจะยังคงมีผลในช่วงเวลา ส่วนใหญ่ของการดําเนินการของคณะกรรมการ ประการสุดท้าย การวิเคราะห์หลักฐานของรัฐบาลไทยนั้นมีแนวโน้มจะโอนเอียงและ เชื่อถือไม่ได้เช่นที่มักจะเป็นในทุกครั้งที่รัฐบาลต้องทําการตรวจสอบ การกระทําผิดของตัวเอง การที่รัฐบาลยึดมั่นกับผู้สืบสวนที่เลือกมา จากฐานของการถือข้างมากกว่าจากฐานของความเชี่ยวชาญทําให้ กระบวนการไต่สวนทั้งหมดมีมลทิน การสืบสวนข้อเท็จจริงทีมอคติ ่ ี ไม่เป็นกลาง และตอบสนองผลประโยชน์ของรัฐบาลทหารนั้นก็เท่ากับ ไม่มีการสืบสวนเลย ทุกคนย่อมยอมรับความจริงทีวาประเทศไทยควรจะก้าวให้พน ่ ่ ้ ความรุนแรง และดําเนินการให้เกิดความปรองดอง ทว่าความ ปรองดองนั้นจําเป็นต้องเริ่มด้วยการฟื้นคืนสิทธิขั้นพื้นฐานของ ประชาชนในการปกครองตนเอง ยิ่งไปกว่านั้นความปรองดองนี้ยัง ต้องการความรับผิดอย่างเต็มที่ต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้าย แรงที่กระทําไปเพื่อยับยั้งสิทธิในการปกครองตนเองนั้น กฎหมาย ระหว่างประเทศกําหนดไว้ว่าไม่อาจยอมรับสิ่งที่น้อยไปกว่านี้ได้
  • 23. 2. เส้นทางไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย ตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทย ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบ “ประชาธิปไตย” มาตั้งแต่การ เปลียนแปลงระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น ่ ระบอบภายใต้รัฐธรรมนูญเมื่อปีพ.ศ. 2475 ในรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว ในความจริง นอกจากช่วงเวลาทีเป็น ่ ั ่ เผด็จการทหารอย่างรุนแรงในระหว่างปี พ.ศ. 2501- 2512 แล้ว ประเทศไทยมีการเลือกตั้งฝ่ายนิติบัญญัติเป็นประจํามาตั้งแต่ เปลียนแปลงการปกครอง ทว่า อํานาจมักจะถูกเปลียนมือด้วยการ ่ ่ รัฐประหารโดยทหารมากกว่าด้วยกระบวนการตามรัฐธรรมนูญที่ว่า ด้วยการเปลียนแปลงรัฐบาล และจะมีการนํารัฐธรรมนูญฉบับที่ ่ สนับสนุนโดยทหารและรัฐบาลที่แต่งตั้งโดยทหารเข้ามาบังคับใช้ แทนที่รัฐธรรมนูญและรัฐบาลของช่วงเวลานั้น รัฐธรรมนูญในช่วง หลังมักจะถูกร่างขึ้นเพื่อรักษาการควบคุมของกลุ่มที่ก่อการ รัฐประหาร ไม่ว่าผู้ก่อการจะตั้งใจใช้อํานาจโดยตรงหรือโดยอ้อมผ่าน ทางการให้ตวแทนหรือการเข้าควบคุมจัดการรัฐบาลพลเรือนที่ ั อ่อนแอ การจัดการเช่นนีจะยังคงมีผลบังคับใช้ไปจนกว่าจะมีกลุม ้ ่ ทหารกลุ่มอื่นทํารัฐประหารครั้งใหม่ และนํารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ ออกแบบมาเพือทําให้สมดุลย์อานาจใหม่ได้รบการรับรองใน ่ ํ ั
