SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม
ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง
การศึกษาเท่านั้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนซึ่งมีความร่วมมือกันด้าน
ต่าง ๆ เช่น ความร่วมมือทางการเมือง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ความร่วมมือ
เฉพาะด้าน ดังนั้นในบทนี้ผู้เขียนขอนาข้อมูลทั่วไป ของประเทศแถบเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ เพื่อการปรับตัวและเรียนรู้ก่อนและเข้าใจประเทศเพื่อนบ้านของเรา เพื่อ
นาไปสู่การเรียนรู้วัฒนธรรมการจัดการข้ามชาติต่อไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความสาคัญทางภูมิศาสตร ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยส่วน
ที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่และพื้นน้า ส่วนที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ประกอบด้วยเทือกเขา 3
เทือก คือ เทือกเขาอาระกัน เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาแอนนาไมท์หรืออันนัม ซึ่ง
เป็นแหล่งกาเนิดของแม่น้าสาคัญ คือ แม่น้าอิระวดี แม่น้าสาละวิน แม่น้าเจ้าพระยา
และแม่น้าแดง เป็นเส้นทางการคมนาคมการค้าและการดารงชีวิต บริเวณเทือกเขา
ยังมีป่าไม้และแร่ธาตุมาก รวมทั้งเป็นพรมแดนธรรมชาติ ในส่วนพื้นน้า มีช่องแคบ
หลายแห่งที่เป็นเส้นทางสาคัญในการเดินเรือ เช่น ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา
ช่องแคบลอมบอก (โสภณ น้อยจันทร์, 2552)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความสาคัญทางการเมือง ในอดีตดินแดนแห่งนี้เป็นแหล่งยุทธศาสตร์ที่
สาคัญโดยเฉพาะช่องแคบมะละกา เป็นเส้นทางการค้าทางทะเลที่เรือชาติต่าง ๆต้อง
แล่นผ่านและ แวะจอดที่เมือง มะละกา ซึ่งเป็นเมืองท่าริมฝั่งของเส้นทางไปมา
ค้าขายระหว่างจีนและอินเดีย ผู้ใดมีอานาจเหนือเมืองมะละกา จะสามารถแผ่ขยาย
อิทธิพลทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ จนเข้าครอบงาบริเวณรัฐ ต่างๆ ในหมู่เกาะ
เช่น ประเทศจีนสมัยราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1408-1644) เมื่อ ค.ศ.1403 กอง
เรือจีนเดินทางจากจีนมามะละกาและแสดงความมีอานาจของจีนเหนือช่องแคบ มะ
ละกาในช่วงค.ศ.1408 -1431 จีนได้ยกทัพเรือมาถึง 7 ครั้ง เพื่อบังคับให้รัฐ
ต่าง ๆ แถบนี้ยอมรับอานาจของจีน (โสภณ น้อยจันทร์, 2552)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 สมัยที่ชาวตะวันตกเข้ามายังดินแดนนี้ดินแดนนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สาคัญ ของการ
แข่งขันและแย่งชิง แต่ละประเทศต่างมีจุดมุ่งหมายในการเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ
ทั้งฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โปรตุเกส ฮอลันดา ต่างมีอาณานิคมในภูมิภาคนี้
และเมื่อญี่ปุ่นพัฒนาตนเองเป็นประเทศมหาอานาจก็เข้ายึดครองเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภูมิภาคนี้เป็นแหล่งเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ และ
เข้าช่วงชิงอานาจกันระหว่างโลกเสรี และค่ายคอมมิวนิสต์ จนเกิดเป็นสงครามอินโด
จีนนานนับสิบปี (โสภณ น้อยจันทร์ ,2552)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความสาคัญด้านทรัพยากรธรรมชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เป็นแหล่งอุดมด้านทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากเป็นเขตลมมรสุมและมีแม่น้าที่
สาคัญหลายสาย เหมาะสมแก่การเพาะปลูก มีพืชพรรณธรรมชาติเขตร้อนชื้น
มากมาย มีผลไม้หลากหลายตลอดทั้งปีเป็นแหล่งแร่ธาตุ มีเครื่องเทศซึ่งเป็นสินค้าที่
ช่วงชิงกันในหมู่ประเทศจักรวรรดินิยมตะวันตก ปัจจุบันประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ยังคงเป็นแหล่งพืชผลเมืองร้อนที่สาคัญ โดยเฉพาะข้าวเจ้า เป็น
สินค้าออกชั้นนาของโลกจากลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าแดง แม่น้าอิระวดี แม่น้า
สาระวินรวมทั้งบริเวณรอบทะเลสาบเขมร (โสภณ น้อยจันทร์ ,2552)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความสาคัญทางด้านสังคมและวัฒนธรรม เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้เป็นแหล่งที่มี อารยธรรมและวัฒนธรรมดั้งเดิมของโลก แห่งหนึ่ง เริ่มตั้งแต่
