SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5 ตัว แปรชุด และตัว แปรกลุ่ม อัก ขระ
1. ประสิท ธิภ าพการเก็บ ข้อ มูล แบบตัว แปรชุด
     ตัวแปรชุดหรือเรียกว่า ตัวแปรแบบอาร์เรย์ ( Array Variable) มี
ลักษณะเป็นข้อมูลโครงสร้างชนิดหนึ่ง ประกอบไปด้วยข้อมูลชนิดพื้น
ฐานหลายๆตัว รวมกลุ่มกัน ข้อมูลแต่ละตัวนั้นเรียกว่า อีลีเมนต์
( Element ) และทุกอีลีเมนต์นั้น ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน
   1.1 คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรชุด
      การกำาหนดลักษณะของตัวแปรชุด หมายถึง การกำาหนดวิธีการจัด
เก็บข้อมูล โดยใช้ตารางข้อมูล ที่เรียกว่ามิติ ( Dimension ) แบ่งตาม
ลักษณะการทำางานได้ 3 รูปแบบ คือ แบบ 1 มิติ แบบ 2 มิติ และแบบ 3
มิติ
         1.1.1 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ
รูปแบบ type array_name [ r ] ;
         1.1.2 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ
รูปแบบ
         type array_name [ r ] [ c ]
         1.1.3 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรชุด แบบ 3 มิต ิ
         ;
รูปแบบ type array_name [ n ] [ r
อธิบ าย ] [ c ] ;
     type    คือชนิดข้อมูลพื้นฐาน เช่น int, float, char
     array_name คือชื่อตัวแปรชุด
     [n]     คือจำานวนตารางข้อมูล
     [r]     คือจำานวนแถวของตารางข้อมูล
     [c]     คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูล




   1.2 ลัก ษณะตารางข้อ มูล ในหน่ว ยความจำา ตัว แปรชุด
ตารางข้อมูลเป็นพื้นที่ที่ระบบจองพื้นที่ใช้งานด้านจัดเก็บข้อมูล
 ของตัวแปรชุด โดยเลียนแบบการดำาเนินงานแบบตารางเมตริกทาง
 คณิตศาสตร์ อธิบายลักษณะตารางจัดเก็บข้อมูลแต่ละมิติ ดังนี้
         1.2.1 ลัก ษณะตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ
      ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่ เก็บข้อมูลเลขจำานวนเต็ม 5 พื้นที่ ให้
 ตัวแปรชุดชื่อ a ตารางข้อมูลแบบ 1 มิติ
         int a [ 5 ] ;
         แสดงลักษณะตารางข้อมูลในตัวแปรชุด 1 มิติ

      a[0]           a[1]          a[2]         a[3]        a[4]
     ข้อมูล ...     ข้อมูล ...  ข้อมูล ...     ข้อมูล ...  ข้อมูล ...
         1.2.2 ลัก ษณะตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ
        ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่เก็บข้อมูลเลขจำานวนเต็ม ให้ตัวแปรชุด
 ชื่อ a ตารางข้อมูลขนาดพื้นที่ 2 แถว 4 คอลัมน์
                int a [ 2 ] [ 4
        แสดงลั] ษณะตารางข้อมูลในตัวแปรชุด 2 มิติ ขนาด 2 แถว 4
                ก;
 คอลัมน์
                       คอลัมน์ 0                  คอลัมน์ 1
 คอลัมน์ 2                     คอลัมน์ 3

แถว        a[0][                a[0]          a[0]          a[0          มิติที่ 2
0       0]                 [1 ]          [2 ]           ] [3 ]
                   ข้อมู        ข้อมูล .      ข้อมูล ..       ข้อมู
แถว     ล ...              ..            .              ล ...
1          a[1][                a[1]          a[1]            a[1
        มิต]ิที่ 1
        0                  [1 ]          [2 ]           ] [3 ]
                   ข้อมู        ข้อมูล .      ข้อมูล ..       ข้อมู
        ล ...              ..            .              ล ...
3) ลัก ษณะตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด แบบ 3 มิต ิ
      ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่เก็บข้อมูลเลขจำานวนเต็ม ให้ตัวแปรชุดชื่อ
 a ตารางข้อมูลขนาดพื้นa ่ 2 2 ] [ 2 คอลัมน์ 2 ตารางข้อมูล
                     int ที [ แถว 2
                     ] [ 2] ;

 แสดงลักษณะตารางข้อมูลในตัวแปรชุด 3 มิติ ขนาด 2 แถว 2 คอลัมน์
 2 ตาราง
         คอลัมน์     คอลัมน์       คอลัมน์      คอลัมน์

         ตารางข้อมูลที่ 0 (มิติ 3)       ตารางข้อมูลที่ 1 (มิติ 3)
          a [ 0 ] [ 0 a [ 0 ][0           a [ 0 ] [ 1 a [ 0 ][1
        ][0]          ] [1 ]            ][0]          ] [1 ]
               ข้อมู       ข้อมูล .            ข้อมู       ข้อมูล .
        ล ...         ..                ล ...         ..
           a[1][         a [ 1 ][0         a[1][         a [ 1 ][1
        0][0]         ] [1 ]            1][0]         ] [1 ]
               ข้อมู       ข้อมูล .            ข้อมู       ข้อมูล .
        ล ...         ..                ล ...         ..


แถว
0
แถว
1
      1.3 การอ้า งอิง พื้น ที่ห น่ว ยความจำา ของตัว แปรชุด
        การอ้างอิงพื้นที่หน่วยความจำาของตัวแปรชุดหมายถึง การนำา
 ข้อมูลลงตารางข้อมูล การอ่านค่าข้อมูลจากตารางข้อมูล การกำาหนดค่า
 ข้อมูลลงตารางข้อมูล การประมวลผลโดยใช้ข้อมูลจากตัวแปรชุดพื้นที่
 ที่ต้องการ
         1.3.1 การป้อ นข้อ มูล ลงพื้น ที่ห น่ว ยความจำา ตัว แปรชุด
        การป้อนข้อมูลจัดเก็บลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด ต้องอ้างอิง
 ชื่อตัวแปร ตามด้วยหมายเลขพื้นที่ หากต้องนำาข้อมูลเข้า 10 พื้นที่ จะ
      for (n = 1 ; n <= 5 ; n++)
 ต้องเขียนคำาสั่งอ้างถึงทั้ง 10 พื้นที่ใน 10 คำาสั่ง ดังนั้นเพื่อความสะดวก
                  {
                  printf ( “ Score = “ ) ;
                  scanf ( “ %d “ , &score [ n ] ) ;
                    }
รวดเร็วในการควบคุมนำาเข้าข้อมูลลงพื้นที่หน่วยความจำา จึงใช้คำาสั่ง
ควบคุมวนซำ้าช่วยดำาเนินงาน ในที่นี้ยกตัวย่าง การวนซำ้าควบคุมการนำา
ข้อมูลลงพื้นที่ตัวแปรชุดด้วยคำาสั่ง for ดังนี้
......................................
       ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าเพื่อรีบข้อมูลลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด
แบบ 1 มิติ จำานวน 5 พื้นที่




อธิบาย 1. ควบคุมให้วนซำ้า 5 รอบ เพื่อรับข้อมูลคะแนน จัดเก็บใน
หน่วยความจำาตัวแปรชุด ชื่อ score จำานวน 5 พื้นที่ จากคำาสั่ง
scanf
           2. สำาหรับ n ค่าแรก คือ ค่า 1 และเพิ่มค่าทีละ 1 แต่ไม่
เกิน 5

    ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าเพื่อรับข้อมูลลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด
แบบ 2 มิติ ขนาดตารางข้อมูล 2 แถว 3 คอลัมน์

     for (n = 0; n < 2 ; n++)
              {
             for (m = 0 ; m <= 3 ; m++)
                       {
                       printf ( “ Score = “ ) ;
                       scanf ( “ %d “ ,
              &score [ n ] [ m] ) ;
                }        }