  • 24. กฎหมายขึ้นมาใช้ วิธปฏิบตเช่นนีดาเนินเรือยมา ผ่านทางการ ี ั ิ ้ ํ ่ รัฐประหารโดยทหารที่สําเร็จ 11 ครั้ง รัฐธรรมนูญ 14 ฉบับ และ แผนการและปฏิบัติการล้มล้างรัฐบาลที่ไม่สําเร็จอีกหลายครั้ง ตังแต่ ้ เดือนมิถุนายน 2475 มาจนถึงเดือนพฤษภาคม 2535 ตลอดช่วงเวลาเหล่านี้ ประเทศไทยมีชวง “ประชาธิปไตย” สั้นๆ ่ เพียงสามครั้งที่หยั่งรากอยู่ในเสรีภาพในการแสดงความเห็นและ การแข่งขันในการเลือกตั้งอย่างแท้จริง โดยครั้งแรกคือหลังจากการ ใช้รัฐธรรมนูญฉบับพ.ศ. 2507 และครั้งที่สองคือหลังจากการประท้วง ใหญ่ในปี 2516 ครั้งที่สามคือหลังการเลือกตั้งที่ได้พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี เมือปี 2531 ในทั้งสามครั้งนี้รัฐบาลที่มา ่ จากการเลือกตั้งถูกล้มล้างด้วยกระบอกปืนของกองกําลังทหาร และ ถูกแทนทีดวยระบอบทีเหมาะสมกับการคุมครองอํานาจของกลุม ่ ้ ่ ้ ่ อํานาจเก่าและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของพวกเขา มากกว่า นอกจากช่วงเวลาสั้นๆ เหล่านันแล้ว ประเทศไทยตังแต่ปี 2547 ้ ้ เป็นต้นมาถูกปกครองโดยระบอบที่มีส่วนผสมของประชาธิปไตยและ เผด็จการแตกต่างกันไป สิ่งที่ทุกระบอบมีเหมือนกันก็คือ เครือข่าย ของเจ้าหน้าที่รัฐในราชการพลเรือนและทหาร หรือที่เรียกว่ากลุ่ม อํามาตย์ ทีทาหน้าทีเป็นศูนย์กลางของอํานาจทางการเมืองทีแท้จริง ่ ํ ่ ่ ไม่ใช่ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนขึ้นมา ผูแทนของประชาชน ้ มีอิสรภาพระดับหนึ่ง และมีมากขึ้นในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา แต่ ภายใต้ระบบอํามาตยาธิปไตย (คําที่ใช้เรียกระบบรัฐบาลที่ถูก ควบคุมโดยกลุมอํามาตย์ มักจะใช้ในทางตรงข้ามกับ ่ “ประชาธิปไตย”) รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งไม่เคยได้รับสิทธิใน การกําหนดให้ทหารอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน และเข้า ควบคุมกระบวนการกําหนดนโยบายทางทหารได้ ทีจริงแล้ว แนวคิด ่ เรื่อง “ประชาธิปไตยแบบไทยๆ” ได้ถูกจัดขึ้นโดยรัฐไทยตั้งแต่ช่วง
  • 25. ต้นทศวรรษที่ 2500 เป็นต้นมา โดยหมายถึงรูปแบบรัฐบาลที่มีการ เลือกตั้งเกิดขึ้น แต่มีการกําหนดข้อจํากัดเข้มงวดเรื่องเสรีภาพของ พลเมือง และเรืองขอบเขตอํานาจทีเจ้าหน้าทีทมาจากการเลือกตัง ่ ่ ่ ่ี ้ สามารถใช้ได้ ระบบรัฐบาลแบบนี้ที่อยู่บนฐานของการยินยอมอย่าง ไม่ใยดีของประชากรไทยส่วนใหญ่ ได้รกษาอํานาจของทหาร ั ข้าราชการ นายทุนขนาดใหญ่ และกลุมองคมนตรี (หรือเรียกรวมๆว่า ่ “กลุมอํานาจเก่า”) ในการกําหนดนโยบายระดับชาติส่วนใหญ่เอาไว้ ่ เหตุการณ์ต่างๆ หลังจากการยึดอํานาจจากนายกรัฐมนตรีพล เอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยกองทัพที่นําโดยพลเอกสุจินดา ครา ประยูร เมือปีพ.