SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
CHAPTER 14
การวางแผนและการพัฒนา
ระบบสารสนเทศ
BSC202 – Information Technology for Business
Akkadate Siripongwattana
คานา
BSC202 Information Technology for Business2
องค์กรต้องจัดหาระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางาน การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศจึง
เกิดขึ้น และต้องหาแนวทางในการจัดการซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมกับ
สถานการณ์ของตนเอง
ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ
BSC202 Information Technology for Business3
กระบวนการวางแผนระบบสารสนเทศแบ่งเป็น 6 ขั้นตอนหลัก ๆ
ด้วยกัน ดังนี้
1.กาหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์
เพื่อยึดเป็นแนวทางในการวางแผนปฏิบัติให้บรรลุตาม
เป้าหมาย และวัตถุประสงค์นั้น โดยหลักสาคัญของการกาหนดเป้าหมายก็
คือ เป้าหมายต้องมีความชัดเจน ทุกฝ่ายเข้าใจตรงกัน อยู่บนพื้นฐานของ
ความจริง และปฏิบัติได้
ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ
BSC202 Information Technology for Business4
2. วางแผนสิ่งแวดล้อม
เป็นการค้นหาประโยชน์ และปัญหาที่จะกระทบต่อแผนใน
ระยะยาวที่วางเอาไว้
• วางแผนสิ่งแวดล้อมภายในองค์กร (Internal Environment) การ
พิจารณาถึงบุคลากรในองค์กรว่ามีความสามารถเพียงพอที่จะใช้
ระบบสารสนเทศหรือไม่
• วางแผนสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment)
พิจาณาถึงปัจจัยในด้านการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ และการขยายระบบในอนาคต หรือปัญหาเกี่ยวกับ
ลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์
ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ
BSC202 Information Technology for Business5
3. จับประเด็นที่เป็นกลยุทธ์
การเลือกทิศทางที่องค์กรต้องการจะก้าวไปในอนาคต หรือ
ในระยะยาวเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น
4. กาหนดกลยุทธ์
กลยุทธ์เป็นแผนระยะยาวที่องค์กรกาหนดขึ้น เพื่อกาหนด
ทิศทางการดาเนินงานขององค์กรให้บรรลุถึงเป้าหมาย และ วัตถุประสงค์ที่
วางไว้
ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ
BSC202 Information Technology for Business6
5. กาหนดนโยบาย
นโยบายเป็นแผนปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ที่วาง
ไว้ ก็คือ กลยุทธ์เป็นแผนที่บอกถึงทิศทางการดาเนินไปให้ถึงเป้าหมาย แต่
นโยบายเป็นแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้องค์กรดาเนินไปตามกลยุทธ์
6. กาหนดแนวทาง และขั้นตอน
การนานโยบายมาแตกย่อยเป็นวิธีและขั้นตอนในการ
ปฏิบัติงานจริง ซึ่งเป็นงานของผู้บริหารระดับล่างที่จะเป็น ผู้กาหนด
แนวทางและขั้นตอนปฏิบัติ เพื่อใช้ควบคุมการทางานของผู้ปฏิบัติงาน
วางแผนระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
BSC202 Information Technology for Business7
1. กาหนดภารกิจของหน่วยงานสารสนเทศ ผู้บริหารระดับสูง
จะต้องกาหนดทีมงานและมอบหมายภารกิจในการวางแผนระบบสารสนเทศ
ให้กับทีม
2. ประเมินสภาวะแวดล้อม เป็นการประเมินโอกาสและความเสี่ยง
ของการนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์กร
3. กาหนดวัตถุประสงค์ของระบบสารสนเทศ จะต้องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ขององค์กร โดยเป็นการกาหนดเป้าหมายของระบบสารสนเทศ
ที่จะนามาใช้ว่าจะให้ประโยชน์กับองค์กรอย่างไร และมีส่วนช่วยให้องค์กร
บรรลุวัตถุประสงค์อย่างไร
4. กาหนดแนวทางกลยุทธ์ เป็นการกาหนดแนวทางการใช้
ระบบสารสนเทศในระยะยาวเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วางแผนระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
BSC202 Information Technology for Business8
5. กาหนดนโยบายทางสารสนเทศ เป็นการกาหนดแนวทางปฏิบัติ
เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่วางไว้
6. สร้างแผนระยะยาวและระยะสั้น ขั้นตอนนี้เป็นการนานโยบายมา
จัดทาเป็นแผนปฏิบัติงานระยะยาว และระยะสั้น
7. ดาเนินการตามแผนปฏิบัติงาน เมื่อได้แผนปฏิบัติงานทั้งระยะ
ยาว และระยะสั้นออกมาแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือ การปฏิบัติงานให้ได้ตาม
แผน
การวางแผนระยะยาว
BSC202 Information Technology for Business9
แผนระยะยาว หมายถึง แผนงานที่จะเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลา 3 –
5 ปีข้างหน้า เนื่องจากแผนระยะยาวมีช่วงระยะเวลานานจึงต้องใช้ความ
รอบคอบสูง โดยเนื้อหาของแผนระบบสารสนเทศระยะยาวจะต้องครอบคลุม
รายละเอียด ดังต่อไปนี้
การวางแผนระยะยาว