อธิบาย กรณีวนซำ้าแบบซ้อนระบบจะอ่านตั้งแต่ for วงรอบแรก เข้ามา
ทำางานจนวงในสุด จากนั้นจึงวนซำ้า        ในสุดให้ครบรอบ แล้วจึงไป
เพิ่มค่าวงนอก ทำาเช่นนี้จนกว่าค่าของวงนอกจะถึงค่าสุดท้าย จึงเลิกวน
ซำ้า
1.3.2 การกำา หนดข้อ มูล ลงพื้น ที่ห น่ว ยความจำา ตัว แปร
ชุด
กรณีต้องการกำาหนดค่าในตารางข้อมูล พื้นที่หน่วยความจำาของตัวแปร
ชุด เขียนคำาสั่งได้ด ัง นี้
1. คำา สั่ง กำา หนดค่า ให้ต ัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ
รูปแบบ type array_name [ size] =
2. คำา สั่ง{ value listให้;ต ัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ
           กำา หนดค่า }
รูปแบบ type array_name [ r ] [ c
3. คำา สั่ง] = หนดค่า ให้ต ัว แปชุด แบบ 3 มิต ิ
           กำา { value list } ;
รูปแบบ type array_name [ n ] [ r ] [
อธิบาย c ] = { value list } ;
      type        คือชนิดข้อมูลพื้นฐาน เช่น int, float, char
      array_name คือชื่อตัวแปรชุด
      size        คือขนาดพื้นที่เก็บข้อมูล
      value list        คือข้อมูลที่กำาหนดให้ตัวแปรชุด หากมีหลายค่า
ให้ใช้ , คั่น
      [n]         คือจำานวนตารางข้อมูล
      [r]         คือจำานวนแถวของตารางข้อมูลแต่ละตาราง
      [c]         คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูลแต่ละตาราง
      ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลจำานวนเต็มในตัวแปรชุด 5 รายการ
คือ ค่า 20, 40, 25, 45, 35
     int a [ 5 ] = { 20 , 40 , 25 ,
     45, 35 } กษณะข้อมูลในตารางข้อมูลตัวแปรชุด 1 มิติ
         แสดงลั ;

    a[0]          a[1]          a[2]          a[3]        a[4]
   ข้อมูล 20     ข้อมูล 40     ข้อมูล 25     ข้อมูล 45   ข้อมูล 35

       1.3.3 การอ่า นข้อ มูล จากหน่ว ยความจำา ตัว แปรชุด
     การอ่านค่าข้อมูลจากพื้นที่หน่วยความจำาของตัวแปรชุดมาแสดง
    for (n = 1 ; n <= 5 ; n++)
              {
              printf ( “ Score = %d n” , score [ n ] ) ;
                }
ผล ต้องอ้างอิงชื่อตัวแปร ตามด้วยหมายเลขพื้นที่เช่นกัน เช่น printf (“
%d” , a[ 1 ] ) ; ดังนั้นเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการควบคุมอ่านค่า
ข้อมูลจากหน่วยความจำาทุกพื้นที่ในตารางข้อมูล จึงใช้วิธีเดียวกันกับ
การนำาเสนอข้อมูลลงในพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด ด้วยการใช้คำาสั่ง
ควบคุมวนซำ้า
              ตัวอย่างคำาสั่ง อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำาตัวแปรชุด




อธิบาย     1. วนซำ้าด้วยข้อมูลคะแนนจากหน่วยความจำาตัวแปรชุดชื่อ
score จำานวน 5 พื้นที่ จากคำาสั่ง printf ( “ Score = %d n” ,
score [ n ] ) ;
        2. สำาหรับ n ค่าแรก คือค่า 1 และเพิ่มค่าทีละ 1 แต่ไม่เกิน 5
ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าเพื่อนอ่านข้อมูลจากพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด
แบบ 3 มิติขนาดตารางข้อมูล 2 ตาราง 3 แถว 2 คอลัมน์




  for (n = 0 ; n < 2 ; n++)
            {
       for (m = 0; m < 3 ;
       m++)
                {
         for (p = 0; p < 2 ;
          p++)
                   {
                  num =
          score [ n ] [m] [p] ;
         }        printf (“ %d
  }
2. ประสิท ธิภ าพการเก็บ ข้อ มูล แบบกลุ่ม อัก ขระ
     ตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ หรือเรียกว่า ตัวแปรแบบสตริง (String
Variable) เป็นข้อมูลตัวแปรชุดประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเป็นข้อมูล
ประเภทข้อความ ประกอบด้วยอักขระมากกว่า 1 ตัว ใช้เนื้อที่ 1 อักขระ
ต่อ 1 ไบต์ การสิ้นสุดกลุ่มข้อมูลประเภทข้อความด้วยการกดแป้น
Enter ระบบจะแทนค่าในหน่วยความจำา ด้วยสัญลักษณ์ “ 0 ” ดังนั้น
การกำาหนดขนาดพื้นที่ให้ข้อความ ต้องคำานวณพื้นที่บวก 1 ค่าไว้เสมอ
    2.1 คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรแบบกลุ่ม อัก ขระ
     การกำาหนดลักษณะของตัวแปรกลุ่มอักขระ เป็นการจองพื้นที่
ขนาดตารางข้อมูลเพื่อใช้ในการจัดเก็บกลุ่มข้อมูลเฉพาะอักขระเท่านั้น
ยกตัวอย่างตัวแปรแบบ 1 มิติ และ 2 มิติ ดังนี้
       2.1.1 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรกลุ่ม อัก ขระแบบ 1 มิต ิ
รูปแบบ char array_name [r] ;
       2.1.2 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรกลุ่ม อัก ขระแบบ 2 มิต ิ
รูปแบบ char array_name [r] [ c ]
       ;



อธิบาย
     array_name คือชื่อตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ
           [r]        คือจำานวนแถวของตารางข้อมูล
           [c]        คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูล
ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลเป็นตัวแปรชุดกลุ่มอักขระ


อธิบาย เก็บข้อมูลได้ 9aอั[10]; เพราะต้องมีพื้นที่สำาหรับ “ 0 ”
                  char กขระ
สำาหรับสิ้นสุดข้อความ
   2.2 คำา สั่ง กำา หนดค่า ให้ต ัว แปรชุด แบบกลุ่ม อัก ขระ
    การเขียนคำาสั่งในโปรแกรมให้จัดเก็บค่าข้อมูลเฉพาะกลุ่มอักขระ
ในตารางข้อมูลที่จองพื้นที่ไว้โดยไม่ต้องป้อนข้อมูลนั้นๆ ผ่านทางแป้น
พิมพ์ เขียนคำาสั่งดังนี้
         2.2.1 คำา สั่ง กำา หนดค่า ตัว แปรแบบกลุ่ม อัก ขระ 1 มิต ิ
รูปแบบ
           char array_name [size] = “
           string constant “ ;
ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลตัวอักษร “ X Y Z “ ให้จดเก็บในตัวแปรชุด
                                                   ั
ชื่อ b
         char b [4] = “ X Y Z “ ;


     แสดลักษณะการเก็บข้อมูลในตารางข้อมูลตัวแปรชุดประเภทกลุ่ม

         a[0]            a[1]         a[2]          a[3]
         ข้อมูล X        ข้อมูล Y     ข้อมูล Z     ข้อมูล 0
อักขระแบบ 1 มิติ