ศ. 2533 ถือเป็นจุดเปลียนสําคัญในเรืองอํานาจนําของ ่ ่ ่ กลุ่มอํานาจเก่าที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งเหนือระบบการเมืองไทย การประท้วงโดยประชาชนจํานวนมากที่ต่อต้านการขึ้นมาเป็นนายก รัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา หลังจากที่มีการเลือกตั้งที่มีเปลือกนอก ว่าเป็น “ประชาธิปไตย” ในเดือนมีนาคม 2535 ได้นําไปสู่การปะทะ รุนแรงเป็นประวัติการณ์ระหว่างพลเรือนกับทหารในช่วงวันที่ 17-20 พฤษภาคม ผู้ประท้วงหลายสิบคนที่เรียกร้องให้พลเอกสุจินดาลา ออกและนําประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยถูกสังหารโดยโหด ร้ายโดยทหารในช่วงระหว่างเหตุการณ์ "พฤษภาทมิฬ” ปี 2535 ใน ท้ายที่สุด พลเอกสุจินดา ได้ลาออกหลังจากทีพระบาทสมเด็จ ่ พระเจ้าอยู่หัวได้ปรากฏพระองค์ต่อสาธารณะ และนําไปสู่การเลือก ตั้งครั้งใหม่ในเดือนกันยายน 2535 โศกนาฏกรรมพฤษภาทมิฬทําให้ประเทศเดินเข้าสู่หนทางการ เป็น “ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” อย่าง แท้จริง และมีกระบวนการปฏิรปเป็นเวลานานห้าปี อันสิ้นสุดลงด้วย ู การประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 ด้วย การมีส่วนร่วมอย่างสูงในกระบวนการที่นําไปสู่การออกรัฐธรรมนูญ รวมถึงการที่มีเนื้อหาเป็นประชาธิปไตยอย่างไม่กํากวม รัฐธรรมนูญ
  • 26. ฉบับพ.ศ. 2540 นี้จึงเป็นที่รู้จักกันในนาม “รัฐธรรมนูญฉบับ ประชาชน” รัฐธรรมนูญฉบับพ.ศ. 2540 นํามาซึ่งยุคใหม่แห่งการเมืองที่ไม่มี การกีดกันในไทย เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยที่ผู้แทนของ ประชาชนเป็นผู้ร่างและรับรองรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่เป็นการกําหนดมา จากกลุมอํานาจเก่าอย่างแต่เดิม นําไปสูยคแห่งประชาธิปไตยทีแท้ ่ ่ ุ ่ จริง ความโปร่งใส และการรับผิดตรวจสอบได้ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ รับรองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพของพลเมือง ซึงฉบับก่อนหน้านีไม่ ่ ้ ได้รองรับ และยังกําหนดกลไกอีกบางประการ รวมถึงเรื่องการเลือก ตั้งสภาทั้งสอง ระบบการเลือกตังแบบปาร์ตลสต์เพือมาใช้พร้อมกับ ้ ้ี ิ ่ ระบบแบ่งเขตแบบเดิม และตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ออกแบบ มาเพือรับประกันว่าจะมีรฐบาลตัวแทนอย่างเต็มที่ และเพื่อสร้าง ่ ั สนามเลือกตั้งที่เท่าเทียมกันสําหรับผู้สมัครรับเลือกตั้ง ในขณะที่ยัง รักษาความเป็นธรรมและความซือสัตย์เอาไว้ให้ได้ ทีสาคัญก็คอ รัฐ ่ ่ ํ ื ธรรมนูญพ.ศ. 2540 นี้ยังห้ามการใช้สิทธิหรือเสรีภาพในการล้มล้าง การปกครองแบบประชาธิปไตย และยังห้ามความพยายามใดๆ ใน การ “ให้ได้มาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้ เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้” และยังห้าม ทําการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญยกเว้นแต่เป็นไปตามหลักการและ วิธีการที่บัญญัติไว้ รัฐธรรมนูญพ.