SlideShare a Scribd company logo
ความหมายของอาร์เรย์
 array คือกลุ่มของข้อมูลที่เรียงลาดับกัน มีจานวนแน่นอนซึ่ง
ข้อมูลจะเป็นประเภทเดียวกัน ข้อมูลแต่ละตัวของอาร์เรย์จะเรียกว่า
อีลีเมนต์(Element) และข้อมูลแต่ละอีลีเมนต์จะมีหมายเลขเพื่อใช้
ในการอ้างอิงถึงเรียกตัวเลขนี้ ว่า เลขดัชนี (Index) จะเป็นตัวแปรที่
ชื่อ เหมือนกัน แต่จะแตกต่างกันตรงหมายเลข
1.array 1 มิติ
 ประเภทตัวแปร ชื่อตัวแปร array[จานวนสมาชิกของ array];
 เช่น
 int Score[4];
 *ในที่นี้มีความหมายว่า เป็นการประกาศตัวแปร array ชื่อ Score มีจานวน 4
รายการ โดยมีรายการที่
 Score[0]
 Score[1]
 Score[2]
 Score[3]
 **รายการของ array จะเริ่มที่ 0 ไม่ได้เริ่มที่ 1**
2.ตัวแปรอาร์เรย์หลายตัว
เช่น
 int [ ] abc , xyz;
 abc = new int[500];
 xyz = new int[10];
หรือเขียนรวมกันได้ดังนี้
 int[ ] abc = new int [500], xyz = new int[10];
 *ข้อควรระวัง*
int [ ] a , b ; a และ b เป็น Array
int a[ ], b ; a เป็น Array b ไม่เป็น Array
3. การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 1 มิติ
 สามารถกาหนดค่าเริ่มต้น array ตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปร
ค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า
ต้องแยกจากกันด้วยเครื่องหมาย ,(comma)
เช่น int a[5] = {10,20,30,40,50 } ;
ถ้าตอนประกาศตัวแปรอาร์เรย์ไม่กาหนดค่าเริ่มต้นค่าที่อยู่ในตัวแปรจะ
เป็นค่าที่ค้างอยู่ในหน่วยความจาช่วงที่เราจองไว้เป็นอาร์เรย์
ถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปรแต่กาหนดไม่ครบ ในกรณี
ที่เป็นอาร์เรย์แบบตัวเลขทั้งจานวนเต็มและจานวนจริง ค่าที่เหลือจะถูกกาหนด
เป็น 0 โดยอัตโนมัติ
เช่น float price[5] = {50.5,2.25,10.0} ;
**ไม่สามารถประกาศตัวแปรอาร์เรย์โดยไม่ใส่ขนาดของอาร์เรย์ได้ ยกเว้นมีการ
กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับมันตั้งแต่แรก
4. การประมวลผลอาร์เรย์
 Element ของอาร์เรย์ ลาดับแรกจะเป็น 0 เสมอ ลาดับของ Element ของ
อาร์เรย์โดยส่วนมากจะเป็นค่าตัวเลขจานวนเต็ม ตัวอย่างเช่น ใช้อาร์เรย์ scores เราจะ
เข้าถึง Element แรกได้ดังนี้
scores[0]
ถ้าต้องการจะประมวลผล Element ทั้งหมด สามารถใช้ลูปเข้ามาช่วยได้ตัวอย่าง
ด้านล่างนี้
for (i=0;<9;i++)
scores[ i]…;
5.อาร์เรย์กับการผ่านค่า
 การส่ง Array เข้าไปใน Method จะเป็นการส่งตาแหน่งของ
Array ( Reference ) เข้าไปให้กับ Parameter ของ
Method
6. อาร์เรย์ของออบเจ็กต์
 อาร์เรย์สามารถเก็บ reference ของ Object ได้โดยกาหนดอาเรย์ เป็น
Class นั้นๆ ในตอนประกาศอาเรย์ รูปแบบดังนี้
 className [ ] arrayName = new className[size];
 เช่น
 Student [ ] studentList = new Student[10];
 Student [ ] studentList = new Student[3];
 studentList[0] = new Student();
 studentList[1] = new Student();
 studentList[2] = new Student();
7.อาร์เรย์ 2 มิติ
 อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุดที่มีการจัดการข้อมูล Row (แถว) ,
Column (หลัก) ซึ่งอยู่ในรูปแบบตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว
 อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ
เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ
ระบุขนาดไม่กาหนดค่าเริ่มต้น
data_type array_name[row_size][column_size];
ตัวอย่าง
int score[2][10];
char id[2][10];
**สร้างตัวแปรที่มี 2 แถว 10 หลักสาหรับเก็บตัวเลขจานวนเต็ม**
การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 2 มิติ
 รูปแบบที่ 1 int num[2][3] = {11,12,13,21,22,23};
 รูปแบบที่ 2 int num[2][3] = {{11,12,13},{21,22,23}};
 รูปแบบที่ 3 int num[3][3] = {{11,12,13},{21,22,23}};
โดยการประกาศทั้ง 3 รูปแบบผลลัพธ์เหมือนกัน ดังนี้..
8. คลาส ArrayList
 ArrayList เป็นคลาสที่รวบรวมคาสั่งพิเศษที่ช่วยสั่งงานอาร์เรย์ ต่างจาก
array ปกติที่จะเป็นการกาหนดขนาดของตัวแปรอาร์เรย์คงที่ แต่ ArrayList
จะสามารถแก้ไขขนาดได้ เวลาใส่ข้อมูลเข้าไปก็ไม่ต้องกาหนดขนาดเฉพาะไว้ก่อน
 Method ที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ดังนี้
 1.add (ตาแหน่งอาร์เรย์,ค่าข้อมุลในอาร์เรย์)
 2.remove (ตาแหน่งอาร์เรย์)
 3.get (ตาแหน่งอาร์เรย์)
 4.indexOf (ข้อมูลอาร์เรย์)
 5.ชื่ออาร์เรย์.size ( )
**การเรียกใช้งานต้อง import เข้ามา
import java.util.ArrayList;
9. สตริง(String)
 สตริงเป็นobject ที่สืบทอดคุณสมบัติมาจาก Class string
ถ้าต้องการสร้างออปเจคจากคลาสสตริง ประกาศดังนี้
String str = new String(“Java”);
หรือ String str = “Java”;
ถ้าเราต้องการให้str มีค่าว่างต้องประกาศ String str = null;
 การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูล
ตัวอักษรโดยเก็บเรียงกันไป และส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุสิ้นสุดของสตริงจะ
ใช้Null Characterหรือ ‘0’ ตัวอย่าง
class string2 {
public static void main (String[] args) {
String one = "Principle ";
String two = "programming";
String three = null;
three = one + two;
printf("%s%n",three);
}
}
- ผลลัพธ์ที่ได้คือPrinciple programming
10.การเปรียบเทียบ String
 ใช้ equals( )ซึ่งเป็น method ที่อยู่ใน String Class
โดยทาหน้าที่เปรียบเทียบ String 2 ชุดว่ามีสมาชิกหรือข้อความที่
เหมือนกันหรือไม่ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้
 อธิบายโปรแกรม : จากโปรแกรมมีการกาหนดตัวแปร s1 และ s2 เป็น
String โดยข้อความเหมือนกัน
จากนั้นกาหนดเงื่อนไขของ if ว่าให้นา String ทั้ง 2 มา เปรียบเทียบ
กันว่าเหมือนกันหรือไม่
-โดยใช้เงื่อนไข s1.equals(s2) ถ้ามีข้อความเหมือนกันจริงก็จะ
พิมพ์ข้อความ "s1 equals s2“
-แต่ถ้าข้อความไม่เหมือนกันก็จะพิมพ์ข้อความ "s1 not equals
s2" ออกมาแทน ให้เราทดสอบ โดยการไปเปลี่ยนข้อความในตัวแปร s1
หรือ s2
**แค่เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กเป็นตัวใหญ่ก็ถือว่าข้อความไม่เหมือนกัน
11. คลาสสตริงบัฟเฟอร์และสตริงบิลเตอร์
 คลาสสตริงบัฟเฟอร์
เป็น class หนึ่งที่ทางานกับ String แต่มีความยืดหยุ่นและใช้งานได้หลากหลาย
กว่า String Class
จะมี Constructor ให้เลือกใช้ได้3 Constructor ได้แก่
- StringBuffer( ) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ และมีความ
ยาวสูงสุด 16 ตัวอักษร
- StringBuffer(int length) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่มีข้อมูล
ใดๆ แต่ความยาวจะขึ้นอยู่กับค่าของ length ที่ส่งมาให้
- StringBuffer(String str) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่มีข้อมูลตาม
Argument “str” ที่ส่งมา โดยความยาวก็จะขึ้นอยู่กับความยาวของ str เท่านั้น