                  0 คือ ค่า null character
         2.2.2 คำาสั่งกำาหนดค่าตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ 2 มิติ
รูปแบบ char array_name [ r ] [ c ] = { “
อธิบาย string constant list “ } ;
      array_name             คือชื่อตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ
      string constant list               คือข้อมูลชนิดอักขระ หากมี
หลายรายการให้ใช้ , คั่น
           [r]               คือจำานวนแถวของตารางข้อมูล
           [c]               คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูล
ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดให้จัดเก็บข้อมูล “ABC” , “DEF” ลงหน่วยคงาม
จำาตัวแปรชุด

 char a [ 2 ] [ 4 ] = { “ ABC “ ,
                          “DEF “ } ;
แสดงลักษณะการเก็บข้อมูลในตารางตัวแปรชุดประเภทกลุ่มอักขระแบบ
2 มิติ
               คอลัมน์ 0              คอลัมน์ 1
คอลัมน์ 2               คอลัมน์ 3

แถว     a[0][         a[0]          a[0]               a[0       มิติที่ 2
       0]        [1 ]          [2 ]                ] [3 ]
0
           ข้อมู      ข้อมูล        ข้อมูล C             ข้อมู
       ลA        B                                 ล 0
        a[1][         a[1]          a[1]                a[1
       0]        [1 ]          [2 ]                ] [3 ]
           ข้อมู      ข้อมูล E      ข้อมูล F             ข้อมู
       ลD                                          ล 0



แถว
1
       มิติที่ 1
    2.3 การอ้า งอิง ข้อ มูล ในตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด กลุ่ม อัก ขระ
      ตัวแปรชุดกลุ่มอักขระ ใช้วิธีการอ้างอิงหน่วยความจำาเช่นเดียวกับ
ตัวแปรชุดแบบอื่นๆ และใช้คำาสั่ง for ควบคุมการวนซำ้าดำาเนินงานกับ
ข้อมูล ดังนี้
        2.3.1 การกำา หนดข้อ มูล ให้ต ัว แปรกลุ่ม อัก ขระ และอ่า น
ค่า มาใช้ง าน
ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจำาตัวแปรชุดกลุ่ม
    char name [ 5 ] [ 20 ] = { “Panya, Pawat, Pattraporn,
อักขระ 2 มิติ
    Patcharawarai, Pilin “ } ;
ตัวอย่างคำาสั่ง ควบคุมให้วนซำ้าอ่านค่าข้อมูลจากหน่วยความจำาตัวแปร
ชุดกลุ่มอักขระ 2 มิติ
  for (i = 0 ; i < 4 ; i++)
                {
                printf ( “ %d ” , i+1 ) ;
                  printf ( “ %P n ” , name [ i ] ) ;
                  }


         2.3.2 การป้อ นค่า และอ่า นค่า จากหน่ว ยความจำา ตัว แปร
ชุด กลุ่ม อัก ขระ
ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่หน่วยความจำาให้ตัวแปรชุดกลุ่มอักขระลักษณะ
2 มิติ
 char name [ 5 ] [ 20 ] ;


ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้ารับค่าจากแป้นพิมพ์ เพื่อจัดเก็บลงพื้นที่หน่วยความ
จำาตัวแปรชุดกลุ่มอักขระ


 for (i = 0 ; i < 4 ; i++)
            {
            printf ( “ name = > ” ) ;
              gets ( name [ i ] ) ;
              }
ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าอ่านค่าจากพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุดกลุ่ม
อักขระมาแสดงผล

 for (i = 0 ; i < 4 ; i++)
            {
            printf ( “ %d ” , i+1 ) ;
              printf ( “ %P n ” , name [ i ] ) ;
              }
3. กรณีศ ึก ษาการใช้ต ัว แปรชุด
   3.1 กรณีศ ึก ษาการอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทตัว แปรในหน่ว ย
ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ
โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมระบบงานเพื่อนำาข้อมูลคะแนนนักเรียน 5
ราย จัดเก็บลงหน่วยความจำาตัวแปรชุด
         แล้วอ่านค่าข้อมูลคะแนนนักเรียนทั้ง 5 รายจากหน่วยความจำา
ตัวแปรชุดมาแสดงที่จอภาพ




       รูป ผัง งานที่ 5.1 ผังงานจากโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.1


      ตัว อย่า งโปรแกรมที่ 5.1 กรณีศึกษาโปรแกรมระบบงาน
ป้อนและอ่านข้อมูล จากตารางพื้นที่ตัวแปรชุด 1 มิติ
รูป ที่ 5.1 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.1 ส่วนป้อนข้อมูลลงพื้นที่
                        ตัวแปรชุด 1 มิติ




  รูป ที่ 5.2 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.1 ส่วนอ่านข้อมูลจาก
                       ตัวแปรชุด 1 มิติ


อธิบ าย โปรแกรมนี้ควบคุมการทำางานเป็นค่าคงที่ในโปรแกรม คือ 5
รอบ
   3.2 กรณีศ ึก ษา การอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทค่า คงที่ใ นหน่ว ย
ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ
โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมระบบงานเพื่อกำาหนดค่าคะแนนนักเรียน 5
รายในตัวโปรแกรม ดังนี้ 15.5, 19.5,
10.0, 12.5, 19.7 แล้วอ่านข้อมูลที่นำาไปจัดเก็บในตาราง
ข้อมูลนั้นมาแสดงผลที่จอภาพ


        ตัว อย่า งโปรแกรมที่ 5.2 กรณีศึกษาโปรแกรมระบบงาน
กำาหนดข้อมูลและอ่านค่าจากหน่วยความจำาตัวแปรชุด 1 มิติ




           รูป ที่ 5.3 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.2


อธิบ าย ระบบวนซำ้าอ่านค่าข้อมูล คะแนนนักเรียนจำานวน 5 ราย จาก
หน่วยความจำาตัวแปรชุดจากที่เขียน
คำาสั่งกำาหนดข้อมูลไว้ในโปรแกรม


   3.3 กรณีศ ึก ษาการอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทตัว แปรในหน่ว ย
ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ
โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมระบบงานเพื่อป้อนข้อมูลคะแนนนักเรียน 2
ราย แต่ละรายต้องป้อนคะแนนจำานวน
        3 วิชา บันทึกลงหน่วยความจำาแบบตัวแปรชุด แล้วอ่านค่า
จากหน่วยความจำาตัวแปรชุดแสดงผลที่
        จอภาพ
       วิเคราะห์ตารางข้อมูลจากโจทย์ต้องใช้ตัวแปรชุดขนาด 2 มิติ
ขนาด 2 แถว x 3 คอลัมน์ ได้ตารางข้อมูลขนาด 6 ห้องคือ
รูป ผัง งานที่ 5.2 ผังงานโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.3




         ตัว อย่า งโปรแกรมที่ 5.3 กรณีศึกษาโปรแกรมระบบงาน
ป้อนและอ่านข้อมูล จากหน่วยความจำา
ตัวแปรชุด 2 มิติ
รูป ที่ 5.4 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่าที่ 5.3


   3.4 กรณีศ ึก ษาการอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทตัว แปรในหน่ว ย
ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ
        กำา หนดรอบวนซำ้า โดยผู้ใ ช้ร ะบบงานโปรแกรม
โจทย์ : จงเขียนขั้นตอนการสร้างงานโปรแกรม เพื่อป้อนข้อมูลชื่อ
รายการวัตถุดิบ และราคาของวัตถุดิบที่ใช้
         ดำาเนินงานตามจำานวนที่ผู้ใช้ระบบระบุจำานวนรายการ แล้วให้
พิมพ์สรุปข้อมูลที่บันทึกทั้งหมดพร้อม
       พิมพ์ผลรวมจำานวนเงินวัตถุดิบทั้งหมดที่จัดซื้อในครั้งนี้ การ
แสดงผลทางจอภาพให้ออกแบบตาม
         ความเหมาะสมของงาน
        ** หมายเหตุ >> ยกตัวอย่างบางตอนดังนี้
ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม
1.การวิเ คราะห์ร ะบบงานเบื้อ งต้น
   1.5 กำาหนดคุณสมบัติตัวแปร


