SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม
ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง
การศึกษาเท่านั้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ปัจจุบันการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม เช่น การส่งบุตรหลานเข้าร่วม
โครงการ AFS หรือการส่งพนักงานไปฝึกอบรมมารยาททางธุรกิจก่อนการไป
ปฏิบัติงานจริง ก็เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมประเทศนั้น ๆ เพื่อ
ง่ายต่อการปรับตัว ทาให้ในปัจจุบันการยอมรับหรือการผสมผสานทางวัฒนธรรม
เกิดขึ้นได้ง่าย ซึ่งภาษาและการสื่อสารจัดได้ว่ามีความสาคัญในการเจรจาต่อรอง
ธุรกิจหรือการพบปะกันระหว่างผู้ให้บริการและรับการบริการ ภาษาถือเป็นส่วนหนึ่ง
ของวัฒนธรรม ซึ่งทุก ๆ ชาติจะต้องมีภาษาเป็นของตัวเอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของภาษาว่า ภาษาเป็นถ้อยคา
ที่ใช้พูดเช่นกัน แต่ได้ให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า ภาษาเป็นคานาม หมายถึงถ้อยคาที่ใช้
พูดหรือเขียนเพื่อการสื่อความหมายของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเช่น ภาษาไทย ภาษาจีน
หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม เสียง
ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความหมายได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษา
ท่าทาง ภาษามือ คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่ม และ
แต่งตัวตามภาษา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ,2545 อ้างอิงใน
คณาจารย์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2551, หน้า 3)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ภาษา คือ วิธีที่มนุษย์แสดงความในใจสื่อความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ ภาษา
จาแนกได้ตามวิธีการแสดงออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ (ประภาศรี สีหอาไพ ,
2538, หน้า 15)
1. ภาษาถ้อยคา คือ ภาษาที่แสดงอกได้โดยวิธีใช้ตัวอักษรเป็น
สัญลักษณ์ในการสื่อความหมายทางการพูดและการเขียน
2. ภาษาท่าทาง คือ ภาษาที่ใช้โดยการแสดงอากัปกิริยา ได้แก่สีหน้า
แววตา ท่าทาง เช่น การใช้นิ้วมือในภาษาใบ้
ภาษาเป็นเครื่องมือของการสื่อสาร ก่อให้เกิดความเข้าใจ ความหมายตรงกัน
เป็นสื่อกลางในการสืบทอดและเป็นหลักฐานของวัฒนธรรม ทาให้สามารถศึกษา
ถ่ายทอดอนุรักษ์และสร้างสรรค์วัฒนธรรมเป็นมรดกทางสังคมสืบต่อกันมา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การสื่อสารเป็นการส่งผ่านข้อมูล การแลกเปลี่ยนความคิดหรืออาจกล่าวว่า เป็น
กระบวนการที่บุคคลสองฝ่ายแบ่งปันความหมายให้กันและกันได้ทราบเพื่อให้มี
ความคิดตรงกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังนั้น การสื่อสารจะเกิดได้ต้องมีการถ่ายทอด
ข้อมูลจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งและต้องเข้าใจความหมายที่รับ
 การทาให้บุคคลสองฝ่ายมีความเหมือนกันทางความคิดไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะ
กระบวนการสื่อสารมักมีความสลับซับซ้อน ความสาเร็จของการสื่อสารขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยหลายประการ เช่น ลักษณะของการสื่อสาร การตีความสาร และ
สภาพแวดล้อมเมื่อได้รับสารนั้น การรับรู้ของผู้รับสารที่มีต่อแหล่งที่มาของสารและ