สมัยหินแล้วพัฒนาความเจริญและวัฒนธรรมของตนให้ก้าวหน้าขึ้นเรื่อย ๆ เช่น
วัฒนธรรมดองซอนทางด้านการเกษตรมีพัฒนาการการทานาแบบนาดาเป็นที่แรก
ของโลก ในบริเวณบ้านเชียงเป็นแหล่งกาเนิดการปลูกข้าว เมื่อ 5,600 ปีมาแล้ว มี
การทานาระบบกักเก็บน้า มีระบบชลประทานที่ก้าวหน้า รู้จักใช้วัวควาย ไถนาและมี
ความชานาญด้านการเดินเรือ (โสภณ น้อยจันทร์ ,2552)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 นาเสนอข้อมูลพื้นฐานของประเทศเพื่อนบ้านเพื่อการทาความเข้าใจในประวัติศาสตร์
ความเป็นมาของชนชาติ ลักษณะของภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ศาสนา ประเพณี ความ
เชื่อ ค่านิยม ระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สภาพสังคม วัฒนธรรม ระบบ
การศึกษา เทคโนโลยีหรือภูมิปัญญาที่ใช้ตลอดจนประวัติศาสตร์การถูกรุกรานหรือ
ครอบครองประเทศในอาณานิคม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่า "เนการาบรูไนดารุสซาลาม"
เมืองหลวง : เมืองหลวงชื่อ “บันดาร์เสรีเบกาวัน”
พื้นที่ : บรูไนเป็นประเทศที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก มีพื้นที่ประมาณ 5,765 ตาราง
กิโลเมตร
ภาษา : ใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน
ประชากร : 381,371 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550)
นับถือศาสนา : ศาสนาอิสลาม
ระบบการปกครอง : ปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็นประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับ
ประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศตะวันตก
พื้นที่ : มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของ
ประเทศไทย
ภาษา : ใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ แต่ก็มีหลายคนที่พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส
และเวียดนามได้
ประชากร : ประชากร 14 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรกว่า
80% อาศัยอยู่ในชนบท 95%
นับถือศาสนา : นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็น
ประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ จาการ์ตา ถือเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดใน
โลก
พื้นที่ : มีพื้นที่ 1,919,440 ตารางกิโลเมตร
ภาษา : ใช้ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ
ประชากร : มีประชากรมากถึง 240 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) โดย
61% อาศัยอยู่บนเกาะชวา
นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม
ระบบการปกครอง : -
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ เวียงจันทน์ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก
พื้นที่ : โดยประเทศลาวมีพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย คือ 236,800
ตารางกิโลเมตร พื้นที่กว่า 90% เป็นภูเขาและที่ราบสูง และไม่มีพื้นที่ส่วนใดติดทะเล
ภาษา : ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก แต่ก็มีคนที่พูดภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ
ภาษาฝรั่งเศสได้
ประชากร : โดยมีประชากร 6.4 ล้านคน
นับถือศาสนา : ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ระบบการปกครอง : ปัจจุบันปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงกัวลาลัมเปอร์
พื้นที่ : เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร แบ่งเป็นมาเลเซียตะวันตกบนคาบสมุทร
มลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งประเทศมีพื้นที่ 329,758
ตารางกิโลเมตร
ภาษา : ใช้ภาษา Bahasa Melayu เป็นภาษาราชการ
ประชากร : จานวนประชากร 26.24 ล้านคน
นับถือศาสนา : นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ
ระบบการปกครอง : ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงมะนิลา ประกอบด้วยเกาะขนาดต่าง ๆ รวม
7,107 เกาะ
 พื้นที่ : โดยมีพื้นที่ดิน 298.170 ตารางกิโลเมตร
 ภาษา : มีการใช้ภาษาในประเทศมากถึง 170 ภาษา แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และ
ภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ
 ประชากร : มีประชากร 92 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553)
 นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ และเป็นประเทศที่มีประชากร
นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก
 ระบบการปกครอง : -
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงสิงคโปร์
 พื้นที่ : ตั้งอยู่บนตาแหน่งยุทธศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางเรือของ
อาเซียน จึงเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุดในย่านนี้แม้จะมี
พื้นที่ราว 699 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น
 ภาษา : ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ แต่มีภาษามาเลย์เป็นภาษาประจา
ชาติ
 ประชากร : มีประชากร 4.48 ล้านคนนับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาคริสต์ และเป็นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
เป็นอันดับ 4 ของโลก
 ระบบการปกครอง : ปัจจุบันใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐ
(ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของ
ประเทศ
 เมืองหลวง : เมืองหลวงคือกรุงเทพมหานคร
 พื้นที่ : มีพื้นที่ 513,115.02 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 77 จังหวัด
 ภาษา : ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ
 ประชากร : มีประชากร 65.4 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553)
 นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
 ระบบการปกครอง : ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมี
พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของประเทศ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย
 พื้นที่ : มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร
 ภาษา : มีการใช้ภาษาในประเทศมากถึง 170 ภาษา แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และ
ภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ
 ประชากร : จากการสารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88
ล้านคน ประมาณ 25% อาศัยอยู่ในเขตเมือง
 นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ที่
เหลือนับถือศาสนาคริสต์
 ระบบการปกครอง : ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก
 พื้นที่ : โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร
 ภาษา : ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ
 ประชากร : -
 นับถือศาสนา : กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท หรือหินยาน
 ระบบการปกครอง :
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประเทศเพื่อนบ้านของไทยประกอบไปด้วย 10 ประเทศในสมาชิกประชาคม
อาเซียน นอกจากนี้อาจจะขยายความเข้าใจไปถึงประเทศในเอเชียใต้ได้แก่ ประเทศ
อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์อีกด้วย โดยเฉพาะประเทศ
อินเดียกาลังถูกจับตามองจากทั่วโลก ว่ามีศักยภาพในการแข่งขันที่พอ ๆ กับประเทศ
จีน โดยเฉพาะในเรื่องของศักยภาพของความเจริญด้านระบบสารสนเทศหรือไอที
ความพร้อมในเรื่องของการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงที่มีความเจริญก้าวหน้าเคียงคู่หรือบางอย่างได้
เจริญก้าวหน้า หรือล้าหน้ากว่าประเทศไทยไปค่อนข้างมาก ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์
และมาเลเซีย ดังที่ อานาญ เจริญศิลป์ (2540 อ้างอิงใน ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะ
วิเชตร์, 2554, หน้า 309) ได้กล่าวว่า ด้วยประเทศสิงคโปร์มีพื้นที่น้อย จึงมีการ
พัฒนาเทคโนโลยี มาดัดแปลงสร้างอาคารสถานที่และ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด รวมทั้งการปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ประหยัด แบบชาวจีน จึงทา
ให้ประเทศสิงคโปร์มีความเจริญก้าวหน้าเป็นที่ยอมรับระดับนานาชาติ ส่วนประเทศ
มาเลเซีย ด้วยอิทธิพลของประเทศอังกฤษที่เคยครอบครองมาเลเซีย และมีการ
