SlideShare a Scribd company logo
แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
บทบาทของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ในการรับสาธารณภัย
บทบาทของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แบ่งเป็น 4 ขั้น
ขั้นเตรียมการ เป็นการเตรียมวางแผนกาหนดสถานที่ ตัวบุคคลและหน้าที่ เมื่อยังไม่มี
เหตุการณ์ผิดปกติ เพื่อให้เกิดความพร้อมและจัดการซ้อมให้เกิดความพร้อมและให้บุคลากรได้ทา
ความรู้จักกับแผน
ขั้นเตรียมพร้อม เป็นการเตรียมและเริ่มปฏิบัติการบางส่วนเมื่อเริ่มเหตุการณ์ผิดปกติขึ้น และ
คาดคะเนว่าจะมีผู้ป่วยจานวนมากมาโรงพยาบาล รวมทั้งเมื่อเริ่มประกาศใช้แผนแล้ว แต่ผู้ป่วยยังมา
ไม่ถึงโรงพยาบาล ได้แก่ การเตรียมสถานที่และเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ขั้นปฏิบัติการ เมื่อผู้ป่วยคนแรกมาถึงโรงพยาบาล และมีผู้ป่วยอื่น ๆ ตามมาอย่างต่อเนื่อง
ขั้นฟื้นฟูสภาพจิตใจ เมื่อเหตุการณ์กาลังรุนแรงอยู่ หรือเมื่อเหตุการณ์รุนแรงผ่านไปแล้ว มี
การสูญเสียทรัพย์สมบัติ และสูญเสียชีวิตของผู้ใกล้ชิด ทาให้เกิดเสียขวัญและกาลังใจ ตลอดจนความ
เกรงกลัวต่อภัยคุกคามที่ยังอาจมีอยู่ จาเป็นต้องมีการฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กลับเป็นปกติโดยเร็ว
แผนงานหลัก
การประกาศใช้แผน
ผู้อานวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นผู้ประกาศใช้แผน
การเตรียมสถานที่
ห้องฉุกเฉิน เตรียมสถานที่รับผู้ป่วย
1. โถงล่างหน้าห้องฉุกเฉิน ใช้จาแนกประเภทผู้ป่วย
2. ภายในห้องฉุกเฉิน ให้ย้ายผู้ป่วยออก เตรียมพื้นที่ซีกซ้ายไว้รับผู้ป่วยบาดเจ็บน้อย รอได้,
ซีกขวาใช้รับผู้ป่วยบาดเจ็บมาก, ด้านในสุดใช้รับผู้ที่เสียชีวิตหรือไม่มีทางรอด
ถ้ามีผู้บาดเจ็บจานวนมาก ให้เตรียมห้องโถงตึกจักรพงษ์ เพื่อใช้สาหรับผู้ป่ วย
บาดเจ็บน้อย หรือรอได้
เตรียมพื้นที่รอบตึกฉุกเฉิน และประตูโรงพยาบาลด้านห้องฉุกเฉินและด้านหน้า
ไม่ให้มีสิ่งกีดขวางการจราจร เตรียมพื้นที่สาหรับจอดรถพยาบาล 2 คัน หลังห้องฉุกเฉิน
ตึกมงกุฏ-เพชรรัตน์ และ ตึก จุฬาภรณ์ ชั้น 2 ย้ายผู้ป่วยออกไปหอผู้ป่วยอื่น หรือ Discharge
เพื่อใช้เป็นหอผู้ป่วย รับผู้ป่วยสาธารณภัยทั้งหมด
ชั้นใต้ดิน ตึก ภปร สาหรับเคลื่อนย้ายผู้เสียชีวิตแล้วจากห้องฉุกเฉินไปเก็บไว้
ตั้งศูนย์อานวยการที่ ห้องเบอร์ 9 ตึกจักรพงษ์
เตรียมบริเวณสาหรับติดรายชื่อผู้ป่วยที่โต๊ะเจ้าหน้าที่เวรเปล หน้าห้องฉุกเฉิน
ตึกสิรินธร ให้งดผ่าตัดผู้ป่ วยอื่นที่ไม่จาเป็นก่อน แล้วเตรียมสาหรับรับผู้ป่ วยจากเหตุ
สาธารณภัย โดยใช้ห้องผ่าตัดสิรินธร 3 ก่อน ถ้าเต็มจึงใช้ห้องผ่าตัดสิรินธร 2 ด้วย
การระดมกาลังเจ้าหน้าที่ และการมอบหมายความรับผิดชอบ
ระดมกาลังแพทย์พยาบาล เวรเปล เจ้าหน้าที่ห้องบัตร ประชาสัมพันธ์ รปภ.
การระดมกาลังเป็นหน้าที่ของศูนย์โทรศัพท์ ซึ่งจะประกาศออกทางเครื่องกระจายเสียงของ
โรงพยาบาล เป็นระยะ ๆ ทุก 1 นาที รวม 10 นาที ต่อจากนั้นทุก 5 นาที จนครบ 30 นาที