BSC202 Information Technology for Business10
• วัตถุประสงค์พร้อมคาอธิบายที่ชัดเจน
• ประเมินสภาพแวดล้อมของระบบสารสนเทศในอนาคต
• กลยุทธ์เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
• แผนการพัฒนาระบบ และระบบเดิมที่ใช้งานอยู่
• แผนบุคลกร
• งบประมาณ และค่าใช้จ่าย
• แผนการจัดองค์กร
• แผนการฝึกอบรม
• แผนการจัดหาฮาร์ดแวร์
• สรุปข้อเสนอแนะในการดาเนินการ
การวางแผนระยะสั้น
BSC202 Information Technology for Business11
แผนระยะสั้น เป็นแผนงานในช่วงเวลาประมาณ 1 – 2 ปี โดยเป็น
การนาแผนระยะยาวมาแตกย่อยเป็นแผนปฏิบัติงานในแต่ละส่วน แต่ละ
ช่วงเวลา เพื่อกาหนดขอบเขตของงานให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งจะทาให้ง่ายต่อ
การดาเนินการจัดงบประมาณ และการจัดบุคลากรอีกด้วย
การวางแผนระยะสั้น
BSC202 Information Technology for Business12
• งบประมาณ และทรัพยากรที่ต้องใช้ การปฏิบัติงานเป็นการแสดง
รายละเอียดของงานที่ต้องปฏิบัติ
• การสนับสนุนด้านเทคนิค อธิบายทรัพยากรที่ต้องใช้เพื่อสนับสนุนการ
พัฒนาระบบสารสนเทศ
• อัตรากาลัง หมายถึง กาลังคนที่จะต้องใช้ในโครงการ
• ฝึกอบรมเป็นรายละเอียดการอบรมพนักงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
• การเงินเป็นการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงบประมาณ และค่าใช้จ่ายใน
การดาเนินงาน
• พัฒนาปรับปรุงและดูแลระบบ เมื่อพัฒนาระบบขึ้นมาแล้วต้อง ทาแผน
เผื่อในส่วนของการปรับปรุงและดูแลระบบด้วย
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business13
ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกันตั้งแต่เกิดจนตาย
วงจรนี้จะเป็นขั้นตอนที่เป็นลาดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้
งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทาความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอน
จะต้องทาอะไร และทาอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้น
ด้วยกัน คือ
Problem
Recognition
Feasibility
Study
Analysis
Construction Design
Maintenance
Conversion SDLC
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business14
1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition)
2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
3. วิเคราะห์ (Analysis)
4. ออกแบบ (Design)
5. สร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction)
6. การปรับเปลี่ยน (Conversion)
7. บารุงรักษา (Maintenance)
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business15
การที่จะแก้ไขระบบเดิมที่มีอยู่แล้วไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก หรือแม้แต่การสร้างระบบ
ใหม่ ดังนั้นควรจะมีการศึกษาเสียก่อนว่าความต้องการของเราเพียงพอที่เป็นไป
ได้หรือไม่ ได้แก่ "การศึกษาความเป็นไปได้" (Feasibility Study)
สรุป ขั้นตอนที่ 1: เข้าใจปัญหา
หน้าที่ : ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ
ผลลัพธ์ : อนุมัติการศึกษาความเป็นไปได้
เครื่องมือ : ไม่มี
บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้หรือผู้บริหารชี้แจงปัญหาต่อนักวิเคราะห์ระบบ
ขั้นที่1 : เข้าใจปัญหา (Problem Recognition)
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business16
การกาหนดว่าปัญหาคืออะไรและตัดสินใจว่าการพัฒนาสร้างระบบ
สารสนเทศ หรือการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่โดยเสีย
ค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด และได้ผลเป็นที่น่าพอใจ
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกาหนดให้ได้ว่าการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมี
ความเป็นไปได้ทางเทคนิคและบุคลากร ความเป็นไปได้ทางด้านบุคลากร คือ
บริษัทมีบุคคลที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้งระบบเพียงพอหรือไม่
ถ้าไม่มีจะหาได้หรือไม่ จากที่ใด
ขั้นตอนที่2: ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business17
สรุปขั้นตอนที่ 2: การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
หน้าที่ : กาหนดปัญหา และศึกษาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ
ผลลัพธ์ : รายงานความเป็นไปได้
เครื่องมือ : เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคาดคะเนความต้องการของระบบ
บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้จะมีบทบาทสาคัญในการศึกษา
1. นักวิเคราะห์ระบบจะเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับปัญหา
2. นักวิเคราะห์ระบบคาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางการแก้ปัญหา
3. นักวิเคราะห์ระบบ กาหนดความต้องการที่แน่ชัดซึ่งจะใช้สาหรับขั้นตอนการ
วิเคราะห์ต่อไป
4. ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะดาเนินโครงการต่อไปหรือไม่
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business18
การวิเคราะห์ระบบเริ่มตั้งแต่การศึกษาระบบการทางานของธุรกิจ
นั้น หลังจากนั้นกาหนดความต้องการของระบบใหม่ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบ
จะต้องใช้เทคนิคในการเก็บข้อมูล (Fact-Gathering Techniques) เมื่อจบ
ขั้นตอนการวิเคราะห์แล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเขียนรายงานสรุป
ออกมาเป็น ข้อมูลเฉพาะของปัญหา (Problem Specification)
ขั้นตอนที่3 การวิเคราะห์ (Analysis)
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business19
สรุป ขั้นตอนที่ 3: การวิเคราะห์ (Analysis)
หน้าที่ : กาหนดความต้องการของระบบใหม่ (ระบบใหม่ทั้งหมดหรือแก้ไขระบบเดิม)
ผลลัพธ์ : รายงานข้อมูลเฉพาะของปัญหา
เครื่องมือ : เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล, Data Dictionary, Data Flow Diagram,
บุคลากรและหน้าที่รับผิดชอบ : ผู้ใช้จะต้องให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
1. วิเคราะห์ระบบ ศึกษาเอกสารที่มีอยู่ และศึกษาระบบเดิมเพื่อให้เข้าใจถึงขั้นตอน
การทางานและทราบว่าจุดสาคัญของระบบอยู่ที่ไหน
2. นักวิเคราะห์ระบบ เตรียมรายงานความต้องการของระบบใหม่
3. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนแผนภาพการทางาน (Diagram) ของระบบใหม่
โดยไม่ต้องบอกว่าหน้าที่ใหม่ในระบบจะพัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร
4. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนสรุปรายงานข้อมูลเฉพาะของปัญหา
5. ถ้าเป็นไปได้นักวิเคราะห์ระบบอาจจะเตรียมแบบทดลองด้วย
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business20
ในการออกแบบโปรแกรมต้องคานึงถึงความปลอดภัย (Security)
ของระบบด้วย เพื่อป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น "รหัส" สาหรับ
ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์สารองไฟล์ข้อมูลทั้งหมด เป็นต้น
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องออกแบบฟอร์มสาหรับข้อมูลขาเข้า (Input
Format) ออกแบบรายงาน (Report Format) และการแสดงผลบนจอภาพ
(Screen Format) หลักการการออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าคือ ง่ายต่อการ
ใช้งาน และป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ถัดมาระบบจะต้อง
ออกแบบวิธีการใช้งาน
ขั้นตอนที่4: การออกแบบ (Design)
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business21
สรุปขั้นตอนที่ 4 : การออกแบบ (Design)
หน้าที่ : ออกแบบระบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และฝ่ายบริหาร
ผลลัพธ์ : ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ(System Design Specification)
เครื่องมือ : พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary, แผนภาพการไหลของข้อมูล
(Data Flow Diagram), ข้อมูลเฉพาะการประมวลผล (Process Specification ),
รูปแบบข้อมูล (Data Model), รูปแบบระบบ (System Model), ผังงานระบบ (System
Flow Charts), ผังงานโครงสร้าง (Structure Charts), ผังงาน HIPO (HIPO Chart),
แบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าและรายงาน
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business22
บุคลากรและหน้าที่ :
1. นักวิเคราะห์ระบบ ตัดสินใจเลือกคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (ถ้าใช้)
2. นักวิเคราะห์ระบบ เปลี่ยนแผนภาพทั้งหลายที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์มาเป็น
แผนภาพลาดับขั้น
3. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบความปลอดภัยของระบบ
4. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้า รายงาน และการแสดงภาพบนจอ
5. นักวิเคราะห์ระบบ กาหนดจานวนบุคลากรในหน้าที่ต่างๆและการทางานของ
ระบบ
6. ผู้ใช้ ฝ่ายบริหาร และนักวิเคราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมูลเฉพาะของการ
ออกแบบเพื่อความถูกต้องและสมบูรณ์แบบของระบบ
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business23
โปรแกรมเมอร์จะเริ่มเขียนและทดสอบโปรแกรมว่า ทางานถูกต้อง
หรือไม่ โดยนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมสถานที่สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วจะต้องตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ทางานเรียบร้อยดี