พัฒนาและสร้างความเจริญให้กับมาเลเซียค่อนข้างมาก ต่อมาได้มีชาวจีน ชาว
อินเดียได้อพยพเข้าไปตั้งรกราก จึงได้ร่วมกันกับชาวพื้นเมืองมาเลย์ในการพัฒนา
ประเทศให้เจริญก้าวหน้า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ส่วนประเทศใกล้เคียง เช่น พม่าหรือเมียนมาร์ อาจเพราะพม่ายังคงมีระบบการปกครอง ที่
เป็นการปกครองโดยรัฐบาลทหาร จึงทาให้เป็นประเทศที่ยังคงปิดอยู่และไม่ได้รับการรับรอง
จากนานาชาติเท่าที่ควร ส่วนประเทศลาวนั้นถึงจะมีการปกครองแบบสังคมนิยม แต่
ลักษณะวัฒนธรรมบางอย่างใกล้เคียงกับประเทศไทยเป็นอย่างมาก เช่น ภาษา (ที่มีความ
ใกล้เคียงกับภาษาถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ) ศาสนา ประเพณี ขณะนี้
ก็ได้มีการพัฒนาให้มีความเจริญด้านวัตถุเป็นอย่างมากเช่นกัน ส่วนประเทศกัมพูชา ได้ผ่าน
สภาวะของศึกสงครามภายในประเทศ บ้านเมืองมีความสงบและมีการสถาปนาระบบ
กษัตริย์ขึ้นมาใหม่ ทาให้บ้านเมืองในขณะมีการพัฒนาไปอย่างมากเช่นกัน ในขณะนี้ได้เริ่ม
มีการศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยและ มีข้อมูลที่ปรากฏเผยแพร่ในเว๊ปไซต์ ถึงศักยภาพของ
ประเทศเพื่อนบ้านของไทย โดยเฉพาะประเทศเวียดนาม ซึ่งกาลังมีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
อย่างต่อเนื่อง หลังการปิดประเทศ และเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) มี
การเชิญชวนให้นักลงทุนจากต่างประเทศไปลงทุนอย่างมากมาย เช่น ประเทศเกาหลี
สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ไทย จีน ฯลฯ และด้วยความเด็ดขาดในการปกครองที่ยังเป็นลักษณะ
ของสังคมนิยม ทาให้ประเทศเวียดนามสามารถควบคุมประชาชนของตนได้ในระดับที่ดี
(ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์, 2554, หน้า 309-310)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ประเทศเพื่อนบ้านของไทยส่วนใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกับประเทศไทยในเรื่อง
ปัจจัย ที่ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมที่คล้าย ๆ กันในด้านการดารงชีวิตของผู้คนในสังคมในแถบ
โลกตะวันออก ได้แก่ประวัติศาสตร์ความเป็นชาติพันธุ์การมีศูนย์รวมจิตใจคือพระมหากษัตริย์
หรือบทบาทของผู้นา หลักคาสอนทางศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพุทธ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
ค่านิยม ประเพณี เป็นต้น แต่บางประเทศเพื่อนบ้านและประเทศไทยก็อาจมีความแตกต่างกัน
ในเรื่อง บางเรื่อง เช่น การเมือง ระบอบการปกครอง หรือภาษา ซึ่งในเรื่องการเมืองนั้น ประเทศ
เพื่อนบ้านบางประเทศยังมีการปกครองแบบสังคมนิยมไม่ได้เป็นประชาธิปไตย ทั้งนี้ด้วย
สาเหตุของการเกิดข้อพิพาททางการเมืองการปกครองหรือการถูกครอบครองโดยจักรวรรดินิยม
มาก่อน
ดังนั้นเมื่อเกิดการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียน เราจึงมีความจาเป็นที่จะต้องตื่นตัว
เรียนรู้และทาความเข้าใจ ในสังคมและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้ประสบ
ความสาเร็จ ในการดาเนินธุรกิจในอนาคตต่อไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. จงอธิบายสภาพทั่วไปของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
2. คาว่า “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ถูกเริ่มใช่เมื่อไร โดยใคร
3. จงอธิบายสภาพสังคมของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
4. จงบอกความสาคัญของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้านต่าง ๆ
5. ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนประกอบด้วยประเทศอะไรบ้าง
6. ประเทศใดใน 10 ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนที่ปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิ
ราช โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
7. ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนปะกอบด้วยประเทศอะไรบ้าง
8. สามประชาคมย่อย ของประชาคมอาเซียนประกอบด้วยอะไรบ้าง
9. สาเหตุของการเกิดประชาคมอาเซียนคืออะไร
10. ในอนาคตเมื่อประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนท่านคิดว่าท่านจะได้
ประโยชน์อย่างไร