 คลาสสตริงบิลเดอร์
คุณสมบัติคล้ายๆกับ StringBuffer แต่แตกต่างกันตรงที่
StringBuilder ไม่เป็น Thread Save จึงทาให้ทางานได้เร็วกว่า
StringBuffer การเรียกใช้งาน ก็เรียกใช้งานได้เหมือนกัน
1. นายกวิน หลิมย่านกวย เลขที่ 1
2. นายกิตติศักดิ์ จันทวาส เลขที่ 2
3. นายธรรมรัฐ นวลมีชื่อ เลขที่ 3
4. นายนนทวัชร บ่อพลอย เลขที่ 4
5. นายพาคร พรหมวรรณ เลขที่ 5
6. นายขจรยศ พิลาวงษ์ เลขที่ 6
7. นางสาวปทิตตา อินทรโสภา เลขที่ 10
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
bimteach
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
กุ้ง ณัฐรดา
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
ไชยา แก้วผาไล
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
Thanyamon Chat.
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
คู่มือการใช้งาน Mind manager 9
คู่มือการใช้งาน  Mind manager 9คู่มือการใช้งาน  Mind manager 9
คู่มือการใช้งาน Mind manager 9
Withawat Na Wanma
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2Yoon Yoon
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
Ict Krutao
 