โทรศัพท์รายงานการประกาศใช้แผนให้ทราบตามบัญชีรายชื่อ รวมทั้งหอพักแพทย์ หอพัก
นิสิต หอพักพยาบาล
นอกจากนั้น เมื่อแต่ละหน่วยงานได้รับแจ้งเหตุแล้ว ต้องมีแผนระดมกาลังของหน่วยงานด้วย
พยาบาล
 รายงานตัวที่ศูนย์อานวยการ
แพทย์
 รายงานตัวที่ห้องฉุกเฉิน พร้อมทั้งรับแจกซอง ซึ่งภายในบรรจุปลอกแขนกาชาด, ป้ ายคล้อง
คอ, แผนผังสถานที่ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ โดยอาจารย์แพทย์ แพทย์ประจาบ้านและนิสิต
แพทย์เวชปฏิบัติจะได้รับการมอบหมายให้ไปประจาที่จุดต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. บริเวณโถงหน้าห้องฉุกเฉิน สาหรับจาแนกประเภทผู้ป่ วย (บัตรสีขาว) มี
- อาจารย์แพทย์ศัลยกรรม จานวน 1 คน
- แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 3 ขึ้นไป จานวน 1 คน
2. บริเวณผู้ป่ วยบาดเจ็บรุนแรงในห้องฉุกเฉิน (บัตรสีแดง) มี
3. อาจารย์แพทย์ศัลยกรรม จานวน 2 คน
แพทย์Trauma จานวน 5 ทีม ประกอบด้วย
4. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 3 ขึ้นไป จานวน 5 คน
5. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 2 ขึ้นไป จานวน 5 คน
6. นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ (Extern) จานวน 5 คน
(แต่ละทีมประกอบด้วยแพทย์ประจาบ้าน ปี 3 จานวน 1 คน, แพทย์ประจาบ้าน
ปี 2 จานวน 1 คน และ นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ จานวน 1 คน)
7. อาจารย์แพทย์ออร์โธปิดิกส์ จานวน 1 คน
8. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 3 จานวน 2 คน
9. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 2 จานวน 2 คน
10. อาจารย์แพทย์วิสัญญี จานวน 1 คน
11. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 3 จานวน 1 คน
12. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 2 จานวน 1 คน
3. บริเวณผู้ป่ วยบาดเจ็บน้อย รอการรักษาได้ ในห้องฉุกเฉิน หรือโถงตึกจักรพงษ์ (บัตร
สีเหลือง) มี
13. อาจารย์แพทย์ออร์โธปิดิกส์ จานวน 2 คน
14. อาจารย์แพทย์ศัลยกรรม จานวน 1 คน
15. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 2 จานวน 2 คน
16. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 1 จานวน 2 คน
17. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 2 จานวน 1 คน
18. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 3 จานวน 1 คน
19. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 3 จานวน 2 คน
20. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 2 จานวน 2 คน
 บริเวณผู้ป่ วยเสียชีวิต (บัตรสีดา)
- แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 1 หรือ 2 จานวน 1 คน
- แพทย์ประจาบ้านนิติเวชศาสตร์ จานวน 1 คน
 หอรับผู้ป่ วยสาธารณภัย (ตึก จุฬาภรณ์ ชั้น 2 และ ตึกมงกุฎ-เพชรรัตน ชั้น 2)
(บัตรสีขาว)
- แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 2 จานวน 1 คน
- แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 1 จานวน 1 คน
21. นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ (Extern) จานวน 5 คน
 ศูนย์อานวยการ (หน่วยเวรเปล) (บัตรสีขาว)
22. ผู้บริหารโรงพยาบาลและฝ่ายการพยาบาล (ไม่ต้องมารับซองมอบหมายหน้าที่)
23. อาจารย์แพทย์จากฝ่ายต่างๆ (ต้องมารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้องฉุกเฉินก่อน)
24. แพทย์ประจาบ้านฝ่ายต่างๆ มารอรับมอบหมายหน้าที่ (มารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้อง
ฉุกเฉินก่อน)
ทีมแพทย์ที่ห้องผ่าตัดสิรินธร ประกอบด้วย อาจารย์และแพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม,
ออร์โธปิดิกส์ และวิสัญญี นอกเหนือจากที่มารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้องฉุกเฉิน (ให้ไปห้อง
ผ่าตัดเลย ไม่ต้องมารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้องฉุกเฉิน)
25. อาจารย์แพทย์และแพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม
26. อาจารย์แพทย์และแพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์
27. อาจารย์แพทย์และแพทย์ประจาบ้านวิสัญญี
 เวรเปล รายงานตัวที่ศูนย์เวรเปล ตึกจักรพงษ์
 เจ้าหน้าที่ห้องบัตรผู้ป่ วยนอก ในเวลาราชการให้เจ้าหน้าที่ห้องบัตรหน้าห้องฉุกเฉินมา
ดาเนินการลงทะเบียนผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ ถ้าจาเป็นจะต้องใช้
เจ้าหน้าที่ห้องบัตรที่ตึก ภปร ด้วย
 รปภ. ให้หัวหน้าเวรมารายงานตัวที่ห้องฉุกเฉินพร้อมทั้งกาลังเสริม
 เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ในเวลาราชการให้มาสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์
ที่บริเวณโต๊ะเจ้าหน้าที่เวรเปล หน้าห้องฉุกเฉิน
การเตรียมพร้อมสาหรับหน่วยงานสนับสนุน
หน่วยงานสนับสนุนอื่นให้เตรียมพร้อม เช่น ฝ่ายรังสีวิทยา, ฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร,
ฝ่ายธนาคารเลือด, ฝ่ายเภสัชกรรม, ฝ่ายเวชภัณฑ์, ฝ่ายโภชนวิทยาและโภชนบาบัด, ฝ่ายนิติเวชศาสตร์,
ฝ่ายเลขานุการ, ฝ่ายประชาสัมพันธ์, หน่วยจ่ายกลาง, หน่วยแม่บ้าน, ฝ่ายบริหารงานอาคารและ
สิ่งแวดล้อม, หน่วย รปภ., หน่วยยานยนต์, หน่วยวิศวกรรมและงานช่าง, ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อผู้ป่ วยมาถึง
จาแนกประเภทผู้ป่ วย
แพทย์อาวุโสและแพทย์ประจาบ้านศัลยกรรมปีที่ 3 ขึ้นไป มาประจาที่โถงหน้าห้องฉุกเฉิน
เพื่อทาหน้าที่จาแนกประเภทผู้ป่วยออกเป็น
บาดเจ็บรุนแรง ต้องรีบให้การรักษาเร่งด่วน ซึ่งจะผูก บัตรสีแดง ติดข้อมือ
ผู้ป่วยบาดเจ็บปานกลางหรือเล็กน้อยรอการรักษาได้ จะผูก บัตรสีเหลือง
ผู้ป่วยเสียชีวิตแล้วหรือไม่มีทางรอด จะใช้ บัตรสีดำ ผูกติดข้อมือ
ลงทะเบียนผู้ป่ วยและจ่ายชุดเวชระเบียนด้วยระบบหมายเลขฉุกเฉินโดยไม่ถามชื่อ
ในการจาแนกผู้ป่วย ไม่ต้องใช้ชื่อผู้ป่วย แต่ให้ใช้หมายเลขฉุกเฉินตั้งแต่เลข 1 แทนชื่อผู้ป่วย
ในบัตรผู้ป่วยนอกและเวชระเบียน หมายเลขนี้ใช้ได้ในการขอโลหิต, ขอตรวจ Lab, และในการบรรจุ