More Related Content

What's hot

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]
tualumnioff
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
peter dontoom
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
Pisan Chueachatchai
 

What's hot (6)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]
 
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตยระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 

Similar to Chapter 3 general knowledge about southeast asia

โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
Sasitorn Sangpinit
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
Taraya Srivilas
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศรู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
jitrada_noi
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
Kunkullsatree
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Thanamon Bannarat
 
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10
toeyislove
 
สุจิตรา อารีรักษ์
สุจิตรา อารีรักษ์สุจิตรา อารีรักษ์
สุจิตรา อารีรักษ์
katai_kt
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
Taraya Srivilas
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
peye1991
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
peye1991
 
นิสากร รินสันเทียะ
นิสากร รินสันเทียะนิสากร รินสันเทียะ
นิสากร รินสันเทียะ
katai_kt
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
Chantana Papattha
 
นางสาวบุณฑริกา รักภูธร
นางสาวบุณฑริกา รักภูธรนางสาวบุณฑริกา รักภูธร
นางสาวบุณฑริกา รักภูธร
bamboontarika
 
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียนเรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
Kan 'Zied
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
Dp' Warissara
 
โครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียนโครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียน
msntomon2
 
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์  อาจเปี่ยมศิริลักษ์  อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
Mew12321
 

Similar to Chapter 3 general knowledge about southeast asia (20)

โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศรู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
 
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10
 
สุจิตรา อารีรักษ์
สุจิตรา อารีรักษ์สุจิตรา อารีรักษ์
สุจิตรา อารีรักษ์
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 
นิสากร รินสันเทียะ
นิสากร รินสันเทียะนิสากร รินสันเทียะ
นิสากร รินสันเทียะ
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
 
Bdc412ฟิลิปปินส์
Bdc412ฟิลิปปินส์Bdc412ฟิลิปปินส์
Bdc412ฟิลิปปินส์
 
นางสาวบุณฑริกา รักภูธร
นางสาวบุณฑริกา รักภูธรนางสาวบุณฑริกา รักภูธร
นางสาวบุณฑริกา รักภูธร
 
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียนเรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
 
โครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียนโครงงานอาเซียน
โครงงานอาเซียน
 
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์  อาจเปี่ยมศิริลักษ์  อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
 