สื่อที่ใช้ในการส่งสารอาจมีผลกระทบต่อความสามารถในการสื่อสาร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. ผู้ส่งสาร ผู้ส่งสารเป็นผู้ถ่ายทอดสารต่าง ๆ ไปยังผู้รับสารด้วยการประมวล
ความคิดของตนก่อนนาเสนอ ซึ่งผู้ส่งสารได้มาโดยการแสวงหาความรู้และจาก
ประสบการณ์ที่ได้รับทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ผู้ส่งสารจะต้องทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับข้อมูลเหล่านั้นอย่างถ่องแท้ก่อนจะถ่ายทอดออกไป เพื่อให้ข้อมูลนั้นไปสู่ผู้รับ
สารอย่างถูกต้องสมบูรณ์
2. สาร เรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการถ่ายทอดให้ผู้รับสารได้รู้ จะปรากฏให้ผู้รับสาร
รับรู้ได้ก็
ต่อเมื่อผู้ส่งสารแสดงออกในทางใดทางหนึ่ง โดยใช้ภาษาทั้งที่เป็นถ้อยคาหรือไม่ใช่
ถ้อยคาเป็นเครื่องสื่อความหมาย และสารนั้นต้องเป็นเรื่องราวที่มีความหมายและ
สามารถสื่อความได้ สารที่เกิดขึ้นนั้นต้องอาศัยสัญลักษณ์ทางภาษาที่คนในสังคม
กาหนดร่วมกันเพื่อที่จะสามารถสื่อความหมายได้เข้าใจตรงกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
3. สื่อ สื่อเป็นช่องทางหรือพาหะนาสารส่งไปยังผู้รับ ซึ่งจะเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้
กระบวนการสื่อสารเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว และชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะสื่อที่
เป็นวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นหรืออาจเป็นสื่อบางอย่าง แต่หากสื่อที่นามาใช้ประกอบการ
นาเสนอไม่มีส่วนช่วยในการสร้างความเข้าใจแล้ว สื่อที่นามานั้นก็จะไม่เกิดประโยชน์ใด
ๆ
4. ผู้รับสาร ผู้ที่ทาหน้าที่รับสารจะเป็นผู้ที่ทาความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่ผู้ส่งสาร
นาเสนอมา ไม่ว่าจะเป็นเสียงหรือสัญลักษณ์อื่นใด โดยจะต้องแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง
ต่อเรื่องนั้นกลับไปให้ผู้ส่งสารได้รับรู้ถึงความเข้าใจของผู้รับสารว่ามีมากน้อยเพียงใด
เพื่อจะได้พิจารณาว่าการนาเสนอสารนั้นประสบความสาเร็จหรือไม่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
5. ผลของการสื่อสาร ผลของการสื่อสารที่ดีจะเกิดขึ้นจากการแสดง
ปฏิกิริยาของผู้รับสาร เพื่อแสดงให้ผู้ส่งสารรับรู้ว่าผู้รับสารมีความเข้าใจมากน้อย
เพียงใด การแสดงกริยาตอบสนองจึงต้องให้สอดคล้องกับการรับสารมา มีความ
เหมาะสมถูกต้องในการแสดงผลของความเข้าใจ ต่อเรื่องราวนั้น ๆ เพราะจะเป็นส่วน
สาคัญที่ช่วยให้ผู้ส่งสารสามารถวิเคราะห์กระบวนการนาเสนอของตนได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ผู้ส่งสาร สาร สื่อ ผู้รับสาร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. การสื่อสารระหว่างเชื้อชาติ (Interracial
communication) เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารเป็นคนละเชื้อชาติ
เป็นคนละภาษา ซึ่งแน่นอนทั้ง 2 ฝ่าย ย่อมแตกต่างในด้านอื่น ๆ ด้วย เช่นค่านิยม
ความเป็นอยู่ ความคิด ประเพณีต่าง ๆ การสื่อสารประเภทนี้จะมีความยุ่งยากกว่าการ
สื่อสารรูปแบบอื่น ๆ เพราะอาจจะต้องใช้ล่าม ใช้ความประณีตละเอียด รอบคอบเป็น
พิเศษ ไม่เช่นนั้นการสื่อสารอาจล้มเหลวได้ง่าย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
2. การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural
communication) กล่าวว่าการสื่อสารประเภทนี้มุ่งเฉพาะวัฒนธรรมที่
แตกต่างกันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารเท่านั้น ทั้ง 2 ฝ่าย เป็นคนเชื้อชาติเดียวกัน พูด
ภาษาเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกัน แต่ต่างวัฒนธรรม เช่น การสื่อสารระหว่างคนไทย
ภาคเหนือกับคนไทยภาคใต้เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
3. การสื่อสารระหว่างประเทศ (International
communication) การสื่อสารประเภทนี้มุ่งเน้นการสื่อสารในระดับชาติ ซึ่งมี
ลักษณะเป็นทางการผู้ส่งสารและผู้รับสารจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะตัวแทนของประชาชน
ภายในชาติ ดังนั้น การสื่อสารประเภทนี้จึงแตกต่างกับการสื่อสารระหว่างเชื้อชาติซึ่ง
มุ่งเน้นเฉพาะบุคคลหรือระหว่างบุคคล
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม คือ สถานการณ์ใด ๆ ก็ตามที่บุคคลจากต่างภูมิหลัง
หรือพื้นเพทางวัฒนธรรมทาการติอต่อสื่อสารกัน ดังนั้นความแตกต่างหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม(Cultural differences or cultural diversity)
ไม่ว่าจะเป็นภูมิหลัง ประสบการณ์ แนวคิด โลกทัศน์ การใช้ภาษาหรืออวัจนภาษา
และสมมุติฐานต่าง ๆ ในการตีความประสบการณ์ในชีวิตในบริบทต่าง ๆ นั้นอาจ
ก่อให้เกิดปัญหาทางการสื่อสารได้หากไม่มีการสร้างความตระหนักรู้ทางด้าน
วัฒนธรรม (cultural awareness) และผลกระทบทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อ
กระบวนการและพฤติกรรมในการสื่อสารใน สังคมนั้น ๆ (จุฑาพรรธ์ ผดุงชีวิต,
2551, หน้า 46)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ในการจัดการข้ามวัฒนธรรม การสื่อสารถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญ เนื่องจากต้องมี
การติดต่อธุรกิจ กับนักธุรกิจต่างประเทศ จาเป็นต้องมีการสื่อสารทั้งวัจนภาษา
และอวัจนภาษา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ที่ทางานธุรกิจควรต้องมีความสามารถในการ
สื่อสารอย่างมาก ซึ่งการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม คือ สถานการณ์ใด ๆ ก็ตามที่บุคคล
จากต่างภูมิหลังหรือพื้นเพทางวัฒนธรรมทาการติอต่อสื่อสารกัน
ดังนั้นความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural
differences or cultural diversity)ไม่ว่าจะเป็นภูมิหลัง ประสบการณ์
แนวคิด โลกทัศน์ การใช้ภาษาหรือ อวัจนภาษา และสมมุติฐานต่าง ๆ ในการตีความ
ประสบการณ์ในชีวิตในบริบทต่าง ๆ นั้นอาจก่อให้เกิดปัญหาทางการสื่อสารได้หากไม่มี
การสร้างความตระหนักรู้ทางด้านวัฒนธรรม(cultural awareness)และ
ผลกระทบทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อกระบวนการและพฤติกรรมในการสื่อสารใน สังคม
นั้น ๆ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. ภาษาหมายถึงอะไร
2. วัจนภาษาหมายถึงอะไร
3. อวัจนภาษาหมายถึงอะไร
4. จงบอกความหมายของการสื่อสาร
5. จงบอกองค์ประกอบของการสื่อสาร
6. เกณฑ์ความแตกต่างระหว่างผู้ส่งสารและรับสารยังมีอะไรอีกบ้าง
7. ระหว่างนักท่องเที่ยวกับผู้ให้บริการถือเป็นการสื่อสารประเภทใด
8. นิสิตคิดว่าระหว่างนักท่องเที่ยวกับผู้ให้บริการวัจนภาษาหรืออวัจนภาษามีความสาคัญ
มากกว่ากัน
9. การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมคืออะไร
10. นิสิตคิดว่าอะไรเป็นอุปสรรคของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

More Related Content

What's hot

การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Krishna Rama
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างTeetut Tresirichod
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)Sornram Wicheislang