หลังจากนั้นต้องควบคุมดูแลการเขียนคู่มือซึ่งประกอบด้วยข้อมูล
การใช้งานสารบัญการอ้างอิง "Help" บนจอภาพ เป็นต้น นอกจากข้อมูล
การใช้งานแล้ว ต้องมีการฝึกอบรมพนักงานที่จะเป็นผู้ใช้งานจริงของระบบ
เพื่อให้เข้าใจและทางานได้โดยไม่มีปัญหาอาจจะอบรมตัวต่อตัวหรือเป็น
กลุ่มก็ได้
ขั้นตอนที่5: การพัฒนาระบบ (Construction)
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business24
สรุปขั้นตอนที่ 5: การพัฒนาระบบ (Construction)
หน้าที่ : เขียนและทดสอบโปรแกรม
ผลลัพธ์ : โปรแกรมที่ทดสอบเรียบร้อยแล้ว เอกสารคู่มือการใช้ และการฝึกอบรม
เครื่องมือ : เครื่องมือของโปรแกรมเมอร์ทั้งหลาย Editor, compiler, Structure Walkthrough,
วิธีการทดสอบโปรแกรม การเขียนเอกสารประกอบการใช้งาน
บุคลากรและหน้าที่ :
1. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเตรียมสถานที่และติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ (ถ้าซื้อใหม่)
2. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนและดูแลการเขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม
3. โปรแกรมเมอร์เขียนและทดสอบโปรแกรม หรือแก้ไขโปรแกรม ถ้าซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป
4. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนทดสอบโปรแกรม
5. ทีมที่ทางานร่วมกันทดสอบโปรแกรม
6. ผู้ใช้ตรวจสอบให้แน่ใจว่า โปรแกรมทางานตามต้องการ
7. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเขียนคู่มือการใช้งานและการฝึกอบรม
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business25
ขั้นตอนนี้บริษัทนาระบบใหม่มาใช้แทนของเก่าภายใต้การดูแลของ
นักวิเคราะห์ระบบ การป้อนข้อมูลต้องทาให้เรียบร้อย และในที่สุดบริษัท
เริ่มต้นใช้งานระบบใหม่นี้ได้
การนาระบบเข้ามาควรจะทาอย่างค่อยเป็นค่อยไปทีละน้อย ที่ดี
ที่สุดคือ ใช้ระบบใหม่ควบคู่ไปกับระบบเก่าไปสักระยะหนึ่ง โดยใช้ข้อมูลชุด
เดียวกันแล้วเปรียบเทียบผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ ถ้าเรียบร้อยก็เอาระบบ
เก่าออกได้ แล้วใช้ระบบใหม่ต่อไป
ขั้นตอนที่6: การปรับเปลี่ยน (Construction)
วงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle (SDLC))
BSC202 Information Technology for Business26
การบารุงรักษา ได้แก่ การแก้ไขโปรแกรมหลังจากการใช้งานแล้ว
การบารุงรักษาระบบ ควรจะอยู่ภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ เมื่อ
ผู้บริหารต้องการแก้ไขส่วนใดนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมแผนภาพต่าง ๆ
และศึกษาผลกระทบต่อระบบ และให้ผู้บริหารตัดสินใจต่อไปว่าควรจะแก้ไข
หรือไม่
ขั้นตอนที่7: บารุงรักษา (Maintenance)
ทีมงานพัฒนาระบบ
BSC202 Information Technology for Business27
1. คณะกรรมการดาเนินงาน เป็นผู้วางนโยบายและกลยุทธ์ในการ
พัฒนาระบบสารสนเทศให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร
2. ผู้จัดการระบบสารสนเทศ (Project Manager) เป็นผู้ควบคุมให้
ดาเนินการไปตามแผนของโครงการ
3. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) เป็นผู้ที่วิเคราะห์ และ
ออกแบบระบบ
4. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้ที่เขียนโปรแกรมตามระบบ
ที่ออกแบบมา
ทีมงานพัฒนาระบบ
BSC202 Information Technology for Business28
5. วิศวกรระบบ (System Engineer) คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบ
คอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
6. ผู้สนับสนุนฝ่ายเทคนิค (Technical Support) คือ ผู้ที่ช่วย
สนับสนุนในด้านเทคนิค
7. เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล
8. ผู้ใช้งานระบบ (End User)
กิจกรรมท้ายบท
BSC202 Information Technology for Business29
หากองค์กรมีกลยุทธ์ในการทาการค้าผ่านช่องทางออนไลน์ ให้นักศึกษาเขียนแผนระยะ
สั้นในการพัฒนาระบบการขายสินค้าผ่านเว็บไซต์ออนไลน์ขององค์กร ตามหัวข้อ
ต่อไปนี้
• รายการอุปกรณ์ แสดงรายการอุปกรณ์ที่ต้องใช้
• การสนับสนุนด้านเทคนิค อธิบายทรัพยากรที่ต้องใช้เพื่อสนับสนุนการพัฒนา
ระบบสารสนเทศ
• อัตรากาลัง หมายถึง กาลังคนที่จะต้องใช้ในโครงการ
• ฝึกอบรมเป็นรายละเอียดการอบรมพนักงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
• การเงินและงบประมาณ เป็นการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงบประมาณ และ
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
• พัฒนาปรับปรุงและดูแลระบบ เขียนแผนเผื่อในส่วนของการปรับปรุงและดูแล
ระบบ