ผู้ป่วย แต่เมื่อในระยะต่อมาได้มีเวลาถามชื่อ และตรวจดูหลักฐานอื่นๆ แล้ว ให้ใช้ชื่อและที่อยู่จริง แต่
ให้วงเล็บหมายเลขฉุกเฉินไว้ท้ายชื่อด้วย บัตรผู้ป่วยนอกให้ผูกติดข้อมือผู้ป่วย
เจ้าหน้าที่เวชระเบียนผู้ป่วยนอกจะมาปฏิบัติการที่โถงหน้าห้องฉุกเฉิน เพื่อผูกเบอร์ฉุกเฉิน
ให้ผู้ป่วย และนาบัตรเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่เตรียมไว้ก่อนทั้งชุดและมีหมายเลขขึ้นต้นด้วย 7 มาใช้
ในขั้นตอนนี้จะไม่มีการถามชื่อและที่อยู่ แต่ให้ส่งผู้ป่วยต่อมาไปสู่พื้นที่ที่เตรียมไว้ตามความรุนแรง
โดยให้เสียเวลาน้อยที่สุด
ผู้ป่วยที่เสียชีวิตก่อนมาถึงโรงพยาบาลแล้ว ก็ต้องมีหมายเลขให้ด้วย
ส่งต่อผู้ป่ วยที่จาแนกประเภทแล้วไปให้การรักษา ณ บริเวณที่กาหนดไว้
พื้นที่ในห้องฉุกเฉินด้านขวา สาหรับผู้ป่วยบัตรสีแดง
พื้นที่ในห้องฉุกเฉินด้านซ้าย สาหรับผู้ป่วยบัตรสีเหลือง ถ้ามีผู้ป่วยในห้องฉุกเฉินมากให้ใช้
บริเวณโถงตึกจักรพงษ์
ด้านในสุดของห้องฉุกเฉิน สาหรับผู้ป่วยบัตรสีดา รอการเคลื่อนย้ายไปชั้นใต้ดินตึก ภปร
อีกทีหนึ่ง
ติดตามถามชื่อและที่อยู่ผู้ป่ วย เพื่อลงทะเบียนด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เมื่อผู้ป่วยถูกนาไปส่งที่ห้องฉุกเฉินและบริเวณต่างๆ แล้ว เจ้าหน้าที่ของห้องฉุกเฉินจะตาม
ไปถามชื่อและที่อยู่ เขียนลงในแบบฟอร์มลงทะเบียนผู้ป่ วยห้องฉุกเฉิน พร้อมทั้งเขียนหมายเลข
ฉุกเฉินที่ใช้ให้ตรงกันไว้ที่มุมแบบฟอร์ม เพื่อส่งให้เจ้าหน้าที่เวชระเบียนผู้ป่วยนอกเป็นผู้ป้ อนข้อมูล
เข้าคอมพิวเตอร์โดยเร็ว
ในการป้ อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ให้วงเล็บหมายเลขฉุกเฉินไว้ท้ายชื่อด้วย ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ไม่
ทราบชื่อให้บันทึกว่าไม่ทราบชื่อ และวงเล็บหมายเลขฉุกเฉินที่ใช้ไว้ท้ายชื่อเช่นกัน
ติดตามการเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยจากห้องฉุกเฉิน
พยาบาลห้องฉุกเฉินมีหน้าที่ติดตามการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องฉุกเฉิน โดยการลง
บันทึกไว้ เช่น ไปห้องผ่าตัด, ไปทา CT, ไป ward, กลับบ้าน, เสียชีวิต
ผู้ป่วยที่บริเวณโถงตึกจักรพงษ์ ให้เป็นหน้าที่ของพยาบาลตึก ภปร ลงบันทึก
ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการบรรจุ ให้หอผู้ป่วยแจ้งการโยกย้าย กลับบ้าน เสียชีวิต ให้ศูนย์บรรจุ
ผู้ป่วยทราบตามปกติ และแจ้งศูนย์อานวยการทราบทุกครั้ง
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บไม่รุนแรง ได้รับการรักษาเป็นผู้ป่วยนอก เมื่อจะกลับจะต้องทาบันทึกการ
กลับของผู้ป่วยกลุ่มนี้ด้วย
เตรียมการประชาสัมพันธ์
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่รวบรวมรายชื่อผู้ป่วยจากห้องฉุกเฉินโถงล่างตึกจักรพงษ์ หอ
ผู้ป่วย และรายชื่อผู้ป่วยถึงแก่กรรมไว้เพื่อทาประกาศติดไว้ที่โถงใกล้โต๊ะเจ้าหน้าที่เวรเปลที่หน้าห้อง
ฉุกเฉินภายในเวลาหนึ่งชั่วโมง เตรียมการแถลงข่าวให้ผู้บริหาร และเตรียมให้รายชื่อผู้ป่ วยกับ
สื่อมวลชน หรือรับโทรศัพท์ญาติผู้ป่วยที่โทรศัพท์มาถาม