                            ชื่อ หน่ว ย
            ข้อ มูล                             ชนิด ข้อ มูล
                            ความจำา
         จำานวนรา
                                n          ตัวเลขจำานวนเต็ม
        ยการวตถุดิบ
        ลำาดับวัตถุดิบ           I         ตัวเลขจำานวนเต็ม
                                            ตัวแปรชุด 1 มิติ
          ชื่อวัตถุดิบ      Material
                                               กลุ่มอักขระ
         ราคาต้นทุน                         ตัวแปรชุด 1 มิติ
                              Price
           วัตถุดิบ                            จำานวนเต็ม
        ผลรวมต้นทุน           Sum          ตัวเลขจำานวนเต็ม


   1.6 ลำาดับขั้นตอนการทำางาน (action)
     1) เริ่มต้นการทำางาน
     2) ป้อนจำานวนรายการวัตถุดิบ (n)
     3) กำาหนดคำาสั่ง for (i=0; i < n ; i++ )
        หากค่า I ยังไม่เกินค่า n ให้ทำาข้อ 3.1 หากเกินให้ไปข้อ 4)
        3.1) ป้อนวัตถุดิบ (material [ i ] ), ราคา (price [ i ] )
        3.2) วนกลับไปข้อ 3)
     4) กำาหนดคำาสั่ง for (i=0; i < n ; i++)
หากค่า i ยังไม่เกินค่า n ให้ทำาข้อ 4.1 หากเกินให้ไปข้อ 5)
        4.1) พิมพ์วัตถุดิบ (material [ i ] ), ราคา (price [ i ] )
        4.2) คำานวณหาผลรวม sum = sum + price[ i ]
         4.3) วนกลับไปข้อ 4)
    5) พิมพ์ผลรวม (sum)
    6) สิ้นสุดการทำางาน


2. ลำา ดับ การทำา งานด้ว ยผัง งานโปรแกรม




  รูป ผัง งานที่ 5.3 ผังงานกรณีศึกษาจากโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.4
คำา ถาม
1. ตัว แปรชุด เรีย กอีก ชื่อ หนึ่ง ว่า อะไร
      1. ตัวแปรแบบแอมเรย์
      2. ตัวแปรแบบสตริง
      3. ตัวแปรแบบตัวแปรชุด
      4. ตัวแปรแบบอาร์เรย์
2. คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรชุด มีก ี่ร ูป แบบ
     1.   มี   2   รูปแบบ
     2.   มี   3   รูปแบบ
     3.   มี   4   รูปแบบ
     4.   มี   5   รูปแบบ
3. type คือ อะไร
     1.   ชื่อตัวแปรชุด
     2.   ชนิดข้อมูลพื้นฐาน
     3.   ชนิดของตารางข้อมูล
     4.   ขนาดพื้นที่เก็บข้อมูล
4. ลัก ษณะตารางข้อ มูล ในหน่ว ยความจำา ตัว แปรชุด โดยตาราง
ข้อ มูล จัด เก็บ ข้อ มูล ตัว แปรชุด โดยเลีย นแบบตารางแบบใด
     1.   แบบตารางเมตริก
     2.   แบบตารางพีทาโกรัส
     3.   แบบตารางแจกแจงความถี่
     4.   แบบตารางปกติ



5. การอ้า งอิง พื้น ที่ห น่ว ยความจำา ของตัว แปรชุด คือ อะไร
      1. การกำาหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูล โดยใช้ตารางข้อมูล ที่เรียกว่า
มิติ ( Dimension )
      2. เป็นข้อมูลตัวแปรชุดประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเป็นข้อมูลประเภท
ข้อความ ประกอบด้วยอักขระมากกว่า 1 ตัว ใช้เนื้อที่ 1 อักขระต่อ 1
ไบต์
      3. การนำาข้อมูลลงตารางข้อมูล การอ่านค่าข้อมูลจากตาราง
ข้อมูล การกำาหนดค่าข้อมูลลงตารางข้อมูล การประมวลผลโดยใช้
ข้อมูลจากตัวแปรชุดพื้นที่ที่ต้องการ
      4. เป็นข้อมูลโครงสร้างชนิดหนึ่ง ประกอบไปด้วยข้อมูลชนิดพื้น
ฐานหลายๆตัว รวมกลุ่มกัน ข้อมูลแต่ละตัวนั้นเรียกว่า อีลีเมนต์
6.คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรชุด หมายถึง อะไร
          1. การอ้างอิงหน่วยความจำากับตัวแปรชุดอื่นๆ
          2.การกำาหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูล โดยใช้ตารางข้อมูล
          3.การเขียนคำาสั่งในโปรแกรมให้จัดเก็บค่าข้อมูลเฉพาะกลุ่ม
อักขระ
          4.การป้อนข้อมูลจัดเก็บลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด
7.ตัว แปรแบบกลุ่ม อัก ขระเป็น ข้อ มูล ตัว แปรชุด ประเภทหนึ่ง ที่ม ี
ลัก ษณะเป็น ข้อ มูล ประเภทใด
         1. ประเภทรูปภาพ
         2.ประเภทศิลปะ
         3.ประเภทข้อความ
         4.ประเภทสวยงาม




                                                                       25
8.การอ้า งอิง ข้อ มูล ในตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด กลุ่ม อัก ขระใช้ค ำา
สั่ง อะไร ควบคุม การวนซำ้า
1. for
               2.love
               3. type
               4. size
9. value list คือ อะไร
                1. ชนิดข้อมูลพื้นฐาน
                2.ชื่อตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ
                3.จำานวนตารางข้อมูล
                4.ข้อมูลที่กำาหนดให้ตัวแปรชุด หากมีหลายค่า ให้ใช้ ,
คั่น
10.การอ่า นค่า ข้อ มูล จากพื้น ที่ห น่ว ยความจำา ของตัว แปรชุด มา
แสดงผล เพื่อ ความสะดวกรวดเร็ว ในการควบคุม อ่า นค่า ต้อ งใช้
คำา สั่ง อะไร
   1.จากคำาสั่ง printf
   2. ด้วยการใช้คำาสั่งควบคุมวนซำ้า
   3. คำาสั่ง score
   4. คำาสั่งเจ้านาย




                                                                      26



                          เฉลย
1 ตอบ        4
     2 ตอบ        2
     3 ตอบ        2
     4 ตอบ        1
     5 ตอบ        3
     6 ตอบ        2
     7 ตอบ        3
     8 ตอบ        1
     9 ตอบ        4
    10 ตอบ 2




       สมาชิก
1.นายจิตรเทพ สุกุลธนาศร        เลขที่ 5
2. นายธนวัส   อ่อนเอี่ยม         เลขที่ 6
3. นางสาว จิตรทิพย์ สุกุลธนาศร เลขที่ 23
4. นางสาว ธนัชกัญ    พูลผล       เลขที่ 24
5. นางสาว พัชรวลัย   ดีประชา     เลขที่ 25
6. นางสาว ภัทราพร    เนตรสว่าง เลขที่ 26
7. นางสาว ศศิวิมล    สมบูรณ์ศิริ เลขที่ 27
           ม.6/2

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1Little Tukta Lita
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
Heart Kantapong
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
chanisara Ay
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
Naphamas
 
4
44
อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)
tumetr
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
สิทธันต์ สุขสุวรรณ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
defeat overcome
 
ตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระ
ตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระ
ตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระ
เฉลิมพร สุขเกษม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Nuchy Suchanuch
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์waradakhantee
 
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
Kittinan Noimanee
 
งานนนนนนนนนนน
งานนนนนนนนนนนงานนนนนนนนนนน
งานนนนนนนนนนน
Pongspak kamonsri
 

What's hot (16)

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
4
44
4
 
อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)อาเรย์ (Array)
อาเรย์ (Array)
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
ตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระ
ตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระ
ตัวแปลชุดและตัวแปลอักขระ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
(Big One) C Language - 02 ฟังก์ชันส่งผ่านสตริง
 
