SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
เรื่อง สมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ การสร้างเสริมและการปรับปรุง การทรงตัว ความอ่อนตัว ความแข็งแรง ความว่องไว วิ่งระยะสั้น วิ่งเก็บของ ลุก - นั่ง  ยืนกระโดดไกล แรงบีบมือ นั่งก้มตัว
การวัดระดับสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย องค์ประกอบ ของสมรรถภาพทางกาย
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายด้านต่างๆ  มีดังนี้ 1.  ความทนทานของกล้ามเนื้อ   หมายถึง  ความสามารถของกล้ามเนื้อที่จะทำงานลักษณะอย่างเดียวกันซ้ำๆ  ได้เป็นเวลานาน  เช่น  ดันพื้น  ลุก  -  นั่ง 2.  พลังกล้ามเนื้อ   หมายถึง  ความสามารถของกล้ามเนื้อในการทำงานได้อย่าง  แข็งแรงและรวดเร็วในช่วงระยะเวลาสั้นๆ  จนทำให้วัตถุหรือร่างกายเคลื่อนไหวได้อย่างเต็มที่  เช่น  ทุ่มน้ำหนัก  กระโดดไกล 3.  ความเร็ว  หมายถึง  ความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว  เช่น  วิ่ง  50  เมตร  วิ่ง  80  เมตร 4.  ความคล่องตัว   หมายถึง  ความสามารถของร่างกายในการเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็วและตรงเป้าหมาย  เช่น  วิ่งกลับตัว  วิ่งเก็บของ 5.  ความอ่อนตัว   หมายถึง  ความสามารถของร่างกายในการประสานงานกันระหว่างกล้ามเนื้อ  เอ็น  ข้อต่อ  เพื่อให้ร่างกายยืดหยุ่นได้  เช่น  ก้มเงย  ม้วนตัว
กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1.  วิ่ง  50  เมตร   2.  ยืนกระโดดไกล   3.  ลุกนั่ง  30  วินาที   4.  วิ่งเก็บของ 5.  ดันพื้น 6.  งอตัวข้างหน้า 7.  งอแขนห้อยตัว 8.  การทรงตัว
อุปกรณ์ 1.  นาฬิกาจับเวลา 2.  นกหวีด 3.  ลู่วิ่งระยะ  50  เมตร 4.  เส้นเริ่มและเส้นชัย การปฏิบัติ 1.  ยืนหลังเส้นเริ่ม  ให้ปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้น 2.  เมื่อสัญญาณดัง  ให้ออกวิ่งเต็มที่จนถึงเส้นชัยที่ระยะ  50  เมตร 3.  ให้วิ่ง  2  รอบ  แล้วบันทึกเวลาที่ดีที่สุด  ( หน่วยเป็นวินาที ใบความรู้ วิ่ง  50  เมตร
เกณฑ์ระดับความสามารถในการวิ่ง  50  เมตร  ( วินาที ) 8.12  ลงมา 8.13  –  9.14 9.15  –  11.21 11.22  –  12.33 12.24  ขึ้นไป ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 8.07  ลงมา 8.08  –  8.75 8.77  –  10.15 10.16  –  10.84 10.85  ขึ้นไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
ใบความรู้ ยืนกระโดดไกล อุปกรณ์ 1.  พื้นที่เรียบและไม่ลื่น 2.  ไม้วัดระยะมีหน่วยเป็นเซนติเมตร   การปฏิบัติ 1.  ยืนด้วยปลายเท้าชิดเส้นเริ่ม 2.  เหวี่ยงแขนทั้ง  2  ข้างไปด้านหลัง  พร้อมกับก้มตัวลง พอได้จังหวะเหวี่ยงแขน ไปข้างหน้าอย่างเร็ว  พร้อมกับกระโดดให้ลำตัวไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด 3.  ใช้ไม้วัดระยะจากเส้นเริ่มถึงจุดที่ส้นเท้าลงบนพื้นใกล้ที่สุด  ( หน่วยเป็นเซนติเมตร ) 4.  ทำ  2  ครั้ง  แล้วบันทึกระยะทางที่กระโดดได้ไกลที่สุด  ( หน่วยเป็นเซนติเมตร )