More from Teetut Tresirichod

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

Chapter 3 general knowledge about southeast asia

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง การศึกษาเท่านั้น
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนซึ่งมีความร่วมมือกันด้าน ต่าง ๆ เช่น ความร่วมมือทางการเมือง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ความร่วมมือ เฉพาะด้าน ดังนั้นในบทนี้ผู้เขียนขอนาข้อมูลทั่วไป ของประเทศแถบเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เพื่อการปรับตัวและเรียนรู้ก่อนและเข้าใจประเทศเพื่อนบ้านของเรา เพื่อ นาไปสู่การเรียนรู้วัฒนธรรมการจัดการข้ามชาติต่อไป
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความสาคัญทางภูมิศาสตร ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยส่วน ที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่และพื้นน้า ส่วนที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ประกอบด้วยเทือกเขา 3 เทือก คือ เทือกเขาอาระกัน เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาแอนนาไมท์หรืออันนัม ซึ่ง เป็นแหล่งกาเนิดของแม่น้าสาคัญ คือ แม่น้าอิระวดี แม่น้าสาละวิน แม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าแดง เป็นเส้นทางการคมนาคมการค้าและการดารงชีวิต บริเวณเทือกเขา ยังมีป่าไม้และแร่ธาตุมาก รวมทั้งเป็นพรมแดนธรรมชาติ ในส่วนพื้นน้า มีช่องแคบ หลายแห่งที่เป็นเส้นทางสาคัญในการเดินเรือ เช่น ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา ช่องแคบลอมบอก (โสภณ น้อยจันทร์, 2552)
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความสาคัญทางการเมือง ในอดีตดินแดนแห่งนี้เป็นแหล่งยุทธศาสตร์ที่ สาคัญโดยเฉพาะช่องแคบมะละกา เป็นเส้นทางการค้าทางทะเลที่เรือชาติต่าง ๆต้อง แล่นผ่านและ แวะจอดที่เมือง มะละกา ซึ่งเป็นเมืองท่าริมฝั่งของเส้นทางไปมา ค้าขายระหว่างจีนและอินเดีย ผู้ใดมีอานาจเหนือเมืองมะละกา จะสามารถแผ่ขยาย อิทธิพลทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ จนเข้าครอบงาบริเวณรัฐ ต่างๆ ในหมู่เกาะ เช่น ประเทศจีนสมัยราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1408-1644) เมื่อ ค.ศ.1403 กอง เรือจีนเดินทางจากจีนมามะละกาและแสดงความมีอานาจของจีนเหนือช่องแคบ มะ ละกาในช่วงค.ศ.1408 -1431 จีนได้ยกทัพเรือมาถึง 7 ครั้ง เพื่อบังคับให้รัฐ ต่าง ๆ แถบนี้ยอมรับอานาจของจีน (โสภณ น้อยจันทร์, 2552)
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  สมัยที่ชาวตะวันตกเข้ามายังดินแดนนี้ดินแดนนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สาคัญ ของการ แข่งขันและแย่งชิง แต่ละประเทศต่างมีจุดมุ่งหมายในการเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ ทั้งฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โปรตุเกส ฮอลันดา ต่างมีอาณานิคมในภูมิภาคนี้ และเมื่อญี่ปุ่นพัฒนาตนเองเป็นประเทศมหาอานาจก็เข้ายึดครองเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภูมิภาคนี้เป็นแหล่งเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ และ เข้าช่วงชิงอานาจกันระหว่างโลกเสรี และค่ายคอมมิวนิสต์ จนเกิดเป็นสงครามอินโด จีนนานนับสิบปี (โสภณ น้อยจันทร์ ,2552)
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความสาคัญด้านทรัพยากรธรรมชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นแหล่งอุดมด้านทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากเป็นเขตลมมรสุมและมีแม่น้าที่ สาคัญหลายสาย เหมาะสมแก่การเพาะปลูก มีพืชพรรณธรรมชาติเขตร้อนชื้น มากมาย มีผลไม้หลากหลายตลอดทั้งปีเป็นแหล่งแร่ธาตุ มีเครื่องเทศซึ่งเป็นสินค้าที่ ช่วงชิงกันในหมู่ประเทศจักรวรรดินิยมตะวันตก ปัจจุบันประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ยังคงเป็นแหล่งพืชผลเมืองร้อนที่สาคัญ โดยเฉพาะข้าวเจ้า เป็น สินค้าออกชั้นนาของโลกจากลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าแดง แม่น้าอิระวดี แม่น้า สาระวินรวมทั้งบริเวณรอบทะเลสาบเขมร (โสภณ น้อยจันทร์ ,2552)
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความสาคัญทางด้านสังคมและวัฒนธรรม เอเชียตะวันออก เฉียงใต้เป็นแหล่งที่มี อารยธรรมและวัฒนธรรมดั้งเดิมของโลก แห่งหนึ่ง เริ่มตั้งแต่ สมัยหินแล้วพัฒนาความเจริญและวัฒนธรรมของตนให้ก้าวหน้าขึ้นเรื่อย ๆ เช่น วัฒนธรรมดองซอนทางด้านการเกษตรมีพัฒนาการการทานาแบบนาดาเป็นที่แรก ของโลก ในบริเวณบ้านเชียงเป็นแหล่งกาเนิดการปลูกข้าว เมื่อ 5,600 ปีมาแล้ว มี การทานาระบบกักเก็บน้า มีระบบชลประทานที่ก้าวหน้า รู้จักใช้วัวควาย ไถนาและมี ความชานาญด้านการเดินเรือ (โสภณ น้อยจันทร์ ,2552)
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  นาเสนอข้อมูลพื้นฐานของประเทศเพื่อนบ้านเพื่อการทาความเข้าใจในประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชนชาติ ลักษณะของภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ศาสนา ประเพณี ความ เชื่อ ค่านิยม ระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สภาพสังคม วัฒนธรรม ระบบ การศึกษา เทคโนโลยีหรือภูมิปัญญาที่ใช้ตลอดจนประวัติศาสตร์การถูกรุกรานหรือ ครอบครองประเทศในอาณานิคม