งานนนนนนนนนนน
งานนนนนนนนนนนงานนนนนนนนนนน
งานนนนนนนนนนน
 

Similar to บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร

บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระสื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
เกศรา ลิขิตสกุลวงศ์
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
BoOm mm
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)
sirada nilbut
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
Pongspak kamonsri
 
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระงานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
Pongspak kamonsri
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
Pongspak kamonsri
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
thanaluhk
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
Pongspak kamonsri
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระwebsite22556
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
Thachanok Plubpibool
 

Similar to บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร (19)

บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระสื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ คอมกาน (1)
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระงานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
งานนนนนนนนนนน ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
งานกลุ่มคอม กลุ่ม-5
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
99
9999
99
 
งาน
งานงาน
งาน
 

More from Mook Sasivimon

งานย่อย2
งานย่อย2งานย่อย2
งานย่อย2Mook Sasivimon
 
ฟังก์ชัน27
ฟังก์ชัน27ฟังก์ชัน27
ฟังก์ชัน27Mook Sasivimon
 

More from Mook Sasivimon (6)

งานย่อย2
งานย่อย2งานย่อย2
งานย่อย2
 
Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2
 
ฟังก์ชัน27
ฟังก์ชัน27ฟังก์ชัน27
ฟังก์ชัน27
 
It1
It1It1
It1
 
It1
It1It1
It1
 
It1
It1It1
It1
 

บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร

  • 1. บทที่ 5 ตัว แปรชุด และตัว แปรกลุ่ม อัก ขระ 1. ประสิท ธิภ าพการเก็บ ข้อ มูล แบบตัว แปรชุด ตัวแปรชุดหรือเรียกว่า ตัวแปรแบบอาร์เรย์ ( Array Variable) มี ลักษณะเป็นข้อมูลโครงสร้างชนิดหนึ่ง ประกอบไปด้วยข้อมูลชนิดพื้น ฐานหลายๆตัว รวมกลุ่มกัน ข้อมูลแต่ละตัวนั้นเรียกว่า อีลีเมนต์ ( Element ) และทุกอีลีเมนต์นั้น ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน 1.1 คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรชุด การกำาหนดลักษณะของตัวแปรชุด หมายถึง การกำาหนดวิธีการจัด เก็บข้อมูล โดยใช้ตารางข้อมูล ที่เรียกว่ามิติ ( Dimension ) แบ่งตาม ลักษณะการทำางานได้ 3 รูปแบบ คือ แบบ 1 มิติ แบบ 2 มิติ และแบบ 3 มิติ 1.1.1 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ รูปแบบ type array_name [ r ] ; 1.1.2 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ รูปแบบ type array_name [ r ] [ c ] 1.1.3 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรชุด แบบ 3 มิต ิ ; รูปแบบ type array_name [ n ] [ r อธิบ าย ] [ c ] ; type คือชนิดข้อมูลพื้นฐาน เช่น int, float, char array_name คือชื่อตัวแปรชุด [n] คือจำานวนตารางข้อมูล [r] คือจำานวนแถวของตารางข้อมูล [c] คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูล 1.2 ลัก ษณะตารางข้อ มูล ในหน่ว ยความจำา ตัว แปรชุด
  • 2. ตารางข้อมูลเป็นพื้นที่ที่ระบบจองพื้นที่ใช้งานด้านจัดเก็บข้อมูล ของตัวแปรชุด โดยเลียนแบบการดำาเนินงานแบบตารางเมตริกทาง คณิตศาสตร์ อธิบายลักษณะตารางจัดเก็บข้อมูลแต่ละมิติ ดังนี้ 1.2.1 ลัก ษณะตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่ เก็บข้อมูลเลขจำานวนเต็ม 5 พื้นที่ ให้ ตัวแปรชุดชื่อ a ตารางข้อมูลแบบ 1 มิติ int a [ 5 ] ; แสดงลักษณะตารางข้อมูลในตัวแปรชุด 1 มิติ a[0] a[1] a[2] a[3] a[4] ข้อมูล ... ข้อมูล ... ข้อมูล ... ข้อมูล ... ข้อมูล ... 1.2.2 ลัก ษณะตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่เก็บข้อมูลเลขจำานวนเต็ม ให้ตัวแปรชุด ชื่อ a ตารางข้อมูลขนาดพื้นที่ 2 แถว 4 คอลัมน์ int a [ 2 ] [ 4 แสดงลั] ษณะตารางข้อมูลในตัวแปรชุด 2 มิติ ขนาด 2 แถว 4 ก; คอลัมน์ คอลัมน์ 0 คอลัมน์ 1 คอลัมน์ 2 คอลัมน์ 3 แถว a[0][ a[0] a[0] a[0 มิติที่ 2 0 0] [1 ] [2 ] ] [3 ] ข้อมู ข้อมูล . ข้อมูล .. ข้อมู แถว ล ... .. . ล ... 1 a[1][ a[1] a[1] a[1 มิต]ิที่ 1 0 [1 ] [2 ] ] [3 ] ข้อมู ข้อมูล . ข้อมูล .. ข้อมู ล ... .. . ล ...
  • 3. 3) ลัก ษณะตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด แบบ 3 มิต ิ ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่เก็บข้อมูลเลขจำานวนเต็ม ให้ตัวแปรชุดชื่อ a ตารางข้อมูลขนาดพื้นa ่ 2 2 ] [ 2 คอลัมน์ 2 ตารางข้อมูล int ที [ แถว 2 ] [ 2] ; แสดงลักษณะตารางข้อมูลในตัวแปรชุด 3 มิติ ขนาด 2 แถว 2 คอลัมน์ 2 ตาราง คอลัมน์ คอลัมน์ คอลัมน์ คอลัมน์ ตารางข้อมูลที่ 0 (มิติ 3) ตารางข้อมูลที่ 1 (มิติ 3) a [ 0 ] [ 0 a [ 0 ][0 a [ 0 ] [ 1 a [ 0 ][1 ][0] ] [1 ] ][0] ] [1 ] ข้อมู ข้อมูล . ข้อมู ข้อมูล . ล ... .. ล ... .. a[1][ a [ 1 ][0 a[1][ a [ 1 ][1 0][0] ] [1 ] 1][0] ] [1 ] ข้อมู ข้อมูล . ข้อมู ข้อมูล . ล ... .. ล ... .. แถว 0 แถว 1 1.3 การอ้า งอิง พื้น ที่ห น่ว ยความจำา ของตัว แปรชุด การอ้างอิงพื้นที่หน่วยความจำาของตัวแปรชุดหมายถึง การนำา ข้อมูลลงตารางข้อมูล การอ่านค่าข้อมูลจากตารางข้อมูล การกำาหนดค่า ข้อมูลลงตารางข้อมูล การประมวลผลโดยใช้ข้อมูลจากตัวแปรชุดพื้นที่ ที่ต้องการ 1.3.1 การป้อ นข้อ มูล ลงพื้น ที่ห น่ว ยความจำา ตัว แปรชุด การป้อนข้อมูลจัดเก็บลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด ต้องอ้างอิง ชื่อตัวแปร ตามด้วยหมายเลขพื้นที่ หากต้องนำาข้อมูลเข้า 10 พื้นที่ จะ for (n = 1 ; n <= 5 ; n++) ต้องเขียนคำาสั่งอ้างถึงทั้ง 10 พื้นที่ใน 10 คำาสั่ง ดังนั้นเพื่อความสะดวก { printf ( “ Score = “ ) ; scanf ( “ %d “ , &score [ n ] ) ; }