เกณฑ์ระดับความสามารถในการยืนกระโดดไกล 164  ขึ้นไป 149 - 163 116 - 148 101 - 115 100  ลงมา ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 173  ขึ้นไป 159 - 172 130 - 158 116 - 129 115  ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
ใบความรู้ ลุกนั่ง  30  วินาที อุปกรณ์ 1.  นาฬิกาจับเวลา 2.  เบาะหรือสนามหญ้าพื้นเรียบและนุ่ม การปฏิบัติ 1.  นอนหงาย ขาเหยียดตรง ปลายเท้าแยกจากกันประมาณ  30  เซนติเมตร มือ  ประสานกันวางรองท้ายทอยไว้  มีเพื่อนจับและกดข้อเท้าของนักเรียนให้ติดกับพื้น 2.  เมื่อได้ยินสัญญาณ  “ เริ่ม ”  ให้เริ่มจับเวลา แล้วให้นักเรียนลุกขึ้นนั่ง และก้มศีรษะลง  ไประหว่างเข่าทั้ง  2  ข้าง แล้วกลับนอนลงในท่าเดิมจนหลังมือแตะพื้น 3.  จากนั้นลุกขึ้นใหม่  ทำเช่นนี้ติดต่อกันอย่างรวดเร็วจนครบ  30  วินาที  แล้ว  บันทึกจำนวนครั้งที่ทำได้
เกณฑ์ระดับความสามารถในการลุกนั่ง  30  วินาที 19   ขึ้นไป 16 - 18 10 - 15 7 - 9 6  ลงมา ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 23  ขึ้นไป 20 - 22 13 -  19 10 - 12 9   ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
ใบความรู้ วิ่งเก็บของ อุปกรณ์ 1.  นาฬิกาจับเวลา 2.  ทางวิ่งระยะทาง  10  เมตร 3.  ท่อนไม้  2  ท่อน การปฏิบัติ 1.  วางไม้  2  ท่อนไว้ตรงกลางวงกลม 2.  ให้นักเรียนยืนโดยเท้าชิดเส้นเริ่ม 3.   เมื่อได้ยินสัญญาณ  “ เริ่ม ”  ให้หยิบท่อนไม้ในวง  1  ท่อน  แล้ววิ่งกลับมาว่างตรงเส้นเริ่ม  โดยห้ามโยนไม้  แล้ววิ่งกลับไปนำไม้ท่อนที่  2  มาว่างที่เส้นเริ่ม จึงบันทึกเวลา 4.  ให้ทดสอบ  2  ครั้ง  บันทึกเวลาครั้งที่ใช้เวลาน้อยที่สุด  ( ถ้าไม้ไม่วางอยู่ในวงให้วิ่ง  ใหม่ ) 5.  จับเวลาตั้งแต่เริ่มจนกระทั่งวางท่อนไม้ท่อนที่  2  ลงในวงกลม
เกณฑ์ระดับความสามารถในการวิ่งเก็บของ  ( วินาที ) 12.08  ลงมา 12.09  –  12.80 12.81  –  14.25 14.26  –  14.97 14.98  ขึ้นไป ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 10.75   ลงมา 10.76  –  11.71 11.72  –  13.64 13.65  –  14.60 14.61  ขึ้นไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
ใบความรู้ งอแขนห้อยตัว อุปกรณ์ 1.  นาฬิกาจับเวลา 2.  คานสำหรับห้อยตัว การปฏิบัติ 1.  ผู้ทดสอบยืนบนเก้าอี้โดยให้คางอยู่เหนือคานที่ไว้สำหรับห้อยตัว มือทั้ง  2  ข้างจับ  คานในลักษณะคว่ำมือ  ให้ห่างกัน  1  ช่วงไหล่ 2.  เมื่อได้รับสัญญาณให้ผู้ทดสอบงอเกร็งแขนทั้งสองข้างยกตัวให้เท้าลอยเหนือ  เก้าอี้ 3.  ให้ผู้ทดสอบเกร็งหัวไหล่และข้อมือดึงตัวให้อยู่ในท่าเดิมนานที่สุด 4.  เริ่มจับเวลาเมื่อได้รับสัญญาณ  เริ่ม  จนถึงระยะที่ปลายคางอยู่ต่ำกว่าคาน 5.  บันทึกเวลาที่ทำได้