More Related Content

What's hot

นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์taem
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกtaem
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555clio cliopata
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)taem
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
Paleenui Jariyakanjana
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Triage
TriageTriage
Triage
Razerzero
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
Sumon Kananit
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
Rachanont Hiranwong
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
Rachanont Hiranwong
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 

What's hot (18)

นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 

Similar to 7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
Kannicha Ponjidasin
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
Kannicha Ponjidasin
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
Kannicha Ponjidasin
 
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์Mr-jojo 조 소년 동상.
 
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์Mr-jojo 조 소년 동상.
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
nawaporn khamseanwong
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Dr. Obrom Aranyapruk
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
karan boobpahom
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
taem
 
Proparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infectionProparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infection
klanarong ratidech
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์
nawaporn khamseanwong
 

Similar to 7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (20)

4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
 
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
ประกาศผลสอบ รพ.สต.ณรงค์
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครพิงค์
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
 
Proparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infectionProparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infection
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ โรงพยาบาลนครพิงค์
 

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (20)

6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
 
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
 
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
 
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
 

7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

  • 1. แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ บทบาทของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ในการรับสาธารณภัย บทบาทของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แบ่งเป็น 4 ขั้น ขั้นเตรียมการ เป็นการเตรียมวางแผนกาหนดสถานที่ ตัวบุคคลและหน้าที่ เมื่อยังไม่มี เหตุการณ์ผิดปกติ เพื่อให้เกิดความพร้อมและจัดการซ้อมให้เกิดความพร้อมและให้บุคลากรได้ทา ความรู้จักกับแผน ขั้นเตรียมพร้อม เป็นการเตรียมและเริ่มปฏิบัติการบางส่วนเมื่อเริ่มเหตุการณ์ผิดปกติขึ้น และ คาดคะเนว่าจะมีผู้ป่วยจานวนมากมาโรงพยาบาล รวมทั้งเมื่อเริ่มประกาศใช้แผนแล้ว