  • 4. รวดเร็วในการควบคุมนำาเข้าข้อมูลลงพื้นที่หน่วยความจำา จึงใช้คำาสั่ง ควบคุมวนซำ้าช่วยดำาเนินงาน ในที่นี้ยกตัวย่าง การวนซำ้าควบคุมการนำา ข้อมูลลงพื้นที่ตัวแปรชุดด้วยคำาสั่ง for ดังนี้ ...................................... ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าเพื่อรีบข้อมูลลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด แบบ 1 มิติ จำานวน 5 พื้นที่ อธิบาย 1. ควบคุมให้วนซำ้า 5 รอบ เพื่อรับข้อมูลคะแนน จัดเก็บใน หน่วยความจำาตัวแปรชุด ชื่อ score จำานวน 5 พื้นที่ จากคำาสั่ง scanf 2. สำาหรับ n ค่าแรก คือ ค่า 1 และเพิ่มค่าทีละ 1 แต่ไม่ เกิน 5 ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าเพื่อรับข้อมูลลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด แบบ 2 มิติ ขนาดตารางข้อมูล 2 แถว 3 คอลัมน์ for (n = 0; n < 2 ; n++) { for (m = 0 ; m <= 3 ; m++) { printf ( “ Score = “ ) ; scanf ( “ %d “ , &score [ n ] [ m] ) ; } } อธิบาย กรณีวนซำ้าแบบซ้อนระบบจะอ่านตั้งแต่ for วงรอบแรก เข้ามา ทำางานจนวงในสุด จากนั้นจึงวนซำ้า ในสุดให้ครบรอบ แล้วจึงไป เพิ่มค่าวงนอก ทำาเช่นนี้จนกว่าค่าของวงนอกจะถึงค่าสุดท้าย จึงเลิกวน ซำ้า
  • 5. 1.3.2 การกำา หนดข้อ มูล ลงพื้น ที่ห น่ว ยความจำา ตัว แปร ชุด กรณีต้องการกำาหนดค่าในตารางข้อมูล พื้นที่หน่วยความจำาของตัวแปร ชุด เขียนคำาสั่งได้ด ัง นี้ 1. คำา สั่ง กำา หนดค่า ให้ต ัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ รูปแบบ type array_name [ size] = 2. คำา สั่ง{ value listให้;ต ัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ กำา หนดค่า } รูปแบบ type array_name [ r ] [ c 3. คำา สั่ง] = หนดค่า ให้ต ัว แปชุด แบบ 3 มิต ิ กำา { value list } ; รูปแบบ type array_name [ n ] [ r ] [ อธิบาย c ] = { value list } ; type คือชนิดข้อมูลพื้นฐาน เช่น int, float, char array_name คือชื่อตัวแปรชุด size คือขนาดพื้นที่เก็บข้อมูล value list คือข้อมูลที่กำาหนดให้ตัวแปรชุด หากมีหลายค่า ให้ใช้ , คั่น [n] คือจำานวนตารางข้อมูล [r] คือจำานวนแถวของตารางข้อมูลแต่ละตาราง [c] คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูลแต่ละตาราง ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลจำานวนเต็มในตัวแปรชุด 5 รายการ คือ ค่า 20, 40, 25, 45, 35 int a [ 5 ] = { 20 , 40 , 25 , 45, 35 } กษณะข้อมูลในตารางข้อมูลตัวแปรชุด 1 มิติ แสดงลั ; a[0] a[1] a[2] a[3] a[4] ข้อมูล 20 ข้อมูล 40 ข้อมูล 25 ข้อมูล 45 ข้อมูล 35 1.3.3 การอ่า นข้อ มูล จากหน่ว ยความจำา ตัว แปรชุด การอ่านค่าข้อมูลจากพื้นที่หน่วยความจำาของตัวแปรชุดมาแสดง for (n = 1 ; n <= 5 ; n++) { printf ( “ Score = %d n” , score [ n ] ) ; }
  • 6. ผล ต้องอ้างอิงชื่อตัวแปร ตามด้วยหมายเลขพื้นที่เช่นกัน เช่น printf (“ %d” , a[ 1 ] ) ; ดังนั้นเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการควบคุมอ่านค่า ข้อมูลจากหน่วยความจำาทุกพื้นที่ในตารางข้อมูล จึงใช้วิธีเดียวกันกับ การนำาเสนอข้อมูลลงในพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด ด้วยการใช้คำาสั่ง ควบคุมวนซำ้า ตัวอย่างคำาสั่ง อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำาตัวแปรชุด อธิบาย 1. วนซำ้าด้วยข้อมูลคะแนนจากหน่วยความจำาตัวแปรชุดชื่อ score จำานวน 5 พื้นที่ จากคำาสั่ง printf ( “ Score = %d n” , score [ n ] ) ; 2. สำาหรับ n ค่าแรก คือค่า 1 และเพิ่มค่าทีละ 1 แต่ไม่เกิน 5 ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าเพื่อนอ่านข้อมูลจากพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด แบบ 3 มิติขนาดตารางข้อมูล 2 ตาราง 3 แถว 2 คอลัมน์ for (n = 0 ; n < 2 ; n++) { for (m = 0; m < 3 ; m++) { for (p = 0; p < 2 ; p++) { num = score [ n ] [m] [p] ; } printf (“ %d }
  • 7. 2. ประสิท ธิภ าพการเก็บ ข้อ มูล แบบกลุ่ม อัก ขระ ตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ หรือเรียกว่า ตัวแปรแบบสตริง (String Variable) เป็นข้อมูลตัวแปรชุดประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเป็นข้อมูล ประเภทข้อความ ประกอบด้วยอักขระมากกว่า 1 ตัว ใช้เนื้อที่ 1 อักขระ ต่อ 1 ไบต์ การสิ้นสุดกลุ่มข้อมูลประเภทข้อความด้วยการกดแป้น Enter ระบบจะแทนค่าในหน่วยความจำา ด้วยสัญลักษณ์ “ 0 ” ดังนั้น การกำาหนดขนาดพื้นที่ให้ข้อความ ต้องคำานวณพื้นที่บวก 1 ค่าไว้เสมอ 2.1 คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรแบบกลุ่ม อัก ขระ การกำาหนดลักษณะของตัวแปรกลุ่มอักขระ เป็นการจองพื้นที่ ขนาดตารางข้อมูลเพื่อใช้ในการจัดเก็บกลุ่มข้อมูลเฉพาะอักขระเท่านั้น ยกตัวอย่างตัวแปรแบบ 1 มิติ และ 2 มิติ ดังนี้ 2.1.1 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรกลุ่ม อัก ขระแบบ 1 มิต ิ รูปแบบ char array_name [r] ; 2.1.2 คำา สั่ง กำา หนดตัว แปรกลุ่ม อัก ขระแบบ 2 มิต ิ รูปแบบ char array_name [r] [ c ] ; อธิบาย array_name คือชื่อตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ [r] คือจำานวนแถวของตารางข้อมูล [c] คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูล ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลเป็นตัวแปรชุดกลุ่มอักขระ อธิบาย เก็บข้อมูลได้ 9aอั[10]; เพราะต้องมีพื้นที่สำาหรับ “ 0 ” char กขระ สำาหรับสิ้นสุดข้อความ 2.2 คำา สั่ง กำา หนดค่า ให้ต ัว แปรชุด แบบกลุ่ม อัก ขระ การเขียนคำาสั่งในโปรแกรมให้จัดเก็บค่าข้อมูลเฉพาะกลุ่มอักขระ