ศ. 2540 ยังได้สร้างเสถียรภาพทางการเมือง อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้รับการรับรองใน ช่วงที่มีวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและทางการเงินอย่างหนักใน ประเทศ การส่งออกลดลงและความกังวลเรื่องสถานการณ์ของภาค การเงินทําให้เกิดการไหลออกของทุนขนาดใหญ่อย่างทันที จนเกิด วิกฤตอัตราแลกเปลียนในช่วงปลายปีพ.ศ. 2540 ในสถานการณ์ที่ ่ ประชาชนต่างไม่พอใจรัฐบาลที่ไม่สามารกู้วิกฤติเศรษฐกิจของปะเทศ
  • 27. ได้ จึงเป็นที่คาดกันว่าอาจจะเกิดการรัฐประหารครั้งที่ 12 อย่าง แน่นอน แต่ถึงกระนั้นวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 ก็ไม่ได้นําไปสู่วิกฤต ทางการเมือง ข้อผูกพันมุ่งมั่นของประเทศที่จะเป็นประชาธิปไตยภาย ใต้รัฐธรรมนูญอย่างแท้จริงดูเหมือนจะยังคงถูกรักษาไว้ได้ในที่สุด รัฐธรรมนูญ 2540 ยังกําหนดยุทธศาสตร์ทางการเมืองแบบใหม่ ก่อนหน้านี้พรรคการเมืองที่อ่อนแอและแตกแยกต้องขึ้นอยู่กับผู้มี อิทธิพลในท้องถิ่นและเครือข่ายเส้นสายของระบบอุปถัมภ์ ในการ ระดมพลังสนับสนุนในพื้นที่การเลือกตั้งส่วนใหญ่ของประเทศ เนื่องจากพรรคเหล่านั้นมีเนื้อหาเชิงโครงการน้อยมาก และมีภาพ ลักษณ์ของพรรคไม่ชดเจน ด้วยระบบตรวจสอบและถ่วงดุลย์ การ ั ป้องกันการคอร์รัปชั่น และด้วยบทบัญญัตใหม่ๆ ทีเสริมอํานาจของ ิ ่ ฝ่ายบริหารโดยการทําให้นายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งมีความ เปราะบางต่อการแปรพรรคน้อยลง รัฐธรรมนูญพ.ศ. 2540 ได้เปิด ช่องทางให้เกิดการเติบโตของผู้นําทางการเมืองใหม่ๆ ทีพยายามจะ ่ สร้างพรรคการเมืองระดับชาติที่เข้มแข็งที่อยู่บนฐานของวาระ นโยบายเชิงโครงการที่ชัดเจน ทีอาจจะเป็นทีสนใจของผูมสทธิเลือก ่ ่ ้ ี ิ ตังทัวประเทศ นีเป็นบริบททีทาให้ทกษิณ ชินวัตร ตั้งพรรค ้ ่ ่ ่ ํ ั ไทยรักไทยและนําพรรคไปสู่ประสบความสําเร็จในการเลือกตั้งในปี 2544 และ 2548 อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ทําให้จนตนารของคน ิ นับล้านๆเป็นจริง และได้มอบปากเสียงให้แก่พลังทางการเมืองที่ ปัจจุบนนีคดค้านการบริหารปกครองของอภิสทธิ์ เวชชาชีวะ อย่าง ั ้ ั ิ มั่นคง
  • 28. 3. การขึ้นสู่อํานาจของพรรคไทยรักไทย ทักษิณ ชินวัตร เกิดเมือปีพ.ศ. 2492 เป็นคนจังหวัดเชียงใหม่ จบการ ่ ศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตํารวจในปีพ.ศ. 2516 และรับราชการเป็น เวลา 14 ปี จนมียศพันตํารวจโท ซึ่งในระหว่างนั้นเขาได้ลาไปศึกษา ต่อขันปริญญาโทและปริญญาเอกในสาขาอาชญาวิทยาที่ ้ มหาวิทยาลัย Eastern Kentucky และมหาวิทยาลัย Sam Houston ใน เท็กซัส ในปีพ.