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่า "เนการาบรูไนดารุสซาลาม" เมืองหลวง : เมืองหลวงชื่อ “บันดาร์เสรีเบกาวัน” พื้นที่ : บรูไนเป็นประเทศที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก มีพื้นที่ประมาณ 5,765 ตาราง กิโลเมตร ภาษา : ใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน ประชากร : 381,371 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) นับถือศาสนา : ศาสนาอิสลาม ระบบการปกครอง : ปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็นประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศตะวันตก พื้นที่ : มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของ ประเทศไทย ภาษา : ใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ แต่ก็มีหลายคนที่พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเวียดนามได้ ประชากร : ประชากร 14 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรกว่า 80% อาศัยอยู่ในชนบท 95% นับถือศาสนา : นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ จาการ์ตา ถือเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดใน โลก พื้นที่ : มีพื้นที่ 1,919,440 ตารางกิโลเมตร ภาษา : ใช้ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ ประชากร : มีประชากรมากถึง 240 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) โดย 61% อาศัยอยู่บนเกาะชวา นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ระบบการปกครอง : -
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ เวียงจันทน์ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก พื้นที่ : โดยประเทศลาวมีพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย คือ 236,800 ตารางกิโลเมตร พื้นที่กว่า 90% เป็นภูเขาและที่ราบสูง และไม่มีพื้นที่ส่วนใดติดทะเล ภาษา : ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก แต่ก็มีคนที่พูดภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ ภาษาฝรั่งเศสได้ ประชากร : โดยมีประชากร 6.4 ล้านคน นับถือศาสนา : ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ระบบการปกครอง : ปัจจุบันปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ พื้นที่ : เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร แบ่งเป็นมาเลเซียตะวันตกบนคาบสมุทร มลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งประเทศมีพื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร ภาษา : ใช้ภาษา Bahasa Melayu เป็นภาษาราชการ ประชากร : จานวนประชากร 26.24 ล้านคน นับถือศาสนา : นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ระบบการปกครอง : ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงมะนิลา ประกอบด้วยเกาะขนาดต่าง ๆ รวม 7,107 เกาะ  พื้นที่ : โดยมีพื้นที่ดิน 298.170 ตารางกิโลเมตร  ภาษา : มีการใช้ภาษาในประเทศมากถึง 170 ภาษา แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และ ภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ  ประชากร : มีประชากร 92 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553)  นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ และเป็นประเทศที่มีประชากร นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก  ระบบการปกครอง : -
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงสิงคโปร์  พื้นที่ : ตั้งอยู่บนตาแหน่งยุทธศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางเรือของ อาเซียน จึงเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุดในย่านนี้แม้จะมี พื้นที่ราว 699 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น  ภาษา : ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ แต่มีภาษามาเลย์เป็นภาษาประจา ชาติ  ประชากร : มีประชากร 4.48 ล้านคนนับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาคริสต์ และเป็นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เป็นอันดับ 4 ของโลก  ระบบการปกครอง : ปัจจุบันใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว)
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของ ประเทศ  เมืองหลวง : เมืองหลวงคือกรุงเทพมหานคร  พื้นที่ : มีพื้นที่ 513,115.02 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 77 จังหวัด  ภาษา : ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ  ประชากร : มีประชากร 65.4 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553)  นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ  ระบบการปกครอง : ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมี พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของประเทศ
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย  พื้นที่ : มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร  ภาษา : มีการใช้ภาษาในประเทศมากถึง 170 ภาษา แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และ ภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ  ประชากร : จากการสารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25% อาศัยอยู่ในเขตเมือง  นับถือศาสนา : ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ที่ เหลือนับถือศาสนาคริสต์  ระบบการปกครอง : ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เมืองหลวง : เมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก  พื้นที่ : โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร  ภาษา : ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ  ประชากร : -  นับถือศาสนา : กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท หรือหินยาน  ระบบการปกครอง :