  • 8. ในตารางข้อมูลที่จองพื้นที่ไว้โดยไม่ต้องป้อนข้อมูลนั้นๆ ผ่านทางแป้น พิมพ์ เขียนคำาสั่งดังนี้ 2.2.1 คำา สั่ง กำา หนดค่า ตัว แปรแบบกลุ่ม อัก ขระ 1 มิต ิ รูปแบบ char array_name [size] = “ string constant “ ; ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลตัวอักษร “ X Y Z “ ให้จดเก็บในตัวแปรชุด ั ชื่อ b char b [4] = “ X Y Z “ ; แสดลักษณะการเก็บข้อมูลในตารางข้อมูลตัวแปรชุดประเภทกลุ่ม a[0] a[1] a[2] a[3] ข้อมูล X ข้อมูล Y ข้อมูล Z ข้อมูล 0 อักขระแบบ 1 มิติ 0 คือ ค่า null character 2.2.2 คำาสั่งกำาหนดค่าตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ 2 มิติ รูปแบบ char array_name [ r ] [ c ] = { “ อธิบาย string constant list “ } ; array_name คือชื่อตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ string constant list คือข้อมูลชนิดอักขระ หากมี หลายรายการให้ใช้ , คั่น [r] คือจำานวนแถวของตารางข้อมูล [c] คือจำานวนคอลัมน์ของตารางข้อมูล ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดให้จัดเก็บข้อมูล “ABC” , “DEF” ลงหน่วยคงาม จำาตัวแปรชุด char a [ 2 ] [ 4 ] = { “ ABC “ , “DEF “ } ;
  • 9. แสดงลักษณะการเก็บข้อมูลในตารางตัวแปรชุดประเภทกลุ่มอักขระแบบ 2 มิติ คอลัมน์ 0 คอลัมน์ 1 คอลัมน์ 2 คอลัมน์ 3 แถว a[0][ a[0] a[0] a[0 มิติที่ 2 0] [1 ] [2 ] ] [3 ] 0 ข้อมู ข้อมูล ข้อมูล C ข้อมู ลA B ล 0 a[1][ a[1] a[1] a[1 0] [1 ] [2 ] ] [3 ] ข้อมู ข้อมูล E ข้อมูล F ข้อมู ลD ล 0 แถว 1 มิติที่ 1 2.3 การอ้า งอิง ข้อ มูล ในตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด กลุ่ม อัก ขระ ตัวแปรชุดกลุ่มอักขระ ใช้วิธีการอ้างอิงหน่วยความจำาเช่นเดียวกับ ตัวแปรชุดแบบอื่นๆ และใช้คำาสั่ง for ควบคุมการวนซำ้าดำาเนินงานกับ ข้อมูล ดังนี้ 2.3.1 การกำา หนดข้อ มูล ให้ต ัว แปรกลุ่ม อัก ขระ และอ่า น ค่า มาใช้ง าน ตัวอย่างคำาสั่ง กำาหนดข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจำาตัวแปรชุดกลุ่ม char name [ 5 ] [ 20 ] = { “Panya, Pawat, Pattraporn, อักขระ 2 มิติ Patcharawarai, Pilin “ } ;
  • 10. ตัวอย่างคำาสั่ง ควบคุมให้วนซำ้าอ่านค่าข้อมูลจากหน่วยความจำาตัวแปร ชุดกลุ่มอักขระ 2 มิติ for (i = 0 ; i < 4 ; i++) { printf ( “ %d ” , i+1 ) ; printf ( “ %P n ” , name [ i ] ) ; } 2.3.2 การป้อ นค่า และอ่า นค่า จากหน่ว ยความจำา ตัว แปร ชุด กลุ่ม อัก ขระ ตัวอย่างคำาสั่ง จองพื้นที่หน่วยความจำาให้ตัวแปรชุดกลุ่มอักขระลักษณะ 2 มิติ char name [ 5 ] [ 20 ] ; ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้ารับค่าจากแป้นพิมพ์ เพื่อจัดเก็บลงพื้นที่หน่วยความ จำาตัวแปรชุดกลุ่มอักขระ for (i = 0 ; i < 4 ; i++) { printf ( “ name = > ” ) ; gets ( name [ i ] ) ; } ตัวอย่างคำาสั่ง วนซำ้าอ่านค่าจากพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุดกลุ่ม อักขระมาแสดงผล for (i = 0 ; i < 4 ; i++) { printf ( “ %d ” , i+1 ) ; printf ( “ %P n ” , name [ i ] ) ; }
  • 11. 3. กรณีศ ึก ษาการใช้ต ัว แปรชุด 3.1 กรณีศ ึก ษาการอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทตัว แปรในหน่ว ย ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมระบบงานเพื่อนำาข้อมูลคะแนนนักเรียน 5 ราย จัดเก็บลงหน่วยความจำาตัวแปรชุด แล้วอ่านค่าข้อมูลคะแนนนักเรียนทั้ง 5 รายจากหน่วยความจำา ตัวแปรชุดมาแสดงที่จอภาพ รูป ผัง งานที่ 5.1 ผังงานจากโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.1 ตัว อย่า งโปรแกรมที่ 5.1 กรณีศึกษาโปรแกรมระบบงาน ป้อนและอ่านข้อมูล จากตารางพื้นที่ตัวแปรชุด 1 มิติ
  • 12.
  • 13. รูป ที่ 5.1 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.1 ส่วนป้อนข้อมูลลงพื้นที่ ตัวแปรชุด 1 มิติ รูป ที่ 5.2 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.1 ส่วนอ่านข้อมูลจาก ตัวแปรชุด 1 มิติ อธิบ าย โปรแกรมนี้ควบคุมการทำางานเป็นค่าคงที่ในโปรแกรม คือ 5 รอบ 3.2 กรณีศ ึก ษา การอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทค่า คงที่ใ นหน่ว ย ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมระบบงานเพื่อกำาหนดค่าคะแนนนักเรียน 5 รายในตัวโปรแกรม ดังนี้ 15.5, 19.5,
  • 14. 10.0, 12.5, 19.7 แล้วอ่านข้อมูลที่นำาไปจัดเก็บในตาราง ข้อมูลนั้นมาแสดงผลที่จอภาพ ตัว อย่า งโปรแกรมที่ 5.2 กรณีศึกษาโปรแกรมระบบงาน กำาหนดข้อมูลและอ่านค่าจากหน่วยความจำาตัวแปรชุด 1 มิติ รูป ที่ 5.3 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.2 อธิบ าย ระบบวนซำ้าอ่านค่าข้อมูล คะแนนนักเรียนจำานวน 5 ราย จาก หน่วยความจำาตัวแปรชุดจากที่เขียน
