SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
พุทธภาวนาวิธี
จตุธาตุววัฏฐาน
สมาธิ 3 ระดับ
จตุธาตุววัฏฐาน
จตุธาตุววัฏฐาน
จตุ( สี่ ) + ธาตุ( สภาพที่ทรงไว้) + ววฏฺฐาน ( การกําหนด )
การกําหนดธาตุสี่ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม หมายถึง
สมถภาวนาอารมณ์หนึ่ง ในอารมณ์ ๔๐ อย่าง เป็นการ
อบรมจิตให้สงบจากกิเลสโดยการพิจารณาวิเคราะห์กาย
นี้ เป็นเพียงสักแต่ว่าธาตุ หาใช่สัตว์ บุคคล ตัวตนไม่
หรือ การพิจารณาร่างกาย โดยพิจารณาแยกส่วนประกอบ
ว่าเป็นเพียงธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม
ไม่มีอะไรที่เป็นความงามเลย
จตุธาตุววัฏฐาน
คือการพิจารณาอวัยวะ
ส่วนที่เข้มแข็งหรืออ่อนในร่างกาย มีผม ขน เล็บ ฟัง หนัง เป็นต้นเป็นเพียงธาตุดินเท่านั้น
ส่วนที่เอิบอาบหรือเกาะกุม มีน้ําเลือด น้ําลาย ย้ํามูก เป็นต้น เป็นแต่เพียงธาตุน้ําเท่านั้น
ส่วนที่ร้อนหรือเย็น มีไฟที่ทําให้ร่างกายอบอุ่น ไฟที่เผาผลาญอาหาร เป็นต้น เป็นเพียงแต่
ธาตุไฟเท่านั้น
ส่วนที่ไหวหรือเคร่งตึง มีลมหายใจเข้าออก ลมที่พัดขึ้นลงและทําให้ร่างกายไหว เป็นต้น ก็
เป็นเพียงแต่ธาตุลมเท่านั้น หาความเป็นสัตว์บุคคลไม่ได้ภายในร่างกายนี้ เมื่อพิจารณาเห็น
ด้วยปัญญาอย่างนี้แล้วๆ เล่าๆ จิตย่อมสงบจนถึงขั้นอุปจารสมาธิ
สมาธิ 3
1.ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วครู่ ชั่วขณะหนึ่ง เป็นสมาธิ
ขั้นต้นที่บุคคลทั่วไปใช้ในการปฎิบัติหน้าที่ในการงาน
ประจําวัน
2.อุปจารสมาธิ คือ สมาธิที่ตั้งได้นานหน่อย ใกล้ที่จะได้
ฌาน เกิดนิมิตต่างๆ เช่นเห็นแสงสว่างอยู่ระยะหนึ่ง
3.อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิแน่วแน่ถึงฌาน เป็นการทํา
สมาธิขั้นสูงสุด
ในเรื่องการฝึกจิตนอกจากคําว่า “กัมมัฏฐาน” เราจะ
ได้ยินหลาย ๆ คําที่หมายถึงเรื่องการฝึกจิต เช่น สมาธิ การ
เจริญภาวนา ดังนี้
สมาธิ ถือว่าเป็นศัพท์ดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าทรงใช้เอง
เพราะมีปรากฏในธัมมจักกัปปวัตนสูตร ทรงใช้คําว่า
“สัมมาสมาธิ” เพื่อบ่งบอกถึงข้อปฏิบัติสายกลางเพื่อบรรลุ
มรรคผลนิพพาน
ในทางวิชาการวิชาการ สมาธิ หมายถึงระดับของจิต
และวิธีที่กําหนดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดจิตระดับนั้น ๆ ขึ้นมา02/04/60 6
บทสนทนาระหว่างพระนางธรรมทินนาเถรีกับวิสาขอุบาสก (อดีตสามี)
ได้สนทนากันในระดับของจิตใจความว่า
วิสาขอุบาสก ถามว่า “ธรรมอะไรเป็นสมาธิ อะไรเป็นนิมิตแห่งสมาธิ
อะไรเป็นบริขารสมาธิ สมาธิภาวนาอย่างไร ?”
พระนางธรรมทินนาเถรี ตอบว่า
“ความที่จิตเป็นสภาพมีอารมณ์อันเดียว นี้เป็นสมาธิสติปัฏฐาน ๔ เป็น
นิมิตแห่งสมาธิ
การเสพธรรมเหล่านั้นเนื่ฃอง ๆ การให้ธรรมเหล่านั้นเจริญ การ
ทําให้ธรรมนั้นมากขึ้น นี้เป็นสมาธิภาวนา”
สรุป สมาธิ หมายถึง สภาพของจิตที่จะต้องผ่านการพัฒนาด้วยวิธีการ
ฝึกที่มีระบบตามขั้นตอน
02/04/60 7
สัมมัปปธาน ๔
สัมมัปปธาน ๔ คือ การมุ่งมั่นทําความชอบ ๔ ประการ
สังวรปทาน คือ เพียรระงับการกระทําอกุศล ไม่ให้เกิดขึ้น ( เพียรระวัง )
ปหานปทาน คือ เพียรละเลิกอกุศลที่กําลังกระทําอยู่ ( เพียรละ )
อนุรักขปทาน คือ เพียรรักษา กุศลธรรม ที่เกิดขึ้นแล้ว ( เพียรรักษา )
ภาวนาปทาน คือ เพียรฝึกฝนบํารุงกุศลธรรม ให้เจริญยิ่งขึ้น ( เพียรเจริญ )
เป็นบริขารของสมาธิ