แต่ผู้ป่วยยังมา ไม่ถึงโรงพยาบาล ได้แก่ การเตรียมสถานที่และเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ขั้นปฏิบัติการ เมื่อผู้ป่วยคนแรกมาถึงโรงพยาบาล และมีผู้ป่วยอื่น ๆ ตามมาอย่างต่อเนื่อง ขั้นฟื้นฟูสภาพจิตใจ เมื่อเหตุการณ์กาลังรุนแรงอยู่ หรือเมื่อเหตุการณ์รุนแรงผ่านไปแล้ว มี การสูญเสียทรัพย์สมบัติ และสูญเสียชีวิตของผู้ใกล้ชิด ทาให้เกิดเสียขวัญและกาลังใจ ตลอดจนความ เกรงกลัวต่อภัยคุกคามที่ยังอาจมีอยู่ จาเป็นต้องมีการฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กลับเป็นปกติโดยเร็ว แผนงานหลัก การประกาศใช้แผน ผู้อานวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นผู้ประกาศใช้แผน การเตรียมสถานที่ ห้องฉุกเฉิน เตรียมสถานที่รับผู้ป่วย 1. โถงล่างหน้าห้องฉุกเฉิน ใช้จาแนกประเภทผู้ป่วย 2. ภายในห้องฉุกเฉิน ให้ย้ายผู้ป่วยออก เตรียมพื้นที่ซีกซ้ายไว้รับผู้ป่วยบาดเจ็บน้อย รอได้, ซีกขวาใช้รับผู้ป่วยบาดเจ็บมาก, ด้านในสุดใช้รับผู้ที่เสียชีวิตหรือไม่มีทางรอด ถ้ามีผู้บาดเจ็บจานวนมาก ให้เตรียมห้องโถงตึกจักรพงษ์ เพื่อใช้สาหรับผู้ป่ วย บาดเจ็บน้อย หรือรอได้ เตรียมพื้นที่รอบตึกฉุกเฉิน และประตูโรงพยาบาลด้านห้องฉุกเฉินและด้านหน้า ไม่ให้มีสิ่งกีดขวางการจราจร เตรียมพื้นที่สาหรับจอดรถพยาบาล 2 คัน หลังห้องฉุกเฉิน ตึกมงกุฏ-เพชรรัตน์ และ ตึก จุฬาภรณ์ ชั้น 2 ย้ายผู้ป่วยออกไปหอผู้ป่วยอื่น หรือ Discharge เพื่อใช้เป็นหอผู้ป่วย รับผู้ป่วยสาธารณภัยทั้งหมด ชั้นใต้ดิน ตึก ภปร สาหรับเคลื่อนย้ายผู้เสียชีวิตแล้วจากห้องฉุกเฉินไปเก็บไว้ ตั้งศูนย์อานวยการที่ ห้องเบอร์ 9 ตึกจักรพงษ์
  • 2. เตรียมบริเวณสาหรับติดรายชื่อผู้ป่วยที่โต๊ะเจ้าหน้าที่เวรเปล หน้าห้องฉุกเฉิน ตึกสิรินธร ให้งดผ่าตัดผู้ป่ วยอื่นที่ไม่จาเป็นก่อน แล้วเตรียมสาหรับรับผู้ป่ วยจากเหตุ สาธารณภัย โดยใช้ห้องผ่าตัดสิรินธร 3 ก่อน ถ้าเต็มจึงใช้ห้องผ่าตัดสิรินธร 2 ด้วย การระดมกาลังเจ้าหน้าที่ และการมอบหมายความรับผิดชอบ ระดมกาลังแพทย์พยาบาล เวรเปล เจ้าหน้าที่ห้องบัตร ประชาสัมพันธ์ รปภ. การระดมกาลังเป็นหน้าที่ของศูนย์โทรศัพท์ ซึ่งจะประกาศออกทางเครื่องกระจายเสียงของ โรงพยาบาล เป็นระยะ ๆ ทุก 1 นาที รวม 10 นาที ต่อจากนั้นทุก 5 นาที จนครบ 30 นาที โทรศัพท์รายงานการประกาศใช้แผนให้ทราบตามบัญชีรายชื่อ รวมทั้งหอพักแพทย์ หอพัก นิสิต หอพักพยาบาล นอกจากนั้น เมื่อแต่ละหน่วยงานได้รับแจ้งเหตุแล้ว ต้องมีแผนระดมกาลังของหน่วยงานด้วย พยาบาล  รายงานตัวที่ศูนย์อานวยการ แพทย์  รายงานตัวที่ห้องฉุกเฉิน พร้อมทั้งรับแจกซอง ซึ่งภายในบรรจุปลอกแขนกาชาด, ป้ ายคล้อง คอ, แผนผังสถานที่ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ โดยอาจารย์แพทย์ แพทย์ประจาบ้านและนิสิต แพทย์เวชปฏิบัติจะได้รับการมอบหมายให้ไปประจาที่จุดต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. บริเวณโถงหน้าห้องฉุกเฉิน สาหรับจาแนกประเภทผู้ป่ วย (บัตรสีขาว) มี - อาจารย์แพทย์ศัลยกรรม จานวน 1 คน - แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 3 ขึ้นไป จานวน 1 คน 2. บริเวณผู้ป่ วยบาดเจ็บรุนแรงในห้องฉุกเฉิน (บัตรสีแดง) มี 3. อาจารย์แพทย์ศัลยกรรม จานวน 2 คน แพทย์Trauma จานวน 5 ทีม ประกอบด้วย 4. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 3 ขึ้นไป จานวน 5 คน 5. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 2 ขึ้นไป จานวน 5 คน 6. นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ (Extern) จานวน 5 คน (แต่ละทีมประกอบด้วยแพทย์ประจาบ้าน ปี 3 จานวน 1 คน, แพทย์ประจาบ้าน ปี 2 จานวน 1 คน และ นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ จานวน 1 คน) 7. อาจารย์แพทย์ออร์โธปิดิกส์ จานวน 1 คน 8. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 3 จานวน 2 คน 9. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 2 จานวน 2 คน 10. อาจารย์แพทย์วิสัญญี จานวน 1 คน