  • 15. คำาสั่งกำาหนดข้อมูลไว้ในโปรแกรม 3.3 กรณีศ ึก ษาการอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทตัว แปรในหน่ว ย ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 2 มิต ิ โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมระบบงานเพื่อป้อนข้อมูลคะแนนนักเรียน 2 ราย แต่ละรายต้องป้อนคะแนนจำานวน 3 วิชา บันทึกลงหน่วยความจำาแบบตัวแปรชุด แล้วอ่านค่า จากหน่วยความจำาตัวแปรชุดแสดงผลที่ จอภาพ วิเคราะห์ตารางข้อมูลจากโจทย์ต้องใช้ตัวแปรชุดขนาด 2 มิติ ขนาด 2 แถว x 3 คอลัมน์ ได้ตารางข้อมูลขนาด 6 ห้องคือ
  • 16. รูป ผัง งานที่ 5.2 ผังงานโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.3 ตัว อย่า งโปรแกรมที่ 5.3 กรณีศึกษาโปรแกรมระบบงาน ป้อนและอ่านข้อมูล จากหน่วยความจำา ตัวแปรชุด 2 มิติ
  • 17.
  • 18. รูป ที่ 5.4 ผลทดสอบโปรแกรมตัวอย่าที่ 5.3 3.4 กรณีศ ึก ษาการอ้า งอิง ข้อ มูล ประเภทตัว แปรในหน่ว ย ความจำา ตัว แปรชุด แบบ 1 มิต ิ กำา หนดรอบวนซำ้า โดยผู้ใ ช้ร ะบบงานโปรแกรม โจทย์ : จงเขียนขั้นตอนการสร้างงานโปรแกรม เพื่อป้อนข้อมูลชื่อ รายการวัตถุดิบ และราคาของวัตถุดิบที่ใช้ ดำาเนินงานตามจำานวนที่ผู้ใช้ระบบระบุจำานวนรายการ แล้วให้ พิมพ์สรุปข้อมูลที่บันทึกทั้งหมดพร้อม พิมพ์ผลรวมจำานวนเงินวัตถุดิบทั้งหมดที่จัดซื้อในครั้งนี้ การ แสดงผลทางจอภาพให้ออกแบบตาม ความเหมาะสมของงาน ** หมายเหตุ >> ยกตัวอย่างบางตอนดังนี้
  • 19. ขั้น ตอนการพัฒ นาโปรแกรม 1.การวิเ คราะห์ร ะบบงานเบื้อ งต้น 1.5 กำาหนดคุณสมบัติตัวแปร ชื่อ หน่ว ย ข้อ มูล ชนิด ข้อ มูล ความจำา จำานวนรา n ตัวเลขจำานวนเต็ม ยการวตถุดิบ ลำาดับวัตถุดิบ I ตัวเลขจำานวนเต็ม ตัวแปรชุด 1 มิติ ชื่อวัตถุดิบ Material กลุ่มอักขระ ราคาต้นทุน ตัวแปรชุด 1 มิติ Price วัตถุดิบ จำานวนเต็ม ผลรวมต้นทุน Sum ตัวเลขจำานวนเต็ม 1.6 ลำาดับขั้นตอนการทำางาน (action) 1) เริ่มต้นการทำางาน 2) ป้อนจำานวนรายการวัตถุดิบ (n) 3) กำาหนดคำาสั่ง for (i=0; i < n ; i++ ) หากค่า I ยังไม่เกินค่า n ให้ทำาข้อ 3.1 หากเกินให้ไปข้อ 4) 3.1) ป้อนวัตถุดิบ (material [ i ] ), ราคา (price [ i ] ) 3.2) วนกลับไปข้อ 3) 4) กำาหนดคำาสั่ง for (i=0; i < n ; i++)
  • 20. หากค่า i ยังไม่เกินค่า n ให้ทำาข้อ 4.1 หากเกินให้ไปข้อ 5) 4.1) พิมพ์วัตถุดิบ (material [ i ] ), ราคา (price [ i ] ) 4.2) คำานวณหาผลรวม sum = sum + price[ i ] 4.3) วนกลับไปข้อ 4) 5) พิมพ์ผลรวม (sum) 6) สิ้นสุดการทำางาน 2. ลำา ดับ การทำา งานด้ว ยผัง งานโปรแกรม รูป ผัง งานที่ 5.3 ผังงานกรณีศึกษาจากโปรแกรมตัวอย่างที่ 5.4
  • 21. คำา ถาม 1. ตัว แปรชุด เรีย กอีก ชื่อ หนึ่ง ว่า อะไร 1. ตัวแปรแบบแอมเรย์ 2. ตัวแปรแบบสตริง 3. ตัวแปรแบบตัวแปรชุด 4. ตัวแปรแบบอาร์เรย์ 2. คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรชุด มีก ี่ร ูป แบบ 1. มี 2 รูปแบบ 2. มี 3 รูปแบบ 3. มี 4 รูปแบบ 4. มี 5 รูปแบบ 3. type คือ อะไร 1. ชื่อตัวแปรชุด 2. ชนิดข้อมูลพื้นฐาน 3. ชนิดของตารางข้อมูล 4. ขนาดพื้นที่เก็บข้อมูล 4. ลัก ษณะตารางข้อ มูล ในหน่ว ยความจำา ตัว แปรชุด โดยตาราง ข้อ มูล จัด เก็บ ข้อ มูล ตัว แปรชุด โดยเลีย นแบบตารางแบบใด 1. แบบตารางเมตริก 2. แบบตารางพีทาโกรัส 3. แบบตารางแจกแจงความถี่ 4. แบบตารางปกติ 5. การอ้า งอิง พื้น ที่ห น่ว ยความจำา ของตัว แปรชุด คือ อะไร 1. การกำาหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูล โดยใช้ตารางข้อมูล ที่เรียกว่า มิติ ( Dimension ) 2. เป็นข้อมูลตัวแปรชุดประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเป็นข้อมูลประเภท
  • 22. ข้อความ ประกอบด้วยอักขระมากกว่า 1 ตัว ใช้เนื้อที่ 1 อักขระต่อ 1 ไบต์ 3. การนำาข้อมูลลงตารางข้อมูล การอ่านค่าข้อมูลจากตาราง ข้อมูล การกำาหนดค่าข้อมูลลงตารางข้อมูล การประมวลผลโดยใช้ ข้อมูลจากตัวแปรชุดพื้นที่ที่ต้องการ 4. เป็นข้อมูลโครงสร้างชนิดหนึ่ง ประกอบไปด้วยข้อมูลชนิดพื้น ฐานหลายๆตัว รวมกลุ่มกัน ข้อมูลแต่ละตัวนั้นเรียกว่า อีลีเมนต์ 6.คำา สั่ง กำา หนดลัก ษณะตัว แปรชุด หมายถึง อะไร 1. การอ้างอิงหน่วยความจำากับตัวแปรชุดอื่นๆ 2.การกำาหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูล โดยใช้ตารางข้อมูล 3.การเขียนคำาสั่งในโปรแกรมให้จัดเก็บค่าข้อมูลเฉพาะกลุ่ม อักขระ 4.การป้อนข้อมูลจัดเก็บลงพื้นที่หน่วยความจำาตัวแปรชุด 7.ตัว แปรแบบกลุ่ม อัก ขระเป็น ข้อ มูล ตัว แปรชุด ประเภทหนึ่ง ที่ม ี ลัก ษณะเป็น ข้อ มูล ประเภทใด 1. ประเภทรูปภาพ 2.ประเภทศิลปะ 3.ประเภทข้อความ 4.ประเภทสวยงาม 25 8.การอ้า งอิง ข้อ มูล ในตารางข้อ มูล ตัว แปรชุด กลุ่ม อัก ขระใช้ค ำา สั่ง อะไร ควบคุม การวนซำ้า
  • 23. 1. for 2.love 3. type 4. size 9. value list คือ อะไร 1. ชนิดข้อมูลพื้นฐาน 2.ชื่อตัวแปรแบบกลุ่มอักขระ 3.จำานวนตารางข้อมูล 4.ข้อมูลที่กำาหนดให้ตัวแปรชุด หากมีหลายค่า ให้ใช้ , คั่น 10.การอ่า นค่า ข้อ มูล จากพื้น ที่ห น่ว ยความจำา ของตัว แปรชุด มา แสดงผล เพื่อ ความสะดวกรวดเร็ว ในการควบคุม อ่า นค่า ต้อ งใช้ คำา สั่ง อะไร 1.จากคำาสั่ง printf 2. ด้วยการใช้คำาสั่งควบคุมวนซำ้า 3. คำาสั่ง score 4. คำาสั่งเจ้านาย 26 เฉลย
  • 24. 1 ตอบ 4 2 ตอบ 2 3 ตอบ 2 4 ตอบ 1 5 ตอบ 3 6 ตอบ 2 7 ตอบ 3 8 ตอบ 1 9 ตอบ 4 10 ตอบ 2 สมาชิก 1.นายจิตรเทพ สุกุลธนาศร เลขที่ 5 2. นายธนวัส อ่อนเอี่ยม เลขที่ 6 3. นางสาว จิตรทิพย์ สุกุลธนาศร เลขที่ 23
  • 25. 4. นางสาว ธนัชกัญ พูลผล เลขที่ 24 5. นางสาว พัชรวลัย ดีประชา เลขที่ 25 6. นางสาว ภัทราพร เนตรสว่าง เลขที่ 26 7. นางสาว ศศิวิมล สมบูรณ์ศิริ เลขที่ 27 ม.6/2