เกณฑ์ระดับความสามารถในการงอแขนห้อยตัว  ( วินาที ) 10.36   ขึ้นไป 7.42 – 10.35 1.51 – 7.41 0.01 – 1.50 0 ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 21.34  ขึ้นไป 16.07  –  21.33 5.50  –  16.06 0.23  –  5.49 0.22  ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
ใบความรู้ งอตัวข้างหน้า อุปกรณ์ 1.  เก้าอี้ 2.  ไม้บรรทัดไม่เกิน  60  เซนติเมตร การปฏิบัติ 1.  ผู้ทดสอบยืนบนเก้าอี้  เท้าทั้ง  2  ข้างชิดกัน  ปลายเท้าอยู่ริมขอบเก้าอี้ 2.  ให้ผู้ทดสอบใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองเกี่ยวกันไว้  จากนั้นเหยียดขาตรงก้มตัวลง   ข้างหน้าเหยียดแขนทั้ง  2  เลื่อนไปตามไม้บรรทัดให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ 3.  วัดระยะจากขอบเก้าอี้จนถึงปลายนิ้วมือ   แล้วบันทึกผล หน่วยเป็นเซนติเมตร
เกณฑ์ระดับความสามารถในการงอตัวข้างหน้า  ( เซนติเมตร ) 9.5  ขึ้นไป 6.5  –  9.4 1.0  –  6.4 (-1) -0.9 (-1.1)  ลงไป ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 8.5  ขึ้นไป 6.5  –  8.4 1.0  –  6.4 (-1) -0.9 (-1.1)  ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
แบบทดสอบ เรื่อง  สมรรถภาพทางกาย ชื่อ ....................................................................... ชั้น ............................ เลขที่ ............................... อายุ .......................... เพศ ............................ วันที่ปฏิบัติ ................................................................. การทดสอบสมรรถภาพ  ครั้งที่  1 ผลการทดสอบ สรุปผลการประเมิน ครูประเมิน  คะแนนเต็ม  60  คะแนน คะแนนที่ทำได้ คะแนน ข้อเสนอแนะ ............................................................ .....................   ....................................................................................................   ลงชื่อ  ..........................................  ครูผู้ประเมิน   (  นายจักรพงศ์  บางวัด  ) ทำได้  วินาที 6.  งอแขนห้อยตัว ทำได้  เซนติเมตร 5.  งอตัวข้างหน้า ทำได้  วินาที 4.  วิ่งเก็บของ ทำได้  ครั้ง 3.  ลุกนั่ง  30  วินาที ทำได้  เซนติเมตร 2.  ยืนกระโดดไกล ทำได้  วินาที 1.  วิ่ง  50  เมตร ระดับความสามารถ สถิติที่ทำได้ กิจกรรม
การที่คนเราจะมีสุขภาพจิตที่ดีได้ ก็ต้องมีสุขภาพกายที่ดีก่อน...

More Related Content

Viewers also liked

Brief Introduction to Derivatives
Brief Introduction to DerivativesBrief Introduction to Derivatives
Brief Introduction to DerivativesCraig Eastland
 
Skin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed Securities
Skin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed SecuritiesSkin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed Securities
Skin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed SecuritiesCraig Eastland
 
Get Durable Repair Tags From My Repair Tags
Get Durable Repair Tags From My Repair TagsGet Durable Repair Tags From My Repair Tags
Get Durable Repair Tags From My Repair Tagsmyrepairtags
 
Context-aware user modeling strategies for journey plan recommendation
Context-aware user modeling strategies for journey plan recommendationContext-aware user modeling strategies for journey plan recommendation
Context-aware user modeling strategies for journey plan recommendationVictor Codina
 

Viewers also liked (6)

Brief Introduction to Derivatives
Brief Introduction to DerivativesBrief Introduction to Derivatives
Brief Introduction to Derivatives
 
afreitas
afreitasafreitas
afreitas
 
Skin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed Securities
Skin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed SecuritiesSkin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed Securities
Skin Game: Dodd-Frank and the Regulation of Asset-Backed Securities
 
Get Durable Repair Tags From My Repair Tags
Get Durable Repair Tags From My Repair TagsGet Durable Repair Tags From My Repair Tags
Get Durable Repair Tags From My Repair Tags
 
911 Collage
911  Collage911  Collage
911 Collage
 
Context-aware user modeling strategies for journey plan recommendation
Context-aware user modeling strategies for journey plan recommendationContext-aware user modeling strategies for journey plan recommendation
Context-aware user modeling strategies for journey plan recommendation
 

Similar to สรรมถภาพทางกาย

แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6kkkkon
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายNun อันทวีสิน
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)Slitip Pimkad
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)krutitirut
 

Similar to สรรมถภาพทางกาย (8)

แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
 
CBI Lesson Plan
CBI Lesson PlanCBI Lesson Plan
CBI Lesson Plan
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 

สรรมถภาพทางกาย

  • 2. สมรรถภาพทางกาย กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ การสร้างเสริมและการปรับปรุง การทรงตัว ความอ่อนตัว ความแข็งแรง ความว่องไว วิ่งระยะสั้น วิ่งเก็บของ ลุก - นั่ง ยืนกระโดดไกล แรงบีบมือ นั่งก้มตัว
  • 4. องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายด้านต่างๆ มีดังนี้ 1. ความทนทานของกล้ามเนื้อ หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่จะทำงานลักษณะอย่างเดียวกันซ้ำๆ ได้เป็นเวลานาน เช่น ดันพื้น ลุก - นั่ง 2. พลังกล้ามเนื้อ หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อในการทำงานได้อย่าง แข็งแรงและรวดเร็วในช่วงระยะเวลาสั้นๆ จนทำให้วัตถุหรือร่างกายเคลื่อนไหวได้อย่างเต็มที่ เช่น ทุ่มน้ำหนัก กระโดดไกล 3. ความเร็ว หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว เช่น วิ่ง 50 เมตร วิ่ง 80 เมตร 4. ความคล่องตัว หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็วและตรงเป้าหมาย เช่น วิ่งกลับตัว วิ่งเก็บของ 5. ความอ่อนตัว หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการประสานงานกันระหว่างกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ เพื่อให้ร่างกายยืดหยุ่นได้ เช่น ก้มเงย ม้วนตัว
  • 5. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. วิ่ง 50 เมตร 2. ยืนกระโดดไกล 3. ลุกนั่ง 30 วินาที 4. วิ่งเก็บของ 5. ดันพื้น 6. งอตัวข้างหน้า 7. งอแขนห้อยตัว 8. การทรงตัว
  • 6. อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา 2. นกหวีด 3. ลู่วิ่งระยะ 50 เมตร 4. เส้นเริ่มและเส้นชัย การปฏิบัติ 1. ยืนหลังเส้นเริ่ม ให้ปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้น 2. เมื่อสัญญาณดัง ให้ออกวิ่งเต็มที่จนถึงเส้นชัยที่ระยะ 50 เมตร 3. ให้วิ่ง 2 รอบ แล้วบันทึกเวลาที่ดีที่สุด ( หน่วยเป็นวินาที ใบความรู้ วิ่ง 50 เมตร
  • 7. เกณฑ์ระดับความสามารถในการวิ่ง 50 เมตร ( วินาที ) 8.12 ลงมา 8.13 – 9.14 9.15 – 11.21 11.22 – 12.33 12.24 ขึ้นไป ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 8.07 ลงมา 8.08 – 8.75 8.77 – 10.15 10.16 – 10.84 10.85 ขึ้นไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
  • 8. ใบความรู้ ยืนกระโดดไกล อุปกรณ์ 1. พื้นที่เรียบและไม่ลื่น 2. ไม้วัดระยะมีหน่วยเป็นเซนติเมตร การปฏิบัติ 1. ยืนด้วยปลายเท้าชิดเส้นเริ่ม 2. เหวี่ยงแขนทั้ง 2 ข้างไปด้านหลัง พร้อมกับก้มตัวลง พอได้จังหวะเหวี่ยงแขน ไปข้างหน้าอย่างเร็ว พร้อมกับกระโดดให้ลำตัวไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด 3. ใช้ไม้วัดระยะจากเส้นเริ่มถึงจุดที่ส้นเท้าลงบนพื้นใกล้ที่สุด ( หน่วยเป็นเซนติเมตร ) 4. ทำ 2 ครั้ง แล้วบันทึกระยะทางที่กระโดดได้ไกลที่สุด ( หน่วยเป็นเซนติเมตร )
  • 9. เกณฑ์ระดับความสามารถในการยืนกระโดดไกล 164 ขึ้นไป 149 - 163 116 - 148 101 - 115 100 ลงมา ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 173 ขึ้นไป 159 - 172 130 - 158 116 - 129 115 ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
  • 10. ใบความรู้ ลุกนั่ง 30 วินาที อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา 2. เบาะหรือสนามหญ้าพื้นเรียบและนุ่ม การปฏิบัติ 1. นอนหงาย ขาเหยียดตรง ปลายเท้าแยกจากกันประมาณ 30 เซนติเมตร มือ ประสานกันวางรองท้ายทอยไว้ มีเพื่อนจับและกดข้อเท้าของนักเรียนให้ติดกับพื้น 2. เมื่อได้ยินสัญญาณ “ เริ่ม ” ให้เริ่มจับเวลา แล้วให้นักเรียนลุกขึ้นนั่ง และก้มศีรษะลง ไประหว่างเข่าทั้ง 2 ข้าง แล้วกลับนอนลงในท่าเดิมจนหลังมือแตะพื้น 3. จากนั้นลุกขึ้นใหม่ ทำเช่นนี้ติดต่อกันอย่างรวดเร็วจนครบ 30 วินาที แล้ว บันทึกจำนวนครั้งที่ทำได้
  • 11. เกณฑ์ระดับความสามารถในการลุกนั่ง 30 วินาที 19 ขึ้นไป 16 - 18 10 - 15 7 - 9 6 ลงมา ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 23 ขึ้นไป 20 - 22 13 - 19 10 - 12 9 ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
  • 12. ใบความรู้ วิ่งเก็บของ อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา 2. ทางวิ่งระยะทาง 10 เมตร 3. ท่อนไม้ 2 ท่อน การปฏิบัติ 1. วางไม้ 2 ท่อนไว้ตรงกลางวงกลม 2. ให้นักเรียนยืนโดยเท้าชิดเส้นเริ่ม 3. เมื่อได้ยินสัญญาณ “ เริ่ม ” ให้หยิบท่อนไม้ในวง 1 ท่อน แล้ววิ่งกลับมาว่างตรงเส้นเริ่ม โดยห้ามโยนไม้ แล้ววิ่งกลับไปนำไม้ท่อนที่ 2 มาว่างที่เส้นเริ่ม จึงบันทึกเวลา 4. ให้ทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกเวลาครั้งที่ใช้เวลาน้อยที่สุด ( ถ้าไม้ไม่วางอยู่ในวงให้วิ่ง ใหม่ ) 5. จับเวลาตั้งแต่เริ่มจนกระทั่งวางท่อนไม้ท่อนที่ 2 ลงในวงกลม
  • 13. เกณฑ์ระดับความสามารถในการวิ่งเก็บของ ( วินาที ) 12.08 ลงมา 12.09 – 12.80 12.81 – 14.25 14.26 – 14.97 14.98 ขึ้นไป ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 10.75 ลงมา 10.76 – 11.71 11.72 – 13.64 13.65 – 14.60 14.61 ขึ้นไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
  • 14. ใบความรู้ งอแขนห้อยตัว อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา 2. คานสำหรับห้อยตัว การปฏิบัติ 1. ผู้ทดสอบยืนบนเก้าอี้โดยให้คางอยู่เหนือคานที่ไว้สำหรับห้อยตัว มือทั้ง 2 ข้างจับ คานในลักษณะคว่ำมือ ให้ห่างกัน 1 ช่วงไหล่ 2. เมื่อได้รับสัญญาณให้ผู้ทดสอบงอเกร็งแขนทั้งสองข้างยกตัวให้เท้าลอยเหนือ เก้าอี้ 3. ให้ผู้ทดสอบเกร็งหัวไหล่และข้อมือดึงตัวให้อยู่ในท่าเดิมนานที่สุด 4. เริ่มจับเวลาเมื่อได้รับสัญญาณ เริ่ม จนถึงระยะที่ปลายคางอยู่ต่ำกว่าคาน 5. บันทึกเวลาที่ทำได้
  • 15. เกณฑ์ระดับความสามารถในการงอแขนห้อยตัว ( วินาที ) 10.36 ขึ้นไป 7.42 – 10.35 1.51 – 7.41 0.01 – 1.50 0 ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 21.34 ขึ้นไป 16.07 – 21.33 5.50 – 16.06 0.23 – 5.49 0.22 ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
  • 16. ใบความรู้ งอตัวข้างหน้า อุปกรณ์ 1. เก้าอี้ 2. ไม้บรรทัดไม่เกิน 60 เซนติเมตร การปฏิบัติ 1. ผู้ทดสอบยืนบนเก้าอี้ เท้าทั้ง 2 ข้างชิดกัน ปลายเท้าอยู่ริมขอบเก้าอี้ 2. ให้ผู้ทดสอบใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองเกี่ยวกันไว้ จากนั้นเหยียดขาตรงก้มตัวลง ข้างหน้าเหยียดแขนทั้ง 2 เลื่อนไปตามไม้บรรทัดให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ 3. วัดระยะจากขอบเก้าอี้จนถึงปลายนิ้วมือ แล้วบันทึกผล หน่วยเป็นเซนติเมตร
  • 17. เกณฑ์ระดับความสามารถในการงอตัวข้างหน้า ( เซนติเมตร ) 9.5 ขึ้นไป 6.5 – 9.4 1.0 – 6.4 (-1) -0.9 (-1.1) ลงไป ดีมาก ดี ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก 8.5 ขึ้นไป 6.5 – 8.4 1.0 – 6.4 (-1) -0.9 (-1.1) ลงไป หญิง ระดับความสามารถ ชาย
  • 18. แบบทดสอบ เรื่อง สมรรถภาพทางกาย ชื่อ ....................................................................... ชั้น ............................ เลขที่ ............................... อายุ .......................... เพศ ............................ วันที่ปฏิบัติ ................................................................. การทดสอบสมรรถภาพ ครั้งที่ 1 ผลการทดสอบ สรุปผลการประเมิน ครูประเมิน คะแนนเต็ม 60 คะแนน คะแนนที่ทำได้ คะแนน ข้อเสนอแนะ ............................................................ ..................... .................................................................................................... ลงชื่อ .......................................... ครูผู้ประเมิน ( นายจักรพงศ์ บางวัด ) ทำได้ วินาที 6. งอแขนห้อยตัว ทำได้ เซนติเมตร 5. งอตัวข้างหน้า ทำได้ วินาที 4. วิ่งเก็บของ ทำได้ ครั้ง 3. ลุกนั่ง 30 วินาที ทำได้ เซนติเมตร 2. ยืนกระโดดไกล ทำได้ วินาที 1. วิ่ง 50 เมตร ระดับความสามารถ สถิติที่ทำได้ กิจกรรม