  • 3. 11. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 3 จานวน 1 คน 12. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 2 จานวน 1 คน 3. บริเวณผู้ป่ วยบาดเจ็บน้อย รอการรักษาได้ ในห้องฉุกเฉิน หรือโถงตึกจักรพงษ์ (บัตร สีเหลือง) มี 13. อาจารย์แพทย์ออร์โธปิดิกส์ จานวน 2 คน 14. อาจารย์แพทย์ศัลยกรรม จานวน 1 คน 15. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 2 จานวน 2 คน 16. แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 1 จานวน 2 คน 17. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 2 จานวน 1 คน 18. แพทย์ประจาบ้านวิสัญญี ปี 3 จานวน 1 คน 19. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 3 จานวน 2 คน 20. แพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ ปี 2 จานวน 2 คน  บริเวณผู้ป่ วยเสียชีวิต (บัตรสีดา) - แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 1 หรือ 2 จานวน 1 คน - แพทย์ประจาบ้านนิติเวชศาสตร์ จานวน 1 คน  หอรับผู้ป่ วยสาธารณภัย (ตึก จุฬาภรณ์ ชั้น 2 และ ตึกมงกุฎ-เพชรรัตน ชั้น 2) (บัตรสีขาว) - แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 2 จานวน 1 คน - แพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม ปี 1 จานวน 1 คน 21. นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ (Extern) จานวน 5 คน  ศูนย์อานวยการ (หน่วยเวรเปล) (บัตรสีขาว) 22. ผู้บริหารโรงพยาบาลและฝ่ายการพยาบาล (ไม่ต้องมารับซองมอบหมายหน้าที่) 23. อาจารย์แพทย์จากฝ่ายต่างๆ (ต้องมารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้องฉุกเฉินก่อน) 24. แพทย์ประจาบ้านฝ่ายต่างๆ มารอรับมอบหมายหน้าที่ (มารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้อง ฉุกเฉินก่อน) ทีมแพทย์ที่ห้องผ่าตัดสิรินธร ประกอบด้วย อาจารย์และแพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม, ออร์โธปิดิกส์ และวิสัญญี นอกเหนือจากที่มารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้องฉุกเฉิน (ให้ไปห้อง ผ่าตัดเลย ไม่ต้องมารับซองมอบหมายหน้าที่ที่หน้าห้องฉุกเฉิน) 25. อาจารย์แพทย์และแพทย์ประจาบ้านศัลยกรรม 26. อาจารย์แพทย์และแพทย์ประจาบ้านออร์โธปิดิกส์ 27. อาจารย์แพทย์และแพทย์ประจาบ้านวิสัญญี
  • 4.  เวรเปล รายงานตัวที่ศูนย์เวรเปล ตึกจักรพงษ์  เจ้าหน้าที่ห้องบัตรผู้ป่ วยนอก ในเวลาราชการให้เจ้าหน้าที่ห้องบัตรหน้าห้องฉุกเฉินมา ดาเนินการลงทะเบียนผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินและป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ ถ้าจาเป็นจะต้องใช้ เจ้าหน้าที่ห้องบัตรที่ตึก ภปร ด้วย  รปภ. ให้หัวหน้าเวรมารายงานตัวที่ห้องฉุกเฉินพร้อมทั้งกาลังเสริม  เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ในเวลาราชการให้มาสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ที่บริเวณโต๊ะเจ้าหน้าที่เวรเปล หน้าห้องฉุกเฉิน การเตรียมพร้อมสาหรับหน่วยงานสนับสนุน หน่วยงานสนับสนุนอื่นให้เตรียมพร้อม เช่น ฝ่ายรังสีวิทยา, ฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร, ฝ่ายธนาคารเลือด, ฝ่ายเภสัชกรรม, ฝ่ายเวชภัณฑ์, ฝ่ายโภชนวิทยาและโภชนบาบัด, ฝ่ายนิติเวชศาสตร์, ฝ่ายเลขานุการ, ฝ่ายประชาสัมพันธ์, หน่วยจ่ายกลาง, หน่วยแม่บ้าน, ฝ่ายบริหารงานอาคารและ สิ่งแวดล้อม, หน่วย รปภ., หน่วยยานยนต์, หน่วยวิศวกรรมและงานช่าง, ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อผู้ป่ วยมาถึง จาแนกประเภทผู้ป่ วย แพทย์อาวุโสและแพทย์ประจาบ้านศัลยกรรมปีที่ 3 ขึ้นไป มาประจาที่โถงหน้าห้องฉุกเฉิน เพื่อทาหน้าที่จาแนกประเภทผู้ป่วยออกเป็น บาดเจ็บรุนแรง ต้องรีบให้การรักษาเร่งด่วน ซึ่งจะผูก บัตรสีแดง ติดข้อมือ ผู้ป่วยบาดเจ็บปานกลางหรือเล็กน้อยรอการรักษาได้ จะผูก บัตรสีเหลือง ผู้ป่วยเสียชีวิตแล้วหรือไม่มีทางรอด จะใช้ บัตรสีดำ ผูกติดข้อมือ ลงทะเบียนผู้ป่ วยและจ่ายชุดเวชระเบียนด้วยระบบหมายเลขฉุกเฉินโดยไม่ถามชื่อ ในการจาแนกผู้ป่วย ไม่ต้องใช้ชื่อผู้ป่วย แต่ให้ใช้หมายเลขฉุกเฉินตั้งแต่เลข 1 แทนชื่อผู้ป่วย ในบัตรผู้ป่วยนอกและเวชระเบียน หมายเลขนี้ใช้ได้ในการขอโลหิต, ขอตรวจ Lab, และในการบรรจุ ผู้ป่วย แต่เมื่อในระยะต่อมาได้มีเวลาถามชื่อ และตรวจดูหลักฐานอื่นๆ แล้ว ให้ใช้ชื่อและที่อยู่จริง แต่ ให้วงเล็บหมายเลขฉุกเฉินไว้ท้ายชื่อด้วย บัตรผู้ป่วยนอกให้ผูกติดข้อมือผู้ป่วย เจ้าหน้าที่เวชระเบียนผู้ป่วยนอกจะมาปฏิบัติการที่โถงหน้าห้องฉุกเฉิน เพื่อผูกเบอร์ฉุกเฉิน ให้ผู้ป่วย และนาบัตรเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่เตรียมไว้ก่อนทั้งชุดและมีหมายเลขขึ้นต้นด้วย 7 มาใช้ ในขั้นตอนนี้จะไม่มีการถามชื่อและที่อยู่ แต่ให้ส่งผู้ป่วยต่อมาไปสู่พื้นที่ที่เตรียมไว้ตามความรุนแรง โดยให้เสียเวลาน้อยที่สุด ผู้ป่วยที่เสียชีวิตก่อนมาถึงโรงพยาบาลแล้ว ก็ต้องมีหมายเลขให้ด้วย ส่งต่อผู้ป่ วยที่จาแนกประเภทแล้วไปให้การรักษา ณ บริเวณที่กาหนดไว้
  • 5. พื้นที่ในห้องฉุกเฉินด้านขวา สาหรับผู้ป่วยบัตรสีแดง พื้นที่ในห้องฉุกเฉินด้านซ้าย สาหรับผู้ป่วยบัตรสีเหลือง ถ้ามีผู้ป่วยในห้องฉุกเฉินมากให้ใช้ บริเวณโถงตึกจักรพงษ์ ด้านในสุดของห้องฉุกเฉิน สาหรับผู้ป่วยบัตรสีดา รอการเคลื่อนย้ายไปชั้นใต้ดินตึก ภปร อีกทีหนึ่ง ติดตามถามชื่อและที่อยู่ผู้ป่ วย เพื่อลงทะเบียนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เมื่อผู้ป่วยถูกนาไปส่งที่ห้องฉุกเฉินและบริเวณต่างๆ แล้ว เจ้าหน้าที่ของห้องฉุกเฉินจะตาม ไปถามชื่อและที่อยู่ เขียนลงในแบบฟอร์มลงทะเบียนผู้ป่ วยห้องฉุกเฉิน พร้อมทั้งเขียนหมายเลข ฉุกเฉินที่ใช้ให้ตรงกันไว้ที่มุมแบบฟอร์ม เพื่อส่งให้เจ้าหน้าที่เวชระเบียนผู้ป่วยนอกเป็นผู้ป้ อนข้อมูล เข้าคอมพิวเตอร์โดยเร็ว ในการป้ อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ให้วงเล็บหมายเลขฉุกเฉินไว้ท้ายชื่อด้วย ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ไม่ ทราบชื่อให้บันทึกว่าไม่ทราบชื่อ และวงเล็บหมายเลขฉุกเฉินที่ใช้ไว้ท้ายชื่อเช่นกัน ติดตามการเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยจากห้องฉุกเฉิน พยาบาลห้องฉุกเฉินมีหน้าที่ติดตามการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องฉุกเฉิน โดยการลง บันทึกไว้ เช่น ไปห้องผ่าตัด, ไปทา CT, ไป ward, กลับบ้าน, เสียชีวิต ผู้ป่วยที่บริเวณโถงตึกจักรพงษ์ ให้เป็นหน้าที่ของพยาบาลตึก ภปร ลงบันทึก ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการบรรจุ ให้หอผู้ป่วยแจ้งการโยกย้าย กลับบ้าน เสียชีวิต ให้ศูนย์บรรจุ ผู้ป่วยทราบตามปกติ และแจ้งศูนย์อานวยการทราบทุกครั้ง ผู้ป่วยที่บาดเจ็บไม่รุนแรง ได้รับการรักษาเป็นผู้ป่วยนอก เมื่อจะกลับจะต้องทาบันทึกการ กลับของผู้ป่วยกลุ่มนี้ด้วย เตรียมการประชาสัมพันธ์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่รวบรวมรายชื่อผู้ป่วยจากห้องฉุกเฉินโถงล่างตึกจักรพงษ์ หอ ผู้ป่วย และรายชื่อผู้ป่วยถึงแก่กรรมไว้เพื่อทาประกาศติดไว้ที่โถงใกล้โต๊ะเจ้าหน้าที่เวรเปลที่หน้าห้อง ฉุกเฉินภายในเวลาหนึ่งชั่วโมง เตรียมการแถลงข่าวให้ผู้บริหาร และเตรียมให้รายชื่อผู้ป่ วยกับ สื่อมวลชน หรือรับโทรศัพท์ญาติผู้ป่วยที่โทรศัพท์มาถาม