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
แนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมแนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมSujareeFakfoom
 
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSpa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSuradet Sriangkoon
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกsomdetpittayakom school
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2Green Greenz
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น Nuttanun Wisetsumon
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศWanphen Wirojcharoenwong
 

What's hot (20)

เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
Sgc
SgcSgc
Sgc
 
แนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมแนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรม
 
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSpa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part iii) in action 130603 โดย อ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ

บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหาใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหาMunmuang Tik
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...Luesak Chakrabandhu
 
การพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุ
การพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุการพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุ
การพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุsitthisakchitsubhap1
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...PunyaweePosri1
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject PanagementTrue Corporation
 

Similar to Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ (20)

Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
02 intro to psp
02 intro to psp02 intro to psp
02 intro to psp
 
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหาใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
Intelligence Guaranteed Development: The New Paradigm Enabled by Open Source ...
 
การพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุ
การพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุการพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุ
การพัฒนาระบบสถิติฐานข้อมูลกรมกิจการผู้สูงอายุ
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
56456456
5645645656456456
56456456
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject Panagement
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

More from Akkadate.Com

Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กรChapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กรAkkadate.Com
 
Chapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญ
Chapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญChapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญ
Chapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญAkkadate.Com
 
Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบท
 Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบท Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบท
Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบทAkkadate.Com
 
Chapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Chapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายChapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Chapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายAkkadate.Com
 
Chapter06 การบริหารจัดการข้อมูล
Chapter06 การบริหารจัดการข้อมูลChapter06 การบริหารจัดการข้อมูล
Chapter06 การบริหารจัดการข้อมูลAkkadate.Com
 
Chapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กร
Chapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กรChapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กร
Chapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กรAkkadate.Com
 
Chapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศChapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศAkkadate.Com
 
Chapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศChapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศAkkadate.Com
 
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศChapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศAkkadate.Com
 

More from Akkadate.Com (10)

Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กรChapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
Chapter 11 ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ในองค์กร
 
Chapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญ
Chapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญChapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญ
Chapter 10 ปัญญาประดิษฐ์และระบผู้เชี่ยวชาญ
 
Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบท
 Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบท Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบท
Chapter09 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบธุรกิจอัจฉริยะ - คำถามท้ายบท
 
Chapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Chapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายChapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Chapter07 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
Chapter06 การบริหารจัดการข้อมูล
Chapter06 การบริหารจัดการข้อมูลChapter06 การบริหารจัดการข้อมูล
Chapter06 การบริหารจัดการข้อมูล
 
Chapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กร
Chapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กรChapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กร
Chapter05 การบริหารทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในองค์กร
 
Chapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศChapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศ
 
Chapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศChapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศ
Chapter 03 ระบบย่อยระบบสารสนเทศ
 
My profile
My profileMy profile
My profile
 
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศChapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
 

Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ

  • 2. คานา BSC202 Information Technology for Business2 องค์กรต้องจัดหาระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศจึง เกิดขึ้น และต้องหาแนวทางในการจัดการซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมกับ สถานการณ์ของตนเอง
  • 3. ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ BSC202 Information Technology for Business3 กระบวนการวางแผนระบบสารสนเทศแบ่งเป็น 6 ขั้นตอนหลัก ๆ ด้วยกัน ดังนี้ 1.กาหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ เพื่อยึดเป็นแนวทางในการวางแผนปฏิบัติให้บรรลุตาม เป้าหมาย และวัตถุประสงค์นั้น โดยหลักสาคัญของการกาหนดเป้าหมายก็ คือ เป้าหมายต้องมีความชัดเจน ทุกฝ่ายเข้าใจตรงกัน อยู่บนพื้นฐานของ ความจริง และปฏิบัติได้
  • 4. ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ BSC202 Information Technology for Business4 2. วางแผนสิ่งแวดล้อม เป็นการค้นหาประโยชน์ และปัญหาที่จะกระทบต่อแผนใน ระยะยาวที่วางเอาไว้ • วางแผนสิ่งแวดล้อมภายในองค์กร (Internal Environment) การ พิจารณาถึงบุคลากรในองค์กรว่ามีความสามารถเพียงพอที่จะใช้ ระบบสารสนเทศหรือไม่ • วางแผนสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment) พิจาณาถึงปัจจัยในด้านการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และการขยายระบบในอนาคต หรือปัญหาเกี่ยวกับ ลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์
  • 5. ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ BSC202 Information Technology for Business5 3. จับประเด็นที่เป็นกลยุทธ์ การเลือกทิศทางที่องค์กรต้องการจะก้าวไปในอนาคต หรือ ในระยะยาวเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น 4. กาหนดกลยุทธ์ กลยุทธ์เป็นแผนระยะยาวที่องค์กรกาหนดขึ้น เพื่อกาหนด ทิศทางการดาเนินงานขององค์กรให้บรรลุถึงเป้าหมาย และ วัตถุประสงค์ที่ วางไว้
  • 6. ขั้นตอนการวางแผนระบบสารสนเทศ BSC202 Information Technology for Business6 5. กาหนดนโยบาย นโยบายเป็นแผนปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ที่วาง ไว้ ก็คือ กลยุทธ์เป็นแผนที่บอกถึงทิศทางการดาเนินไปให้ถึงเป้าหมาย แต่ นโยบายเป็นแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้องค์กรดาเนินไปตามกลยุทธ์ 6. กาหนดแนวทาง และขั้นตอน การนานโยบายมาแตกย่อยเป็นวิธีและขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานจริง ซึ่งเป็นงานของผู้บริหารระดับล่างที่จะเป็น ผู้กาหนด แนวทางและขั้นตอนปฏิบัติ เพื่อใช้ควบคุมการทางานของผู้ปฏิบัติงาน
  • 7. วางแผนระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ BSC202 Information Technology for Business7 1. กาหนดภารกิจของหน่วยงานสารสนเทศ ผู้บริหารระดับสูง จะต้องกาหนดทีมงานและมอบหมายภารกิจในการวางแผนระบบสารสนเทศ ให้กับทีม 2. ประเมินสภาวะแวดล้อม เป็นการประเมินโอกาสและความเสี่ยง ของการนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์กร 3. กาหนดวัตถุประสงค์ของระบบสารสนเทศ จะต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ขององค์กร โดยเป็นการกาหนดเป้าหมายของระบบสารสนเทศ ที่จะนามาใช้ว่าจะให้ประโยชน์กับองค์กรอย่างไร และมีส่วนช่วยให้องค์กร บรรลุวัตถุประสงค์อย่างไร 4. กาหนดแนวทางกลยุทธ์ เป็นการกาหนดแนวทางการใช้ ระบบสารสนเทศในระยะยาวเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
  • 8. วางแผนระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ BSC202 Information Technology for Business8 5. กาหนดนโยบายทางสารสนเทศ เป็นการกาหนดแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่วางไว้ 6. สร้างแผนระยะยาวและระยะสั้น ขั้นตอนนี้เป็นการนานโยบายมา จัดทาเป็นแผนปฏิบัติงานระยะยาว และระยะสั้น 7. ดาเนินการตามแผนปฏิบัติงาน เมื่อได้แผนปฏิบัติงานทั้งระยะ ยาว และระยะสั้นออกมาแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือ การปฏิบัติงานให้ได้ตาม แผน
  • 9. การวางแผนระยะยาว BSC202 Information Technology for Business9 แผนระยะยาว หมายถึง แผนงานที่จะเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลา 3 – 5 ปีข้างหน้า เนื่องจากแผนระยะยาวมีช่วงระยะเวลานานจึงต้องใช้ความ รอบคอบสูง โดยเนื้อหาของแผนระบบสารสนเทศระยะยาวจะต้องครอบคลุม รายละเอียด ดังต่อไปนี้
  • 10. การวางแผนระยะยาว BSC202 Information Technology for Business10 • วัตถุประสงค์พร้อมคาอธิบายที่ชัดเจน • ประเมินสภาพแวดล้อมของระบบสารสนเทศในอนาคต • กลยุทธ์เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ • แผนการพัฒนาระบบ และระบบเดิมที่ใช้งานอยู่ • แผนบุคลกร • งบประมาณ และค่าใช้จ่าย • แผนการจัดองค์กร • แผนการฝึกอบรม • แผนการจัดหาฮาร์ดแวร์ • สรุปข้อเสนอแนะในการดาเนินการ
  • 11. การวางแผนระยะสั้น BSC202 Information Technology for Business11 แผนระยะสั้น เป็นแผนงานในช่วงเวลาประมาณ 1 – 2 ปี โดยเป็น การนาแผนระยะยาวมาแตกย่อยเป็นแผนปฏิบัติงานในแต่ละส่วน แต่ละ ช่วงเวลา เพื่อกาหนดขอบเขตของงานให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งจะทาให้ง่ายต่อ การดาเนินการจัดงบประมาณ และการจัดบุคลากรอีกด้วย
  • 12. การวางแผนระยะสั้น BSC202 Information Technology for Business12 • งบประมาณ และทรัพยากรที่ต้องใช้ การปฏิบัติงานเป็นการแสดง รายละเอียดของงานที่ต้องปฏิบัติ • การสนับสนุนด้านเทคนิค อธิบายทรัพยากรที่ต้องใช้เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาระบบสารสนเทศ • อัตรากาลัง หมายถึง กาลังคนที่จะต้องใช้ในโครงการ • ฝึกอบรมเป็นรายละเอียดการอบรมพนักงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง • การเงินเป็นการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงบประมาณ และค่าใช้จ่ายใน การดาเนินงาน • พัฒนาปรับปรุงและดูแลระบบ เมื่อพัฒนาระบบขึ้นมาแล้วต้อง ทาแผน เผื่อในส่วนของการปรับปรุงและดูแลระบบด้วย