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตNuunamnoy Singkham
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
prapapan20
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
Prachyanun Nilsook
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
คู่มือการใช้งาน Mind manager 9
คู่มือการใช้งาน  Mind manager 9คู่มือการใช้งาน  Mind manager 9
คู่มือการใช้งาน Mind manager 9
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
 
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 

Viewers also liked

Pedagogia activa
Pedagogia activaPedagogia activa
Pedagogia activa
Nubia Maritza Lara Diaz
 
SIDANG PROPOSAL
SIDANG PROPOSALSIDANG PROPOSAL
SIDANG PROPOSAL
nisya aulia cessariantina
 
Christine Watson Resume 03-06-16
Christine Watson Resume 03-06-16Christine Watson Resume 03-06-16
Christine Watson Resume 03-06-16
Christine Watson
 
JURUS JITU MELAKUKAN PENJUALAN
JURUS JITU MELAKUKAN PENJUALANJURUS JITU MELAKUKAN PENJUALAN
JURUS JITU MELAKUKAN PENJUALAN
nisya aulia cessariantina
 
MULI MOSES CV
MULI MOSES CVMULI MOSES CV
MULI MOSES CV
moses muli
 
Back to the future
Back to the futureBack to the future
Back to the future
Alejandra Ocasio
 
Prof. M. Matsaberidze _ CV_eng
Prof. M. Matsaberidze _ CV_engProf. M. Matsaberidze _ CV_eng
Prof. M. Matsaberidze _ CV_eng
Mamuka Matsaberidze
 