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศTพี่ชัย พันทะสี
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ppompuy pantham
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์Padvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 

What's hot (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

More from เตชะชิน เก้าเดือนยี่

บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 

More from เตชะชิน เก้าเดือนยี่ (17)

6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 

สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]

  • 3. จตุธาตุววัฏฐาน จตุ( สี่ ) + ธาตุ( สภาพที่ทรงไว้) + ววฏฺฐาน ( การกําหนด ) การกําหนดธาตุสี่ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม หมายถึง สมถภาวนาอารมณ์หนึ่ง ในอารมณ์ ๔๐ อย่าง เป็นการ อบรมจิตให้สงบจากกิเลสโดยการพิจารณาวิเคราะห์กาย นี้ เป็นเพียงสักแต่ว่าธาตุ หาใช่สัตว์ บุคคล ตัวตนไม่ หรือ การพิจารณาร่างกาย โดยพิจารณาแยกส่วนประกอบ ว่าเป็นเพียงธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ไม่มีอะไรที่เป็นความงามเลย
  • 4. จตุธาตุววัฏฐาน คือการพิจารณาอวัยวะ ส่วนที่เข้มแข็งหรืออ่อนในร่างกาย มีผม ขน เล็บ ฟัง หนัง เป็นต้นเป็นเพียงธาตุดินเท่านั้น ส่วนที่เอิบอาบหรือเกาะกุม มีน้ําเลือด น้ําลาย ย้ํามูก เป็นต้น เป็นแต่เพียงธาตุน้ําเท่านั้น ส่วนที่ร้อนหรือเย็น มีไฟที่ทําให้ร่างกายอบอุ่น ไฟที่เผาผลาญอาหาร เป็นต้น เป็นเพียงแต่ ธาตุไฟเท่านั้น ส่วนที่ไหวหรือเคร่งตึง มีลมหายใจเข้าออก ลมที่พัดขึ้นลงและทําให้ร่างกายไหว เป็นต้น ก็ เป็นเพียงแต่ธาตุลมเท่านั้น หาความเป็นสัตว์บุคคลไม่ได้ภายในร่างกายนี้ เมื่อพิจารณาเห็น ด้วยปัญญาอย่างนี้แล้วๆ เล่าๆ จิตย่อมสงบจนถึงขั้นอุปจารสมาธิ
  • 5. สมาธิ 3 1.ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชั่วครู่ ชั่วขณะหนึ่ง เป็นสมาธิ ขั้นต้นที่บุคคลทั่วไปใช้ในการปฎิบัติหน้าที่ในการงาน ประจําวัน 2.อุปจารสมาธิ คือ สมาธิที่ตั้งได้นานหน่อย ใกล้ที่จะได้ ฌาน เกิดนิมิตต่างๆ เช่นเห็นแสงสว่างอยู่ระยะหนึ่ง 3.อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิแน่วแน่ถึงฌาน เป็นการทํา สมาธิขั้นสูงสุด
  • 6. ในเรื่องการฝึกจิตนอกจากคําว่า “กัมมัฏฐาน” เราจะ ได้ยินหลาย ๆ คําที่หมายถึงเรื่องการฝึกจิต เช่น สมาธิ การ เจริญภาวนา ดังนี้ สมาธิ ถือว่าเป็นศัพท์ดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าทรงใช้เอง เพราะมีปรากฏในธัมมจักกัปปวัตนสูตร ทรงใช้คําว่า “สัมมาสมาธิ” เพื่อบ่งบอกถึงข้อปฏิบัติสายกลางเพื่อบรรลุ มรรคผลนิพพาน ในทางวิชาการวิชาการ สมาธิ หมายถึงระดับของจิต และวิธีที่กําหนดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดจิตระดับนั้น ๆ ขึ้นมา02/04/60 6
  • 7. บทสนทนาระหว่างพระนางธรรมทินนาเถรีกับวิสาขอุบาสก (อดีตสามี) ได้สนทนากันในระดับของจิตใจความว่า วิสาขอุบาสก ถามว่า “ธรรมอะไรเป็นสมาธิ อะไรเป็นนิมิตแห่งสมาธิ อะไรเป็นบริขารสมาธิ สมาธิภาวนาอย่างไร ?” พระนางธรรมทินนาเถรี ตอบว่า “ความที่จิตเป็นสภาพมีอารมณ์อันเดียว นี้เป็นสมาธิสติปัฏฐาน ๔ เป็น นิมิตแห่งสมาธิ การเสพธรรมเหล่านั้นเนื่ฃอง ๆ การให้ธรรมเหล่านั้นเจริญ การ ทําให้ธรรมนั้นมากขึ้น นี้เป็นสมาธิภาวนา” สรุป สมาธิ หมายถึง สภาพของจิตที่จะต้องผ่านการพัฒนาด้วยวิธีการ ฝึกที่มีระบบตามขั้นตอน 02/04/60 7
  • 8. สัมมัปปธาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ คือ การมุ่งมั่นทําความชอบ ๔ ประการ สังวรปทาน คือ เพียรระงับการกระทําอกุศล ไม่ให้เกิดขึ้น ( เพียรระวัง ) ปหานปทาน คือ เพียรละเลิกอกุศลที่กําลังกระทําอยู่ ( เพียรละ ) อนุรักขปทาน คือ เพียรรักษา กุศลธรรม ที่เกิดขึ้นแล้ว ( เพียรรักษา ) ภาวนาปทาน คือ เพียรฝึกฝนบํารุงกุศลธรรม ให้เจริญยิ่งขึ้น ( เพียรเจริญ ) เป็นบริขารของสมาธิ