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาAngkhana Nuwatthana
 

What's hot (20)

การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
Chapter 4 empathize
Chapter 4 empathizeChapter 4 empathize
Chapter 4 empathize
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
Convention
ConventionConvention
Convention
 
การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดา
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

Chapter 6 language and cross cultural communication

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง การศึกษาเท่านั้น
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ปัจจุบันการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม เช่น การส่งบุตรหลานเข้าร่วม โครงการ AFS หรือการส่งพนักงานไปฝึกอบรมมารยาททางธุรกิจก่อนการไป ปฏิบัติงานจริง ก็เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมประเทศนั้น ๆ เพื่อ ง่ายต่อการปรับตัว ทาให้ในปัจจุบันการยอมรับหรือการผสมผสานทางวัฒนธรรม เกิดขึ้นได้ง่าย ซึ่งภาษาและการสื่อสารจัดได้ว่ามีความสาคัญในการเจรจาต่อรอง ธุรกิจหรือการพบปะกันระหว่างผู้ให้บริการและรับการบริการ ภาษาถือเป็นส่วนหนึ่ง ของวัฒนธรรม ซึ่งทุก ๆ ชาติจะต้องมีภาษาเป็นของตัวเอง
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของภาษาว่า ภาษาเป็นถ้อยคา ที่ใช้พูดเช่นกัน แต่ได้ให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า ภาษาเป็นคานาม หมายถึงถ้อยคาที่ใช้ พูดหรือเขียนเพื่อการสื่อความหมายของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความหมายได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษา ท่าทาง ภาษามือ คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่ม และ แต่งตัวตามภาษา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ,2545 อ้างอิงใน คณาจารย์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2551, หน้า 3)
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ภาษา คือ วิธีที่มนุษย์แสดงความในใจสื่อความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ ภาษา จาแนกได้ตามวิธีการแสดงออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ (ประภาศรี สีหอาไพ , 2538, หน้า 15) 1. ภาษาถ้อยคา คือ ภาษาที่แสดงอกได้โดยวิธีใช้ตัวอักษรเป็น สัญลักษณ์ในการสื่อความหมายทางการพูดและการเขียน 2. ภาษาท่าทาง คือ ภาษาที่ใช้โดยการแสดงอากัปกิริยา ได้แก่สีหน้า แววตา ท่าทาง เช่น การใช้นิ้วมือในภาษาใบ้ ภาษาเป็นเครื่องมือของการสื่อสาร ก่อให้เกิดความเข้าใจ ความหมายตรงกัน เป็นสื่อกลางในการสืบทอดและเป็นหลักฐานของวัฒนธรรม ทาให้สามารถศึกษา ถ่ายทอดอนุรักษ์และสร้างสรรค์วัฒนธรรมเป็นมรดกทางสังคมสืบต่อกันมา
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การสื่อสารเป็นการส่งผ่านข้อมูล การแลกเปลี่ยนความคิดหรืออาจกล่าวว่า เป็น กระบวนการที่บุคคลสองฝ่ายแบ่งปันความหมายให้กันและกันได้ทราบเพื่อให้มี ความคิดตรงกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังนั้น การสื่อสารจะเกิดได้ต้องมีการถ่ายทอด ข้อมูลจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งและต้องเข้าใจความหมายที่รับ  การทาให้บุคคลสองฝ่ายมีความเหมือนกันทางความคิดไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะ กระบวนการสื่อสารมักมีความสลับซับซ้อน ความสาเร็จของการสื่อสารขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลายประการ เช่น ลักษณะของการสื่อสาร การตีความสาร และ สภาพแวดล้อมเมื่อได้รับสารนั้น การรับรู้ของผู้รับสารที่มีต่อแหล่งที่มาของสารและ สื่อที่ใช้ในการส่งสารอาจมีผลกระทบต่อความสามารถในการสื่อสาร