Viewers also liked (7)

Pedagogia activa
Pedagogia activaPedagogia activa
Pedagogia activa
 
SIDANG PROPOSAL
SIDANG PROPOSALSIDANG PROPOSAL
SIDANG PROPOSAL
 
Christine Watson Resume 03-06-16
Christine Watson Resume 03-06-16Christine Watson Resume 03-06-16
Christine Watson Resume 03-06-16
 
JURUS JITU MELAKUKAN PENJUALAN
JURUS JITU MELAKUKAN PENJUALANJURUS JITU MELAKUKAN PENJUALAN
JURUS JITU MELAKUKAN PENJUALAN
 
MULI MOSES CV
MULI MOSES CVMULI MOSES CV
MULI MOSES CV
 
Back to the future
Back to the futureBack to the future
Back to the future
 
Prof. M. Matsaberidze _ CV_eng
Prof. M. Matsaberidze _ CV_engProf. M. Matsaberidze _ CV_eng
Prof. M. Matsaberidze _ CV_eng
 

Similar to บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง

4
44
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Khim Piamprom
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
Ploy StopDark
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
Naphamas
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
สิทธันต์ สุขสุวรรณ
 
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริงข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
ศิริประภา วันจิ๋ว
 
อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)
tumetr
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]Mook Sasivimon
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรMook Sasivimon
 
อาร์เรย์
อาร์เรย์อาร์เรย์
อาร์เรย์
S-Samd D-Devotion
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
Pear Pimnipa
 

Similar to บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง (20)

4
44
4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
New presentation1
New presentation1New presentation1
New presentation1
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริงข้อมูลชุดอาร์เรย์  และสตริง
ข้อมูลชุดอาร์เรย์ และสตริง
 
อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
99
9999
99
 
งาน
งานงาน
งาน
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
 
อาร์เรย์
อาร์เรย์อาร์เรย์
อาร์เรย์
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง

  • 1.
  • 2. ความหมายของอาร์เรย์  array คือกลุ่มของข้อมูลที่เรียงลาดับกัน มีจานวนแน่นอนซึ่ง ข้อมูลจะเป็นประเภทเดียวกัน ข้อมูลแต่ละตัวของอาร์เรย์จะเรียกว่า อีลีเมนต์(Element) และข้อมูลแต่ละอีลีเมนต์จะมีหมายเลขเพื่อใช้ ในการอ้างอิงถึงเรียกตัวเลขนี้ ว่า เลขดัชนี (Index) จะเป็นตัวแปรที่ ชื่อ เหมือนกัน แต่จะแตกต่างกันตรงหมายเลข
  • 3. 1.array 1 มิติ  ประเภทตัวแปร ชื่อตัวแปร array[จานวนสมาชิกของ array];  เช่น  int Score[4];  *ในที่นี้มีความหมายว่า เป็นการประกาศตัวแปร array ชื่อ Score มีจานวน 4 รายการ โดยมีรายการที่  Score[0]  Score[1]  Score[2]  Score[3]  **รายการของ array จะเริ่มที่ 0 ไม่ได้เริ่มที่ 1**
  • 4. 2.ตัวแปรอาร์เรย์หลายตัว เช่น  int [ ] abc , xyz;  abc = new int[500];  xyz = new int[10]; หรือเขียนรวมกันได้ดังนี้  int[ ] abc = new int [500], xyz = new int[10];  *ข้อควรระวัง* int [ ] a , b ; a และ b เป็น Array int a[ ], b ; a เป็น Array b ไม่เป็น Array
  • 5. 3. การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 1 มิติ  สามารถกาหนดค่าเริ่มต้น array ตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปร ค่าที่กาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วยเครื่องหมาย ,(comma) เช่น int a[5] = {10,20,30,40,50 } ;
  • 6. ถ้าตอนประกาศตัวแปรอาร์เรย์ไม่กาหนดค่าเริ่มต้นค่าที่อยู่ในตัวแปรจะ เป็นค่าที่ค้างอยู่ในหน่วยความจาช่วงที่เราจองไว้เป็นอาร์เรย์ ถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปรแต่กาหนดไม่ครบ ในกรณี ที่เป็นอาร์เรย์แบบตัวเลขทั้งจานวนเต็มและจานวนจริง ค่าที่เหลือจะถูกกาหนด เป็น 0 โดยอัตโนมัติ เช่น float price[5] = {50.5,2.25,10.0} ; **ไม่สามารถประกาศตัวแปรอาร์เรย์โดยไม่ใส่ขนาดของอาร์เรย์ได้ ยกเว้นมีการ กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับมันตั้งแต่แรก
  • 7. 4. การประมวลผลอาร์เรย์  Element ของอาร์เรย์ ลาดับแรกจะเป็น 0 เสมอ ลาดับของ Element ของ อาร์เรย์โดยส่วนมากจะเป็นค่าตัวเลขจานวนเต็ม ตัวอย่างเช่น ใช้อาร์เรย์ scores เราจะ เข้าถึง Element แรกได้ดังนี้ scores[0] ถ้าต้องการจะประมวลผล Element ทั้งหมด สามารถใช้ลูปเข้ามาช่วยได้ตัวอย่าง ด้านล่างนี้ for (i=0;<9;i++) scores[ i]…;
  • 8. 5.อาร์เรย์กับการผ่านค่า  การส่ง Array เข้าไปใน Method จะเป็นการส่งตาแหน่งของ Array ( Reference ) เข้าไปให้กับ Parameter ของ Method
  • 9. 6. อาร์เรย์ของออบเจ็กต์  อาร์เรย์สามารถเก็บ reference ของ Object ได้โดยกาหนดอาเรย์ เป็น Class นั้นๆ ในตอนประกาศอาเรย์ รูปแบบดังนี้  className [ ] arrayName = new className[size];  เช่น  Student [ ] studentList = new Student[10];  Student [ ] studentList = new Student[3];  studentList[0] = new Student();  studentList[1] = new Student();  studentList[2] = new Student();
  • 10. 7.อาร์เรย์ 2 มิติ  อาร์เรย์ 2 มิติ เป็นตัวแปรชุดที่มีการจัดการข้อมูล Row (แถว) , Column (หลัก) ซึ่งอยู่ในรูปแบบตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว  อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง
  • 11. การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ ระบุขนาดไม่กาหนดค่าเริ่มต้น data_type array_name[row_size][column_size]; ตัวอย่าง int score[2][10]; char id[2][10]; **สร้างตัวแปรที่มี 2 แถว 10 หลักสาหรับเก็บตัวเลขจานวนเต็ม**
  • 12. การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 2 มิติ  รูปแบบที่ 1 int num[2][3] = {11,12,13,21,22,23};  รูปแบบที่ 2 int num[2][3] = {{11,12,13},{21,22,23}};  รูปแบบที่ 3 int num[3][3] = {{11,12,13},{21,22,23}}; โดยการประกาศทั้ง 3 รูปแบบผลลัพธ์เหมือนกัน ดังนี้..