  • 13. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business13 ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกันตั้งแต่เกิดจนตาย วงจรนี้จะเป็นขั้นตอนที่เป็นลาดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้ งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทาความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอน จะต้องทาอะไร และทาอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้น ด้วยกัน คือ Problem Recognition Feasibility Study Analysis Construction Design Maintenance Conversion SDLC
  • 14. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business14 1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ (Analysis) 4. ออกแบบ (Design) 5. สร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction) 6. การปรับเปลี่ยน (Conversion) 7. บารุงรักษา (Maintenance)
  • 15. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business15 การที่จะแก้ไขระบบเดิมที่มีอยู่แล้วไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก หรือแม้แต่การสร้างระบบ ใหม่ ดังนั้นควรจะมีการศึกษาเสียก่อนว่าความต้องการของเราเพียงพอที่เป็นไป ได้หรือไม่ ได้แก่ "การศึกษาความเป็นไปได้" (Feasibility Study) สรุป ขั้นตอนที่ 1: เข้าใจปัญหา หน้าที่ : ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ ผลลัพธ์ : อนุมัติการศึกษาความเป็นไปได้ เครื่องมือ : ไม่มี บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้หรือผู้บริหารชี้แจงปัญหาต่อนักวิเคราะห์ระบบ ขั้นที่1 : เข้าใจปัญหา (Problem Recognition)
  • 16. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business16 การกาหนดว่าปัญหาคืออะไรและตัดสินใจว่าการพัฒนาสร้างระบบ สารสนเทศ หรือการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่โดยเสีย ค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด และได้ผลเป็นที่น่าพอใจ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกาหนดให้ได้ว่าการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมี ความเป็นไปได้ทางเทคนิคและบุคลากร ความเป็นไปได้ทางด้านบุคลากร คือ บริษัทมีบุคคลที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้งระบบเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่มีจะหาได้หรือไม่ จากที่ใด ขั้นตอนที่2: ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
  • 17. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business17 สรุปขั้นตอนที่ 2: การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หน้าที่ : กาหนดปัญหา และศึกษาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ ผลลัพธ์ : รายงานความเป็นไปได้ เครื่องมือ : เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคาดคะเนความต้องการของระบบ บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้จะมีบทบาทสาคัญในการศึกษา 1. นักวิเคราะห์ระบบจะเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับปัญหา 2. นักวิเคราะห์ระบบคาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางการแก้ปัญหา 3. นักวิเคราะห์ระบบ กาหนดความต้องการที่แน่ชัดซึ่งจะใช้สาหรับขั้นตอนการ วิเคราะห์ต่อไป 4. ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะดาเนินโครงการต่อไปหรือไม่
  • 18. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business18 การวิเคราะห์ระบบเริ่มตั้งแต่การศึกษาระบบการทางานของธุรกิจ นั้น หลังจากนั้นกาหนดความต้องการของระบบใหม่ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบ จะต้องใช้เทคนิคในการเก็บข้อมูล (Fact-Gathering Techniques) เมื่อจบ ขั้นตอนการวิเคราะห์แล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเขียนรายงานสรุป ออกมาเป็น ข้อมูลเฉพาะของปัญหา (Problem Specification) ขั้นตอนที่3 การวิเคราะห์ (Analysis)
  • 19. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business19 สรุป ขั้นตอนที่ 3: การวิเคราะห์ (Analysis) หน้าที่ : กาหนดความต้องการของระบบใหม่ (ระบบใหม่ทั้งหมดหรือแก้ไขระบบเดิม) ผลลัพธ์ : รายงานข้อมูลเฉพาะของปัญหา เครื่องมือ : เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล, Data Dictionary, Data Flow Diagram, บุคลากรและหน้าที่รับผิดชอบ : ผู้ใช้จะต้องให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี 1. วิเคราะห์ระบบ ศึกษาเอกสารที่มีอยู่ และศึกษาระบบเดิมเพื่อให้เข้าใจถึงขั้นตอน การทางานและทราบว่าจุดสาคัญของระบบอยู่ที่ไหน 2. นักวิเคราะห์ระบบ เตรียมรายงานความต้องการของระบบใหม่ 3. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนแผนภาพการทางาน (Diagram) ของระบบใหม่ โดยไม่ต้องบอกว่าหน้าที่ใหม่ในระบบจะพัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร 4. นักวิเคราะห์ระบบ เขียนสรุปรายงานข้อมูลเฉพาะของปัญหา 5. ถ้าเป็นไปได้นักวิเคราะห์ระบบอาจจะเตรียมแบบทดลองด้วย
  • 20. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business20 ในการออกแบบโปรแกรมต้องคานึงถึงความปลอดภัย (Security) ของระบบด้วย เพื่อป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น "รหัส" สาหรับ ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์สารองไฟล์ข้อมูลทั้งหมด เป็นต้น นักวิเคราะห์ระบบจะต้องออกแบบฟอร์มสาหรับข้อมูลขาเข้า (Input Format) ออกแบบรายงาน (Report Format) และการแสดงผลบนจอภาพ (Screen Format) หลักการการออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าคือ ง่ายต่อการ ใช้งาน และป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ถัดมาระบบจะต้อง ออกแบบวิธีการใช้งาน ขั้นตอนที่4: การออกแบบ (Design)
  • 21. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business21 สรุปขั้นตอนที่ 4 : การออกแบบ (Design) หน้าที่ : ออกแบบระบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และฝ่ายบริหาร ผลลัพธ์ : ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ(System Design Specification) เครื่องมือ : พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary, แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram), ข้อมูลเฉพาะการประมวลผล (Process Specification ), รูปแบบข้อมูล (Data Model), รูปแบบระบบ (System Model), ผังงานระบบ (System Flow Charts), ผังงานโครงสร้าง (Structure Charts), ผังงาน HIPO (HIPO Chart), แบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าและรายงาน