ศ. 2526 ขณะรับราชการตํารวจอยู่นั้น ทักษิณก่อตั้ง บริษทชินวัตร คอมพิวเตอร์แอนด์คอมมิวนิเคชันส์กรุป กับภรรยาและ ั ่ ๊ พี่ชายภรรยา หลังจากออกจากราชการตํารวจในปี 2530 และทุมเท ่ ความสนใจทั้งหมดให้กับธุรกิจ บริษทของเขาก็เติบโตเป็นบริษทชิน ั ั คอร์ป ในช่วงทศวรรษ 1990s (2533-2542) บริษทนีเป็นผูบกเบิก ั ้ ้ ุ ธุรกิจโทรคมนาคมโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่กําลังเริ่มต้นในประเทศไทย ใน ปี 2537 อันเป็นปีที่เขาเข้าสู่วงการการเมือง นิตยสาร Forbes ประเมิน ว่าเขามีทรัพย์สินประมาณ 1.6 พันล้านเหรียญ ทักษิณเข้าสู่การเมืองโดยเข้าร่วมในรัฐบาลชวน หลีกภัย ในปี 2537 เมื่อเขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง
  • 29. ประเทศ ในฐานะสมาชิกพรรคพลังธรรมของพลตรีจําลองศรีเมือง จากนั้นเขาก็เป็นรองนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาสั้นๆ ในรัฐบาล บรรหาร ศิลปอาชา (2538-2539) และรัฐบาลชวลิต ยงใจยุทธ (2540) ในวันที่ 14 กรกฏคม 2541 เขาก่อตั้งพรรคไทยรักไทยอย่างเป็น ทางการร่วมกับสมาชิกพรรครุ่นก่อตั้ง 22 คน ภายใต้การนําของ ทักษิณ ไม่นานพรรคก็ประสบความสําเร็จอย่างที่ไม่เคยมี พรรคการเมืองใดทําได้มาก่อนเลยในประเทศไทย ในความพยายามที่จะแก้ปัญหาวิกฤตการเงินในปี 2540 รัฐบาล ไทยได้ขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เงินกู้จํานวน 1.7 หมื่นล้านเหรียญนั้นต้องแลกมาด้วยกับการยอมรับ เงื่อนไขของ IMF ที่จะต้องมีการปฏิรูประบบการเงิน การแปรรูป รัฐวิสาหกิจ และมาตรการอื่นๆ เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ (foreign direct investment) ในช่วงแรก การปฏิรูปเหล่านี้ก่อให้เกิด ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ค่าจ้างตกต่าลง อัตราว่าง ํ งานเพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพความเป็นอยู่ของ เกษตรกรและแรงงาน บรรดานักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพฯ ที่ได้รับ ผลกระทบอย่างรุนแรงได้เข้าร่วมขบวนการชาตินิยมที่กําลังขยายตัว ต่อต้าน IMF และพรรคประชาธิปตย์ทเป็นรัฐบาลขณะนัน นายกฯ ั ่ี ้ ชวน หลีกภัยถูกโจมตีจากหลายด้าน ทั้งภาคธุรกิจขนาดใหญ่ นัก วิชาการ องค์กรประชาสังคมก่นประนามเขาว่าทําลายเศรษฐกิจ รับ นโยบายจากต่างประเทศ ปล่อยให้ตางชาติเข้ามาฮุบทรัพย์สนของ ่ ิ ไทยในราคาถูก ในระหว่างการหาเสียงเลือกตั้งในเดือนมกราคม 2544 พรรค ไทยรักไทยของทักษิณปราศรัยถึงประเด็นเหล่านี้อย่างดุเดือด พรรค มีนโยบายให้ความสําคัญกับเศรษฐกิจ สาธารณสุข การศึกษา และ พลังงาน ในขณะเดียวกันนโยบายสวัสดิการสังคมของไทยรักไทย และการพัฒนาชนบทก็ได้รับความนิยมอย่างมากจากชนชั้นแรงงาน