  • 13. 8. คลาส ArrayList  ArrayList เป็นคลาสที่รวบรวมคาสั่งพิเศษที่ช่วยสั่งงานอาร์เรย์ ต่างจาก array ปกติที่จะเป็นการกาหนดขนาดของตัวแปรอาร์เรย์คงที่ แต่ ArrayList จะสามารถแก้ไขขนาดได้ เวลาใส่ข้อมูลเข้าไปก็ไม่ต้องกาหนดขนาดเฉพาะไว้ก่อน  Method ที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ดังนี้  1.add (ตาแหน่งอาร์เรย์,ค่าข้อมุลในอาร์เรย์)  2.remove (ตาแหน่งอาร์เรย์)  3.get (ตาแหน่งอาร์เรย์)  4.indexOf (ข้อมูลอาร์เรย์)  5.ชื่ออาร์เรย์.size ( ) **การเรียกใช้งานต้อง import เข้ามา import java.util.ArrayList;
  • 14. 9. สตริง(String)  สตริงเป็นobject ที่สืบทอดคุณสมบัติมาจาก Class string ถ้าต้องการสร้างออปเจคจากคลาสสตริง ประกาศดังนี้ String str = new String(“Java”); หรือ String str = “Java”; ถ้าเราต้องการให้str มีค่าว่างต้องประกาศ String str = null;
  • 15.  การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูล ตัวอักษรโดยเก็บเรียงกันไป และส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุสิ้นสุดของสตริงจะ ใช้Null Characterหรือ ‘0’ ตัวอย่าง class string2 { public static void main (String[] args) { String one = "Principle "; String two = "programming"; String three = null; three = one + two; printf("%s%n",three); } } - ผลลัพธ์ที่ได้คือPrinciple programming
  • 16. 10.การเปรียบเทียบ String  ใช้ equals( )ซึ่งเป็น method ที่อยู่ใน String Class โดยทาหน้าที่เปรียบเทียบ String 2 ชุดว่ามีสมาชิกหรือข้อความที่ เหมือนกันหรือไม่ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้
  • 17.  อธิบายโปรแกรม : จากโปรแกรมมีการกาหนดตัวแปร s1 และ s2 เป็น String โดยข้อความเหมือนกัน จากนั้นกาหนดเงื่อนไขของ if ว่าให้นา String ทั้ง 2 มา เปรียบเทียบ กันว่าเหมือนกันหรือไม่ -โดยใช้เงื่อนไข s1.equals(s2) ถ้ามีข้อความเหมือนกันจริงก็จะ พิมพ์ข้อความ "s1 equals s2“ -แต่ถ้าข้อความไม่เหมือนกันก็จะพิมพ์ข้อความ "s1 not equals s2" ออกมาแทน ให้เราทดสอบ โดยการไปเปลี่ยนข้อความในตัวแปร s1 หรือ s2 **แค่เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กเป็นตัวใหญ่ก็ถือว่าข้อความไม่เหมือนกัน
  • 18. 11. คลาสสตริงบัฟเฟอร์และสตริงบิลเตอร์  คลาสสตริงบัฟเฟอร์ เป็น class หนึ่งที่ทางานกับ String แต่มีความยืดหยุ่นและใช้งานได้หลากหลาย กว่า String Class จะมี Constructor ให้เลือกใช้ได้3 Constructor ได้แก่ - StringBuffer( ) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ และมีความ ยาวสูงสุด 16 ตัวอักษร - StringBuffer(int length) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่มีข้อมูล ใดๆ แต่ความยาวจะขึ้นอยู่กับค่าของ length ที่ส่งมาให้ - StringBuffer(String str) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่มีข้อมูลตาม Argument “str” ที่ส่งมา โดยความยาวก็จะขึ้นอยู่กับความยาวของ str เท่านั้น 
  • 19.  คลาสสตริงบิลเดอร์ คุณสมบัติคล้ายๆกับ StringBuffer แต่แตกต่างกันตรงที่ StringBuilder ไม่เป็น Thread Save จึงทาให้ทางานได้เร็วกว่า StringBuffer การเรียกใช้งาน ก็เรียกใช้งานได้เหมือนกัน
  • 20. 1. นายกวิน หลิมย่านกวย เลขที่ 1 2. นายกิตติศักดิ์ จันทวาส เลขที่ 2 3. นายธรรมรัฐ นวลมีชื่อ เลขที่ 3 4. นายนนทวัชร บ่อพลอย เลขที่ 4 5. นายพาคร พรหมวรรณ เลขที่ 5 6. นายขจรยศ พิลาวงษ์ เลขที่ 6 7. นางสาวปทิตตา อินทรโสภา เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1