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประเทศเพื่อนบ้านของไทยประกอบไปด้วย 10 ประเทศในสมาชิกประชาคม อาเซียน นอกจากนี้อาจจะขยายความเข้าใจไปถึงประเทศในเอเชียใต้ได้แก่ ประเทศ อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์อีกด้วย โดยเฉพาะประเทศ อินเดียกาลังถูกจับตามองจากทั่วโลก ว่ามีศักยภาพในการแข่งขันที่พอ ๆ กับประเทศ จีน โดยเฉพาะในเรื่องของศักยภาพของความเจริญด้านระบบสารสนเทศหรือไอที ความพร้อมในเรื่องของการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงที่มีความเจริญก้าวหน้าเคียงคู่หรือบางอย่างได้ เจริญก้าวหน้า หรือล้าหน้ากว่าประเทศไทยไปค่อนข้างมาก ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ และมาเลเซีย ดังที่ อานาญ เจริญศิลป์ (2540 อ้างอิงใน ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะ วิเชตร์, 2554, หน้า 309) ได้กล่าวว่า ด้วยประเทศสิงคโปร์มีพื้นที่น้อย จึงมีการ พัฒนาเทคโนโลยี มาดัดแปลงสร้างอาคารสถานที่และ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิด ประโยชน์สูงสุด รวมทั้งการปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ประหยัด แบบชาวจีน จึงทา ให้ประเทศสิงคโปร์มีความเจริญก้าวหน้าเป็นที่ยอมรับระดับนานาชาติ ส่วนประเทศ มาเลเซีย ด้วยอิทธิพลของประเทศอังกฤษที่เคยครอบครองมาเลเซีย และมีการ พัฒนาและสร้างความเจริญให้กับมาเลเซียค่อนข้างมาก ต่อมาได้มีชาวจีน ชาว อินเดียได้อพยพเข้าไปตั้งรกราก จึงได้ร่วมกันกับชาวพื้นเมืองมาเลย์ในการพัฒนา ประเทศให้เจริญก้าวหน้า
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ส่วนประเทศใกล้เคียง เช่น พม่าหรือเมียนมาร์ อาจเพราะพม่ายังคงมีระบบการปกครอง ที่ เป็นการปกครองโดยรัฐบาลทหาร จึงทาให้เป็นประเทศที่ยังคงปิดอยู่และไม่ได้รับการรับรอง จากนานาชาติเท่าที่ควร ส่วนประเทศลาวนั้นถึงจะมีการปกครองแบบสังคมนิยม แต่ ลักษณะวัฒนธรรมบางอย่างใกล้เคียงกับประเทศไทยเป็นอย่างมาก เช่น ภาษา (ที่มีความ ใกล้เคียงกับภาษาถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ) ศาสนา ประเพณี ขณะนี้ ก็ได้มีการพัฒนาให้มีความเจริญด้านวัตถุเป็นอย่างมากเช่นกัน ส่วนประเทศกัมพูชา ได้ผ่าน สภาวะของศึกสงครามภายในประเทศ บ้านเมืองมีความสงบและมีการสถาปนาระบบ กษัตริย์ขึ้นมาใหม่ ทาให้บ้านเมืองในขณะมีการพัฒนาไปอย่างมากเช่นกัน ในขณะนี้ได้เริ่ม มีการศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยและ มีข้อมูลที่ปรากฏเผยแพร่ในเว๊ปไซต์ ถึงศักยภาพของ ประเทศเพื่อนบ้านของไทย โดยเฉพาะประเทศเวียดนาม ซึ่งกาลังมีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง หลังการปิดประเทศ และเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) มี การเชิญชวนให้นักลงทุนจากต่างประเทศไปลงทุนอย่างมากมาย เช่น ประเทศเกาหลี สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ไทย จีน ฯลฯ และด้วยความเด็ดขาดในการปกครองที่ยังเป็นลักษณะ ของสังคมนิยม ทาให้ประเทศเวียดนามสามารถควบคุมประชาชนของตนได้ในระดับที่ดี (ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์, 2554, หน้า 309-310)
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ประเทศเพื่อนบ้านของไทยส่วนใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกับประเทศไทยในเรื่อง ปัจจัย ที่ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมที่คล้าย ๆ กันในด้านการดารงชีวิตของผู้คนในสังคมในแถบ โลกตะวันออก ได้แก่ประวัติศาสตร์ความเป็นชาติพันธุ์การมีศูนย์รวมจิตใจคือพระมหากษัตริย์ หรือบทบาทของผู้นา หลักคาสอนทางศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพุทธ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ค่านิยม ประเพณี เป็นต้น แต่บางประเทศเพื่อนบ้านและประเทศไทยก็อาจมีความแตกต่างกัน ในเรื่อง บางเรื่อง เช่น การเมือง ระบอบการปกครอง หรือภาษา ซึ่งในเรื่องการเมืองนั้น ประเทศ เพื่อนบ้านบางประเทศยังมีการปกครองแบบสังคมนิยมไม่ได้เป็นประชาธิปไตย ทั้งนี้ด้วย สาเหตุของการเกิดข้อพิพาททางการเมืองการปกครองหรือการถูกครอบครองโดยจักรวรรดินิยม มาก่อน ดังนั้นเมื่อเกิดการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียน เราจึงมีความจาเป็นที่จะต้องตื่นตัว เรียนรู้และทาความเข้าใจ ในสังคมและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้ประสบ ความสาเร็จ ในการดาเนินธุรกิจในอนาคตต่อไป
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. จงอธิบายสภาพทั่วไปของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 2. คาว่า “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ถูกเริ่มใช่เมื่อไร โดยใคร 3. จงอธิบายสภาพสังคมของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 4. จงบอกความสาคัญของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้านต่าง ๆ 5. ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนประกอบด้วยประเทศอะไรบ้าง 6. ประเทศใดใน 10 ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนที่ปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิ ราช โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 7. ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนปะกอบด้วยประเทศอะไรบ้าง 8. สามประชาคมย่อย ของประชาคมอาเซียนประกอบด้วยอะไรบ้าง 9. สาเหตุของการเกิดประชาคมอาเซียนคืออะไร 10. ในอนาคตเมื่อประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนท่านคิดว่าท่านจะได้ ประโยชน์อย่างไร