  • 22. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business22 บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ตัดสินใจเลือกคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (ถ้าใช้) 2. นักวิเคราะห์ระบบ เปลี่ยนแผนภาพทั้งหลายที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์มาเป็น แผนภาพลาดับขั้น 3. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบความปลอดภัยของระบบ 4. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้า รายงาน และการแสดงภาพบนจอ 5. นักวิเคราะห์ระบบ กาหนดจานวนบุคลากรในหน้าที่ต่างๆและการทางานของ ระบบ 6. ผู้ใช้ ฝ่ายบริหาร และนักวิเคราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมูลเฉพาะของการ ออกแบบเพื่อความถูกต้องและสมบูรณ์แบบของระบบ
  • 23. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business23 โปรแกรมเมอร์จะเริ่มเขียนและทดสอบโปรแกรมว่า ทางานถูกต้อง หรือไม่ โดยนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมสถานที่สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วจะต้องตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ทางานเรียบร้อยดี หลังจากนั้นต้องควบคุมดูแลการเขียนคู่มือซึ่งประกอบด้วยข้อมูล การใช้งานสารบัญการอ้างอิง "Help" บนจอภาพ เป็นต้น นอกจากข้อมูล การใช้งานแล้ว ต้องมีการฝึกอบรมพนักงานที่จะเป็นผู้ใช้งานจริงของระบบ เพื่อให้เข้าใจและทางานได้โดยไม่มีปัญหาอาจจะอบรมตัวต่อตัวหรือเป็น กลุ่มก็ได้ ขั้นตอนที่5: การพัฒนาระบบ (Construction)
  • 24. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business24 สรุปขั้นตอนที่ 5: การพัฒนาระบบ (Construction) หน้าที่ : เขียนและทดสอบโปรแกรม ผลลัพธ์ : โปรแกรมที่ทดสอบเรียบร้อยแล้ว เอกสารคู่มือการใช้ และการฝึกอบรม เครื่องมือ : เครื่องมือของโปรแกรมเมอร์ทั้งหลาย Editor, compiler, Structure Walkthrough, วิธีการทดสอบโปรแกรม การเขียนเอกสารประกอบการใช้งาน บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเตรียมสถานที่และติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ (ถ้าซื้อใหม่) 2. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนและดูแลการเขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม 3. โปรแกรมเมอร์เขียนและทดสอบโปรแกรม หรือแก้ไขโปรแกรม ถ้าซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป 4. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนทดสอบโปรแกรม 5. ทีมที่ทางานร่วมกันทดสอบโปรแกรม 6. ผู้ใช้ตรวจสอบให้แน่ใจว่า โปรแกรมทางานตามต้องการ 7. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเขียนคู่มือการใช้งานและการฝึกอบรม
  • 25. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business25 ขั้นตอนนี้บริษัทนาระบบใหม่มาใช้แทนของเก่าภายใต้การดูแลของ นักวิเคราะห์ระบบ การป้อนข้อมูลต้องทาให้เรียบร้อย และในที่สุดบริษัท เริ่มต้นใช้งานระบบใหม่นี้ได้ การนาระบบเข้ามาควรจะทาอย่างค่อยเป็นค่อยไปทีละน้อย ที่ดี ที่สุดคือ ใช้ระบบใหม่ควบคู่ไปกับระบบเก่าไปสักระยะหนึ่ง โดยใช้ข้อมูลชุด เดียวกันแล้วเปรียบเทียบผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ ถ้าเรียบร้อยก็เอาระบบ เก่าออกได้ แล้วใช้ระบบใหม่ต่อไป ขั้นตอนที่6: การปรับเปลี่ยน (Construction)
  • 26. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) BSC202 Information Technology for Business26 การบารุงรักษา ได้แก่ การแก้ไขโปรแกรมหลังจากการใช้งานแล้ว การบารุงรักษาระบบ ควรจะอยู่ภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ เมื่อ ผู้บริหารต้องการแก้ไขส่วนใดนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมแผนภาพต่าง ๆ และศึกษาผลกระทบต่อระบบ และให้ผู้บริหารตัดสินใจต่อไปว่าควรจะแก้ไข หรือไม่ ขั้นตอนที่7: บารุงรักษา (Maintenance)
  • 27. ทีมงานพัฒนาระบบ BSC202 Information Technology for Business27 1. คณะกรรมการดาเนินงาน เป็นผู้วางนโยบายและกลยุทธ์ในการ พัฒนาระบบสารสนเทศให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร 2. ผู้จัดการระบบสารสนเทศ (Project Manager) เป็นผู้ควบคุมให้ ดาเนินการไปตามแผนของโครงการ 3. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) เป็นผู้ที่วิเคราะห์ และ ออกแบบระบบ 4. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้ที่เขียนโปรแกรมตามระบบ ที่ออกแบบมา
  • 28. ทีมงานพัฒนาระบบ BSC202 Information Technology for Business28 5. วิศวกรระบบ (System Engineer) คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบ คอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 6. ผู้สนับสนุนฝ่ายเทคนิค (Technical Support) คือ ผู้ที่ช่วย สนับสนุนในด้านเทคนิค 7. เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล 8. ผู้ใช้งานระบบ (End User)
  • 29. กิจกรรมท้ายบท BSC202 Information Technology for Business29 หากองค์กรมีกลยุทธ์ในการทาการค้าผ่านช่องทางออนไลน์ ให้นักศึกษาเขียนแผนระยะ สั้นในการพัฒนาระบบการขายสินค้าผ่านเว็บไซต์ออนไลน์ขององค์กร ตามหัวข้อ ต่อไปนี้ • รายการอุปกรณ์ แสดงรายการอุปกรณ์ที่ต้องใช้ • การสนับสนุนด้านเทคนิค อธิบายทรัพยากรที่ต้องใช้เพื่อสนับสนุนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ • อัตรากาลัง หมายถึง กาลังคนที่จะต้องใช้ในโครงการ • ฝึกอบรมเป็นรายละเอียดการอบรมพนักงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง • การเงินและงบประมาณ เป็นการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงบประมาณ และ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน • พัฒนาปรับปรุงและดูแลระบบ เขียนแผนเผื่อในส่วนของการปรับปรุงและดูแล ระบบ

Editor's Notes

  1. 1