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. ผู้ส่งสาร ผู้ส่งสารเป็นผู้ถ่ายทอดสารต่าง ๆ ไปยังผู้รับสารด้วยการประมวล ความคิดของตนก่อนนาเสนอ ซึ่งผู้ส่งสารได้มาโดยการแสวงหาความรู้และจาก ประสบการณ์ที่ได้รับทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ผู้ส่งสารจะต้องทาความเข้าใจ เกี่ยวกับข้อมูลเหล่านั้นอย่างถ่องแท้ก่อนจะถ่ายทอดออกไป เพื่อให้ข้อมูลนั้นไปสู่ผู้รับ สารอย่างถูกต้องสมบูรณ์ 2. สาร เรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการถ่ายทอดให้ผู้รับสารได้รู้ จะปรากฏให้ผู้รับสาร รับรู้ได้ก็ ต่อเมื่อผู้ส่งสารแสดงออกในทางใดทางหนึ่ง โดยใช้ภาษาทั้งที่เป็นถ้อยคาหรือไม่ใช่ ถ้อยคาเป็นเครื่องสื่อความหมาย และสารนั้นต้องเป็นเรื่องราวที่มีความหมายและ สามารถสื่อความได้ สารที่เกิดขึ้นนั้นต้องอาศัยสัญลักษณ์ทางภาษาที่คนในสังคม กาหนดร่วมกันเพื่อที่จะสามารถสื่อความหมายได้เข้าใจตรงกัน
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3. สื่อ สื่อเป็นช่องทางหรือพาหะนาสารส่งไปยังผู้รับ ซึ่งจะเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้ กระบวนการสื่อสารเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว และชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะสื่อที่ เป็นวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นหรืออาจเป็นสื่อบางอย่าง แต่หากสื่อที่นามาใช้ประกอบการ นาเสนอไม่มีส่วนช่วยในการสร้างความเข้าใจแล้ว สื่อที่นามานั้นก็จะไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ 4. ผู้รับสาร ผู้ที่ทาหน้าที่รับสารจะเป็นผู้ที่ทาความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่ผู้ส่งสาร นาเสนอมา ไม่ว่าจะเป็นเสียงหรือสัญลักษณ์อื่นใด โดยจะต้องแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อเรื่องนั้นกลับไปให้ผู้ส่งสารได้รับรู้ถึงความเข้าใจของผู้รับสารว่ามีมากน้อยเพียงใด เพื่อจะได้พิจารณาว่าการนาเสนอสารนั้นประสบความสาเร็จหรือไม่
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5. ผลของการสื่อสาร ผลของการสื่อสารที่ดีจะเกิดขึ้นจากการแสดง ปฏิกิริยาของผู้รับสาร เพื่อแสดงให้ผู้ส่งสารรับรู้ว่าผู้รับสารมีความเข้าใจมากน้อย เพียงใด การแสดงกริยาตอบสนองจึงต้องให้สอดคล้องกับการรับสารมา มีความ เหมาะสมถูกต้องในการแสดงผลของความเข้าใจ ต่อเรื่องราวนั้น ๆ เพราะจะเป็นส่วน สาคัญที่ช่วยให้ผู้ส่งสารสามารถวิเคราะห์กระบวนการนาเสนอของตนได้
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. การสื่อสารระหว่างเชื้อชาติ (Interracial communication) เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารเป็นคนละเชื้อชาติ เป็นคนละภาษา ซึ่งแน่นอนทั้ง 2 ฝ่าย ย่อมแตกต่างในด้านอื่น ๆ ด้วย เช่นค่านิยม ความเป็นอยู่ ความคิด ประเพณีต่าง ๆ การสื่อสารประเภทนี้จะมีความยุ่งยากกว่าการ สื่อสารรูปแบบอื่น ๆ เพราะอาจจะต้องใช้ล่าม ใช้ความประณีตละเอียด รอบคอบเป็น พิเศษ ไม่เช่นนั้นการสื่อสารอาจล้มเหลวได้ง่าย
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2. การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural communication) กล่าวว่าการสื่อสารประเภทนี้มุ่งเฉพาะวัฒนธรรมที่ แตกต่างกันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารเท่านั้น ทั้ง 2 ฝ่าย เป็นคนเชื้อชาติเดียวกัน พูด ภาษาเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกัน แต่ต่างวัฒนธรรม เช่น การสื่อสารระหว่างคนไทย ภาคเหนือกับคนไทยภาคใต้เป็นต้น
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3. การสื่อสารระหว่างประเทศ (International communication) การสื่อสารประเภทนี้มุ่งเน้นการสื่อสารในระดับชาติ ซึ่งมี ลักษณะเป็นทางการผู้ส่งสารและผู้รับสารจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะตัวแทนของประชาชน ภายในชาติ ดังนั้น การสื่อสารประเภทนี้จึงแตกต่างกับการสื่อสารระหว่างเชื้อชาติซึ่ง มุ่งเน้นเฉพาะบุคคลหรือระหว่างบุคคล
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม คือ สถานการณ์ใด ๆ ก็ตามที่บุคคลจากต่างภูมิหลัง หรือพื้นเพทางวัฒนธรรมทาการติอต่อสื่อสารกัน ดังนั้นความแตกต่างหลากหลาย ทางวัฒนธรรม(Cultural differences or cultural diversity) ไม่ว่าจะเป็นภูมิหลัง ประสบการณ์ แนวคิด โลกทัศน์ การใช้ภาษาหรืออวัจนภาษา และสมมุติฐานต่าง ๆ ในการตีความประสบการณ์ในชีวิตในบริบทต่าง ๆ นั้นอาจ ก่อให้เกิดปัญหาทางการสื่อสารได้หากไม่มีการสร้างความตระหนักรู้ทางด้าน วัฒนธรรม (cultural awareness) และผลกระทบทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อ กระบวนการและพฤติกรรมในการสื่อสารใน สังคมนั้น ๆ (จุฑาพรรธ์ ผดุงชีวิต, 2551, หน้า 46)
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ในการจัดการข้ามวัฒนธรรม การสื่อสารถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญ เนื่องจากต้องมี การติดต่อธุรกิจ กับนักธุรกิจต่างประเทศ จาเป็นต้องมีการสื่อสารทั้งวัจนภาษา และอวัจนภาษา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ที่ทางานธุรกิจควรต้องมีความสามารถในการ สื่อสารอย่างมาก ซึ่งการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม คือ สถานการณ์ใด ๆ ก็ตามที่บุคคล จากต่างภูมิหลังหรือพื้นเพทางวัฒนธรรมทาการติอต่อสื่อสารกัน ดังนั้นความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural differences or cultural diversity)ไม่ว่าจะเป็นภูมิหลัง ประสบการณ์ แนวคิด โลกทัศน์ การใช้ภาษาหรือ อวัจนภาษา และสมมุติฐานต่าง ๆ ในการตีความ ประสบการณ์ในชีวิตในบริบทต่าง ๆ นั้นอาจก่อให้เกิดปัญหาทางการสื่อสารได้หากไม่มี การสร้างความตระหนักรู้ทางด้านวัฒนธรรม(cultural awareness)และ ผลกระทบทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อกระบวนการและพฤติกรรมในการสื่อสารใน สังคม นั้น ๆ
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. ภาษาหมายถึงอะไร 2. วัจนภาษาหมายถึงอะไร 3. อวัจนภาษาหมายถึงอะไร 4. จงบอกความหมายของการสื่อสาร 5. จงบอกองค์ประกอบของการสื่อสาร 6. เกณฑ์ความแตกต่างระหว่างผู้ส่งสารและรับสารยังมีอะไรอีกบ้าง 7. ระหว่างนักท่องเที่ยวกับผู้ให้บริการถือเป็นการสื่อสารประเภทใด 8. นิสิตคิดว่าระหว่างนักท่องเที่ยวกับผู้ให้บริการวัจนภาษาหรืออวัจนภาษามีความสาคัญ มากกว่ากัน 9. การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมคืออะไร 10. นิสิตคิดว่าอะไรเป็นอุปสรรคของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม