SlideShare a Scribd company logo
โดยได้รับพระบรมราชานุญาต




ปีที่ 33 ฉบับที่ 4   ตุลาคม-ธันวาคม 2555 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11
ความฝันอันสูงสุด
ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ
ขอสู้ศึกทุกเมื่อไม่หวั่นไหว
ขอทนทุกข์รุกโรมโหมกายใจ
ขอฝ่าฟันผองภัยด้วยใจทะนง

	      จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด
	      จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง
	      จะยอมตายหมายให้เกียรติดำรง
	      จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา

ไม่ท้อถอยคอยสร้างสิ่งที่ควร
ไม่เรรวนพะว้าพะวังคิดกังขา
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา
ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป

	      นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง
	      หมายผดุงยุติธรรมอันสดใส
	      ถึงทนทุกข์ทรมานนานเท่าใด
	      ยังมั่นใจรักชาติองอาจครัน

โลกมนุษย์ย่อมจะดีกว่านี้แน่
เพราะมีผู้ไม่ยอมแพ้แม้ถูกหยัน
คงยืนหยัดสู้ไปใฝ่ประจัญ
ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย
ปีที่ 33 ฉบับที่ 4   ตุลาคม-ธันวาคม 2555   ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11




                      สารบัญ
บทความ

 2   พระผู้ทรงประทาน สืบสานยางพาราไทย

 8   113 ปียางพาราไทย จากยางพาราต้นแรกถึงปัจจุบัน


11   ใคร ?.. เปิดประตูยางพาราอีสาน


15   ความเสียหายจากการกรีดยางต้นเล็ก

33   เตือนภัยสวนยาง



ประจำฉบับ

28   สรุปสถานการณ์ราคายางพาราในไตรมาสที่ 3 ของปี
     พ.ศ. 2555 และแนวโน้มในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2555

ข่าวสถาบันวิจัยยาง
43   ย้ายข้าราชการ...
บทบรรณาธิการ
ยางพารา พืชประวัติศาสตร์คู่ชีวิตเกษตรกรไทย
	         “พื ช ที่ ส ำคั ญ ทางภาคใต้ คื อ ยางพารา ซึ่ ง ยางนี้ ก็          ไว้ ใ นวารสารฉบั บ นี้ นั บ จากยางต้ น แรกของแผ่ น ดิ น
ไปเกี่ ย วข้ อ งกั น หลายด้ า น เป็ น ต้ น ไม้ ก็ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ       สยามจวบจนการขยายเขตปลูกยางพาราสู่ดินแดนแห่ง
กรมป่าไม้ ซึ่งตามปกติก็ไม่ถือว่าเป็นเหมือนเรียกต้นไม้                       ความแห้ ง แล้ ง กั น ดารในอดี ต ของภาคตะวั น ออกเฉี ย ง
เพราะการยางเป็นผู้ศึกษาเรื่องของต้นยาง แต่ต้นยางก็                          เหนือมาสู่ความยั่งยืนในการประกอบอาชีพสวนยางใน
เป็ น ต้ น ไม้ เ หมื อ นกั น ฉะนั้ น กรมป่ า ไม้ แ ละการยางก็               ภูมิภาคนี้ ยางพาราจะมีส่วนในการเปลี่ยนดินแดนแถบ
ร่ ว มมื อ กั น ได้ นอกจากนั้ น การยางก็ จ ะต้ อ งเกี่ ย วกั บ              นี้ให้หวนกลับคืนสู่ความร่มรื่น ร่มเย็น และชุ่มฉ่ำไปด้วย
อุ ต สาหกรรมเหมื อ นกั น เพราะว่ า ถ้ า ได้ ย างแล้ ว ก็ ต้ อ ง             ฝน แม้ จ ะไม่ ส ามารถหวนกลั บ ความเป็ น ดงพญาเย็ น
ไปใช้ ป ระโยชน์ ป้ อ นโรงงานอุ ต สาหกรรม ฉะนั้ น ทั้ ง                      เช่นอดีต แต่ก็จะคลายความแห้งแล้งลง ไม่ต้องอพยพ
อุ ต สาหกรรมใหญ่ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมในครั ว เรื อ นก็ ต้ อ ง                 ทิ้ ง พื้ น ที่ ท ำกิ น เช่ น อดี ต ถ้ า พวกเราในพื้ น ที่ นี้ ช่ ว ยกั น
เกี่ยวข้องด้วย”                                                             อนุรักษ์ป่าไม้โดยน้อมนำพระราชกระแสรับสั่งไปปฏิบัติ
	         เนื่องในโอกาสมหามงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา                          	           เพื่อเป็นกำลังใจและสร้างจิตใจให้แข็งแกร่งสู้กับ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาล                            ปัญหาทั้งมวล โดยเฉพาะความโลภในใจตน สถาบันวิจัย
ที่ ๙ ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ สถาบันวิจัยยาง กรม                            ยางก็ได้น้อมนำเอาบทเพลง “ความฝันอันสูงสุด” มาเพื่อ
วิ ช าการเกษตร จึ ง ขออั ญ เชิ ญ พระราชกระแสรั บ สั่ ง                      ให้พวกเราชาวยางได้ยึดเป็นปณิธานแม้จะปิดทองหลัง
ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ขณะเสด็ จ พระราชดำเนิ น ตรวจเยี่ ย ม                 องค์ พ ระปฏิ ม าก็ ไ ม่ ท้ อ ถอย เฉกเช่ น รอยพระบาทที่
โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส                           พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ได้นำและ
กับนายสิทธิลาภ วสุวัต รองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน เมื่อ                         แสดงเป็นตัวอย่างให้พวกเราได้เทิดทูนไว้เหนือเกล้าแล้ว
วันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๖ ข้างต้น เพื่อบันทึกให้                          	           จะเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง ถ้าเกษตรกรชาว
อนุชนรุ่นหลังศึกษาพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้                          สวนยางไม่ ส ามารถเอาชนะใจตน เร่ ง กรี ด ยางต้ น เล็ ก
ต่อพสกนิกรชาวสวนยางเพื่อยึดถือเป็นแนวปฏิบัติทั้งใน                          นอกจากผลผลิ ต ไม่ ไ ด้ ต ามเป้ า หมายที่ ค วรได้ แต่ ก ลั บ
ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้ การดำเนินชีวิตในครัวเรือนตามแนว                       ทำให้ เ กิ ด ความเสี ย หายใหญ่ ห ลวงต่ อ ประเทศทั้ ง ในแง่
เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยางของ                            เศรษฐกิจและความเป็นป่าไม้ที่จะนำความชุ่มชี้นสู่แดน
ประเทศและอื่ นๆ อันเนื่องมาจากพระราชกระแสรับสั่ง                            อีสานอันเป็นที่รักยิ่งของพวกเราชาวไทยทั้งมวล
ที่ทุกคนควรน้อมนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ทั้งตนเองและ
ส่วนรวมสืบไป                                                                                                                 สุจินต์ แม้นเหมือน
	         ในโอกาสนี้ สถาบันวิจัยยางได้นำเอาเนื้อหาทาง                                                                                บรรณาธิการ
ประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับยางพาราบางส่วนมาบันทึก


   เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร สุจินต์ แม้นเหมือน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง
   บรรณาธิการ นายสุจินต์   แม้นเหมือน ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิการ เอนก กุณาละสิริ,
   พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์
   ไพรั ต น์ ทรงพานิ ช ผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สมจิ ต ต์ ศิ ข ริ น มาศ ผู้ ช่ ว ยผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จั ก รพงศ์
   อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง วราวุธ ชูธรรมธัช
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555       2


พระผู้ทรงประทาน สืบสานยางพาราไทย
สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร


	          เมื่ อ วั น ที่ 11 กั น ยายน พ.ศ. 2526 พระบาท                 พฤกษศาสตร์ Heneratgoda ประเทศศรี ลั ง กา ในปี
สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช รั ช กาลที่ 9             ต่ อ มาได้ ส่ ง ต้ น กล้ า ที่ โ ตแล้ ว จากประเทศศรี ลั ง กา
ทรงสนพระราชหฤทั ย ทางด้ า นยางพารา ทรงมี                                 จำนวน 22 ต้ น ไปปลู ก ที่ ส วนพฤกษศาสตร์ สิ ง คโปร์
พระราชกระแสรับสั่ง ขณะเสด็จพระราชดำเนินตรวจ                              13 ต้ น และอี ก 9 ต้ น ปลู ก หลั ง บ้ า นข้ า หลวงใหญ่
เยี่ยมโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัด                          อังกฤษ ที่กัวลากังซา รัฐเปรัค ประเทศมาเลเซีย ต้นยาง
นราธิ ว าส กั บ นายสิ ท ธิ ล าภ วสุ วั ต รองอธิ บ ดี ก รม                เหล่ า นี้ จึ ง เป็ น พ่ อ แม่ พั น ธุ์ ข องยางพาราที่ ป ลู ก กั น ใน
พั ฒ นาที่ ดิ น ในขณะนั้ น มี ค วามว่ า “พื ช ที่ ส ำคั ญ ทาง            เอเชียจวบจนทุกวันนี้
ภาคใต้ คื อ ยางพารา ซึ่ ง ยางนี้ ก็ ไ ปเกี่ ย วข้ อ งกั น หลาย           	        ในปี ร.ศ. 129 (พ.ศ. 2425) ในสมั ย พระบาท
ด้ า น เป็ น ต้ น ไม้ ก็ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กรมป่ า ไม้ ซึ่ ง ตามปกติ   สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ทรง
ก็ ไ ม่ ถื อ ว่ า เป็ น เหมื อ นเรี ย กต้ น ไม้ เพราะการยางเป็ น         จั ด การแสดงกสิ ก รรมแลพาณิ ช การโดยให้ ก ระทรวง
ผู้ศึกษาเรื่องของต้นยาง แต่ต้นยางก็เป็นต้นไม้เหมือน                      เกษตราธิการซึ่งมีสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชมกุฎราช
กั น ฉะนั้ น กรมป่ า ไม้ แ ละการยางก็ ร่ ว มมื อ กั น ได้                กุ ม ารเป็ น กิ ติ ม ศั ก ดิ น ายกในการจั ด แสดงกสิ ก รรม
นอกจากนั้ น การยางก็ จ ะต้ อ งเกี่ ย วกั บ อุ ต สาหกรรม                  แลพาณิ ช การและพระยาวงษานุ ป ระพั น ธ์ ซึ่ ง เป็ น
เหมือนกัน เพราะว่าถ้าได้ยางแล้วก็ต้องไปใช้ประโยชน์                       เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการร่วมจัดการในครั้งนี้   การ
ป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ฉะนั้น ทั้งอุตสาหกรรมใหญ่                           จั ด แสดงกสิ ก รรมแลพาณิ ช การที่ มี ใ นกรุ ง เทพฯ
ทั้งอุตสาหกรรมในครัวเรือนก็ต้องเกี่ยวข้องด้วย” (ที่มา :                  ครั้ ง แรกนี้ เป็ น ไปตามพระราชประสงค์ แ ลประโยชน์
หนั ง สื อ 84 พรรษา กษั ต ริ ย์ เ กษตร เฉลิ ม พระเกี ย รติ               แก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า    ซึ่งในการจัดแสดงมีสิ่งของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราช                           นำมาแสดงมากมายเช่น การประกวดพันธุ์ข้าว พันธุ์พืช
พิธีมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา)                                                ต่างๆ แร่ธาตุต่างๆ, ของป่า เช่น ครั่ง, ขี้ผึ้ง, น้ำมันยาง,
	          ยางพารา (Hevea brasiliensis) มี ถิ่ น กำเนิ ด                 เครื่ อ งจั ก รเครื่ อ งยนต์ , เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการกสิ ก รรม
เดิ ม แถวลุ่ ม แม่ น้ ำ อะเมซอนในประเทศบราซิ ล ทวี ป                     เป็ น ต้ น (จากหนั ง สื อ รายงานการแสดงกสิ ก รรมแล
อเมริกาใต้ ยางพาราเป็นพืชที่ให้น้ำยาง ชาวพื้นเมือง                       พาณิชการครั้งที่ 1 วันที่ 18 เมษายน รัตนโกสินทร์ศก
แถบอเมริกาใต้เรียกต้นไม้ที่ให้น้ำยางนี้ว่า “คาอุท์ชุค”                   129 เรียบเรียงโดย มิศเตอร์ เย.ซี. บารเน็ต แปลโดย
(Caoutchouc) ซึ่งแปลว่าต้นไม้ร้องไห้ ก่อนที่ยางพารา                      ขุนธราภาคพาที)
จะมาเจริญงอกงามในแถบทวีปเอเชียและสร้างมูลค่า                             	        พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
มหาศาลให้ กั บ ประเทศผู้ ป ลู ก ยางในปั จ จุ บั น ชาว                    ได้เห็นความสำคัญของการทำกสิกรรมของประชาชน
อังกฤษที่สมควรได้รับการยกย่องคือ เซอร์เฮนรี วิคแฮม                       คนไทยเป็นสำคัญ   
ได้นำเมล็ดยางพาราจำนวน 70,000 เมล็ดจากประเทศ                             	        อนึ่ง ต้นยางพาราก็เริ่มเข้ามาปลูกอยู่ทางภาคใต้
บราซิลและเปรู ไปเพาะที่สวนพฤกษศาสตร์คิว ประเทศ                           ในเมื อ งตรั ง บ้ า งแล้ ว แต่ ยั ง ไม่ ค่ อ ยแพร่ ห ลายมากนั ก
อั ง กฤษ ในปี พ.ศ. 2419 จนได้ ต้ น กล้ า ยางจำนวน                        ผู้ที่นำเข้าปลูก คือ พระยารัษฎานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี
2,700 ต้น ในจำนวนนี้ 1,900 ต้น ได้ส่งมาปลูกที่สวน                        (คอซิ ม บี้ ณ ระนอง) ในปี พ.ศ. 2443 ในสมั ย ของ
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555    3
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)            พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงมี พ ระบรม
พ.ศ. 2453 มีการปลูกยางพารากันแพร่หลายมากขึ้น                  ราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ ป ระกาศโดยที่ เ ป็ น การ
และมี พั น ธุ์ ย างหลายสายพั น ธุ์ เ ข้ า มาปลู ก ทางภาคใต้   สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยกองทุนสงเคราะห์
มากขึ้ น ในสมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า           การทำสวนยาง (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2505 (คั ด จาก
อยู่หัว (รัชกาลที่ 7) พ.ศ. 2475 ได้มีประกาศพระบรม             ราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ ม ที่ 77 ตอนที่ 105 วั น ที่ 27
ราชโองการ ให้ ตั้ ง สถานี ท ดลองกสิ ก รรมภาคใต้               พฤศจิกายน พ.ศ. 2505)
(หาดใหญ่ ) ต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น สถานี ก ารยาง      	 จากเอกสารต่างๆ ที่ได้บันทึกพระราชกรณียกิจ
คอหงส์ (เอกสารที่มา : ประวัติและสถิติผลงานของกรม              ของพระมหากษัตริย์ไทย เกี่ยวข้องกับด้านการเกษตร
กสิ ก รรม) ปี พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า                เป็ น ส่ ว นมาก โดยเฉพาะตั้ ง แต่ รั ช กาลที่ 5 จนถึ ง
อยู่หัวอนันทมหิดลได้ทรงมีประกาศพระบรมราชโองการ                รั ช กาลปั จ จุ บั น รั ช กาลที่ 9 ที่ พ ระองค์ ท่ า นทรงเน้ น
(คณะผู้ ส ำเร็ จ ราชการแทนพระองค์ ต ามประกาศ                  ด้ า นการเกษตรเป็ น อย่ า งมาก ทรงมี พ ระเนตรอั น
ประธานสภาผู้ แ ทนราษฎร์ ) ให้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ            กว้างไกลที่มองพสกนิกรของพระองค์ท่านให้อยู่ดีกินดี
ควบคุมจำกัดยาง พุทธศักราช 2477 ซึ่งเป็นกฎหมาย                 และค้ า ขายแข่ ง ขั น กั บ ต่ า งประเทศได้ โดยเฉพาะ
และกฎกระทรวงเกษตราธิการ และในปี พ.ศ. 2481 ได้                 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาล
มีการแก้ไขกฎหมายและกฎกระทรวงเกษตราธิการโดย                    ที่ 9   ปั จ จุ บั น     พระองค์ ท่ า นฯ ได้ ท รงพระกรุ ณ า
ยกเลิกพระราชบัญญัติควบคุมจำกัดยาง พ.ศ. 2477                   โปรดเกล้าฯ จัดตั้งโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
และให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมจำกัดยาง พ.ศ. 2481                มากมายกว่ า 4,000 โครงการ โดยมี ศู น ย์ ศึ ก ษาการ
แทน (ที่มา : หนังสือพระราชบัญญัติควบคุมจำกัดยาง               พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 6   ศูนย์ ที่
2477-2481 ฉบับกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี)                        จั ด ตั้ ง ทั่ ว ประเทศเป็ น ศู น ย์ ก ลางให้ แ ก่ เ กษตรกรเข้ า
	      พ.ศ. 2503 ในพระปรมาภิไ ธยพระบาทสมเด็จ                  ไปศึกษาดูงานด้านการเกษตร เช่น โครงการศูนย์ศึกษา
พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช โดยมี ส มเด็ จ พระ         การพั ฒ นาพิ กุ ล ทอง โครงการศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา
ศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี เ ป็ น ผู้ ส ำเร็ จ ราชการแทน       เขาหิ น ซ้ อ น โครงการศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ าน
พระองค์ ให้ ไ ว้ ณ วั น ที่ 25 สิ ง หาคม พ.ศ. 2503            เป็ น ต้ น ที่ มี ก ารปลู ก ยางพาราอยู่ ใ นโครงการของ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 6 กันยายน พ.ศ.                 พระองค์ ท่ า นซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น พระมหากรุ ณ าอั น หาที่ สุ ด
2503 กฎหมายเริ่ ม มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ วั น ที่ 5 ธั น วาคม    มิ ไ ด้ จวบกระทั่ ง เวลานี้ ไ ด้ มี เ กษตรกรได้ ป ลู ก ยาง
พ.ศ. 2503 พระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สงเคราะห์ ก าร            พาราแพร่ ห ลายไปเกื อ บทั่ ว ประเทศแล้ ว จึ ง นั บ ได้ ว่ า
ทำสวนยาง พ.ศ. 2503 ให้จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์การ               พระมหากษัตริย์ของประเทศไทยทุกพระองค์ทรงพระ
ทำสวนยาง เพื่อช่วยเหลือเจ้าของสวนยาง ให้ปรับปรุง              ปรี ช าการพั ฒ นาในด้ า นการเกษตรเพื่ อ ให้ พ สกนิ ก ร
สวนยางให้ดีขึ้น (คัดจากราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 77             ของพระองค์ ท่ า นฯ   ได้ มี ค วามรู้ เ พื่ อ นำไปใช้ ใ ห้ เ กิ ด
ตอนที่ 73 วันที่ 6 กันยายน 2503)                              ประโยชน์ สู ง สุ ด ในการทำการเกษตรให้ ทั น สมั ย ยิ่ ง ขึ้ น
	      พ.ศ. 2505 ในพระปรมาภิไ ธยพระบาทสมเด็จ                  สืบไป
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555   4
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555   5
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555   6
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555   7
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555       8


113 ปียางพาราไทย
จากยางพาราต้นแรกถึงปัจจุบัน
สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร


	                                 พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์       พระอัษฎงทิศรักษา ตำแหน่งผู้ว่าราชการเมืองตระบุรี
                            ม หิ ศ ร ภั ก ดี ( ค อ ซิ ม บี้ ณ      (กระบุรี)
                            ระนอง) เป็ น นั ก ปกครองที่ มี         	         ปี พ.ศ. 2433 ได้ รั บ พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ
                            ความสามารถ และมีชื่อเสียง              เป็ น พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี ตำแหน่ ง ผู้ ว่ า
                            เป็นที่ยอมรับในวงการพัฒนา              ราชการเมืองตรัง
                            ที่ ทั น ส มั ย โ ด ย มุ่ ง พั ฒ น า   	         ปี พ.ศ. 2444 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็น
บ้านเมืองใน 6 ด้านด้วยกัน คือ การคมนาคมสื่อสาร                     สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต
การศึ ก ษา การสาธารณสุ ข การปราบโจรผู้ ร้ า ย                      	         พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี ไ ด้ ถึ ง แก่
การรั ก ษาความสงบ และการเกษตรกรรม ทั้ ง นี้ ไ ด้                   อนิ จ กรรม เมื่ อ วั น ที่ 10 เมษายน 2456 ณ บ้ า น
วางแผนการพัฒนาไว้ล่วงหน้าทุกจังหวัดและแตกต่าง                      จักรพงษ์ปีนัง สิริอายุได้ 56 ปี
กันไปตามสภาพแวดล้อมของพื้นที่นั้นๆ                                 	         ด้ ว ยตำแหน่ ง หน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ รั บ ผิ ด
	         พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี (คอซิ ม บี้   ชอบดูแลหัวเมืองตะวันตก ตั้งแต่ภูเก็ต ระนอง พังงา
ณ ระนอง) เป็ น บุ ต รคนที่ 6 ในจำนวน 11 คน ของ                     กระบี่ ตะกั่ ว ป่ า และตรั ง ทำให้ ท่ า นมี ผ ลงานเป็ น ที่
พระยาดำรงสุจริตมหิศรภักดี (คอซู่เจียง) และคุณหญิง                  ลื อ เลื่ อ งโดยเฉพาะด้ า นเกษตรกรรม พระยารั ษ ฎานุ
ซิทท์   กิ้มเหลียน เกิดเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2400              ประดิษฐ์มหิศรภักดีได้เดินทางไปดูงานด้านเกษตรกรรม
เมื่ออายุได้ 9 ขวบ ได้ติดตามบิดาเดินทางไปประเทศ                    ในประเทศมลายูและได้เห็นการปลูกยางและมีผลผลิต
จี น เพื่ อ ศึ ก ษาภาษาจี น และการทำธุ ร กิ จ ทำให้ ท่ า น         ที่ ดี ม าก ก็ เ กิ ด ความสนใจที่ จ ะนำยางเข้ า มาปลู ก ใน
ไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือไทย แต่ท่านสามารถเขียน                    ประเทศไทยบ้างเพื่อทดแทนพืชเศรษฐกิจส่งออกของ
ภาษาจีน และพูดได้ถึง 9 ภาษา ปี พ.ศ. 2425 บิดา                      ไทย เช่น พริกไทย ซึ่งมีราคาตกต่ำมากในขณะนั้น
ได้ถึงแก่อ นิจ กรรม คอซิ ม ก๊อ งซึ่ งเป็ นพี่ช าย ได้นำเข้า        	         แต่การปลูกยางในประเทศไทยยังไม่มีหลักฐาน
ไปถวายตั ว เป็ น มหาดเล็ ก ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ                   ที่แน่ชัดว่าเริ่มปลูกกันเมื่อใด แต่เชื่อกันว่า พระยารัษฎา
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ครองราชสมบัติ                นุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี (คอซิ ม บี้ ณ ระนอง) ขณะที่
และพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้             ดำรงตำแหน่ ง เจ้ า เมื อ งตรั ง ได้ น ำยางจากรั ฐ เปรั ค
ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯพระราชทานสั ญ ญาบั ต ร                    ประเทศมลายู เข้ามาปลูกที่อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ดังนี้                                                             ครั้งแรกเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2442 – 2443 และได้
	         ปี พ.ศ. 2425 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็น               แจกจ่ า ยเมล็ ด พั น ธุ์ ใ ห้ ร าษฎรในภาคใต้ ไ ด้ ป ลู ก ยาง
หลวงบริ รั ก ษ์ โ ลหวิ สั ย ตำแหน่ ง ผู้ ช่ ว ยราชการเมื อ ง       ตั้ ง แต่ นั้ น มา และได้ มี ก ารขยายพื้ น ที่ ป ลู ก ยางไปทั่ ว
ระนอง                                                              14 จังหวัดภาคใต้
	         ปี พ.ศ. 2428 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็น               	         ในปี พ.ศ. 2451 หลวงราชไมตรี (ปูม   ปุณศรี)
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555          9
                                                                           กลุ่ ม นี้ มี บ ทบาทต่ อ การผลั ก ดั น เสนอร่ า ง พรบ. ปลู ก
                                                                           แทนต่อรัฐบาลซึ่งใช้เวลาถึง 6 รัฐบาล ในระยะเวลา
                                                                           6 ปี จึ ง ออกพระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สงเคราะห์ ก าร
                                                                           ทำสวนยาง และมีการประกาศใช้ ในปี 2503
                                                                           	        ในปี พ.ศ. 2504 กิ จ การปลู ก แทนก้ า วหน้ า ไป
                                                                           ได้ด้วยดี เป็นที่พึงพอใจของชาวสวนยางในภาคใต้
                                                                           	        ในปี พ.ศ. 2508 ดร. เสริ ม ลาภ วสุ วั ต เป็ น ผู้
                                                                           วางรากฐานการวิ จั ย และพั ฒ นายาง การค้ น คว้ า วิ จั ย
                                                                           เกี่ ย วกั บ ยางพาราทุ ก ๆ ด้ า นซึ่ ง เป็ น สิ่ ง จำเป็ น อย่ า งยิ่ ง
                                                                           สำหรับความก้าวหน้าของอุตสาหกรรมยางไทย




ภาพที่ 1 ต้นยางต้นแรก
                                                                           ภาพที่ 2 พระยารัษฎานุประดิษฐ์        ภาพที่ 3 หลวงราชไมตรี

ได้นำยางไปปลูกที่จังหวัดจันทบุรี จึงได้มีการขยายการ
ปลู ก ยางพาราในภู มิ ภ าคนี้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จนกระทั่ ง
มีการปลูกกันทั่วไป ใน 3 จังหวัด ภาคตะวันออก คือ
จันทบุรี ระยอง และตราด และกลายเป็นพืชเศรษฐกิจ
ที่สำคัญของภาคตะวันออก
	          ในช่ ว งปี พ.ศ. 2475 หลวงสุ ว รรณวาจกกสิกิจ
ผู้ ก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น ฝึ ก หั ด ค รู ป ร ะ ถ ม ก สิ กร ร ม ขึ้ น ที่
คอหงส์ หลวงสุ ว รรณวาจกกสิ กิ จ ได้ ก่ อ ตั้ ง สถานี                       ภาพที่ 4 หลวงสำรวจพฤกษาลัย           ภาพที่ 5 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
ทดลองกสิ ก รรมภาคใต้ ขึ้ น ที่ บ้ า นชะมวง อำเภอ                           (สมบูรณ์ ณ ถลาง)
ควนเนี ย ง จั ง หวั ด สงขลา และในปี 2476 ได้ ย้ า ย
สถานี ท ดลองดั ง กล่ า วไปตั้ ง ที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอ
หาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา และได้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง หลวง
สุวรรณฯ ให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก
	          ในปี พ.ศ. 2496 หลวงสำรวจพฤกษาลั ย
(สมบูรณ์ ณ ถลาง) หัวหน้ากองการยาง กรมกสิกรรม
ซึ่ ง เข้ า ดำรงตำแหน่ ง เมื่ อ ปี พ.ศ. 2493 และนายรัตน์   
เพชรจันทร ผู้ช่วยหัวหน้ากองการยาง และนายเสียน  
ทองจั น ทร์ เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ สู ง กองการยาง บุ ค คล                 ภาพที่ 6 นายรัตน์ เพชรจันทร์         ภาพที่ 7 ดร. เสริมลาภ วสุวัต
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555     10
	          ในปี พ.ศ. 2521 กรมวิชาการเกษตร และกรม                   ระหว่ า งประเทศ และประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น
ประชาสงเคราะห์ได้เริ่มงานทดลองปลูกสร้างสวนยาง                      โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ และการ
พาราตามหลักวิชาการการปลูกสร้างสวนยางแผนใหม่                        ใช้ เ ทคโนโลยี ส ะอาดที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง จะ
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยทำการปลูกในจังหวัด                       ทำให้ไทยพร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่างมั่นคง
หนองคาย บุ รี รั ม ย์ และจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ซึ่ ง ก็ ป ระสบ    จึงเป็นความท้าทาย และเป็นโอกาสใหม่ของไทย
ความสำเร็ จ ได้ รั บ ผลผลิ ต ยางไม่ แ ตกต่ า งจากผลผลิต            	         กว่ า หนึ่ ง ศตวรรษหลั ง จากที่ ไ ด้ น ำยางพาราเข้ า
ยางในภาคใต้ แ ละภาคตะวั น ออกมากนั ก ด้ ว ยเหตุ นี้                มาปลู ก ในราชอาณาจั ก รไทย จนเป็ น พื ช เศรษฐกิ จ
จึงเริ่มมีการค้นคว้าวิจัยและพัฒนาการปลูกยางในเขต                   สำคั ญ ของประเทศ โดยครองความเป็ น ผู้ น ำในการ
พื้ น ที่ แ ห้ ง แล้ ง และเป็ น การเริ่ ม ขยายเขตการปลู ก          ผลิ ต และส่ ง ออกยางธรรมชาติ ม ากที่ สุ ด ของโลกมา
ยางพาราไปสู่ เ ขตการปลู ก ยางใหม่ ข องประเทศไทย                    ตั้ ง แต่ ปี 2534 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ยั ง ความภาคภู มิ ใ จแก่
อย่างจริงจัง                                                       วงการพัฒนายางพาราไทยเป็นอย่างยิ่ง
	          การค้นคว้าวิจัยและพัฒนายาง เพื่อขยายพื้นที่
ปลูกยางนั้น สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ได้มุ่ง
เน้ น ค้ น คว้ า วิ จั ย หลายด้ า นอย่ า งครบวงจร เช่ น เพิ่ ม                            บรรณานุกรม
ประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกร และเพิ่มผลผลิต                        รัตน์ เพชรจันทร. 2513. สำนักงานกองทุนสงเคราะห์
ของประเทศได้ อี ก ด้ ว ยการพั ฒ นาศั ก ยภาพการผลิ ต                	      การทำสวนยาง. 623 หน้า.
ยางให้เปิดกรีดได้เร็ว และให้ผลผลิตสูง โดยการเลือก                  สถาบั น วิ จั ย ยาง กรมวิ ช าการเกษตร. 2555.ข้ อ มู ล
ใช้ พั น ธุ์ ย างและเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมกั บ พื้ น ที่ การ       	      วิชาการยางพารา 2555. 123 หน้า.
จั ด การสวนยาง รวมถึ ง การเขตกรรม การจั ด การโรค                   สำนั ก งานกองทุ น สงเคราะห์ ก ารทำสวนยาง. 2553.
และศัตรูยาง การจัดการธาตุอาหารพืช และการจัดการ                     	      บั น ทึ ก ความทรงจำกึ่ ง ศตวรรษ สกย. โรงพิ ม พ์
ระบบกรี ด ที่ ท ำให้ ส ามารถเพิ่ ม ผลผลิ ต ต่ อ หน่ ว ยพื้ น ที่   	      เทพเพ็ญวานิสย์. 289 หน้า.
และลดต้ น ทุ น การผลิ ต อี ก ทั้ ง ได้ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรม         www.naranong.net. ทำเนี ย บตระกู ล ณ ระนอง.  
แปรรู ป ยาง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างและไม้ ย างพาราเพื่ อ เพิ่ ม         	      2555.
มูลค่ายางธรรมชาติ และนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยาง                      www.rubber.co.th. สำนั ก งานกองทุ น สงเคราะห์
ที่ มี คุ ณ ภาพเพื่ อ เพิ่ ม การใช้ ย างและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างใน    	      การทำสวนยาง. 2555.
ประเทศให้ ม ากขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งสนั บ สนุ น ด้ า น        www.rubberthai.com. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการ
การตลาด พั ฒ นาระบบตลาดทั้ ง ในประเทศ และ                          	      เกษตร. 2555.
ต่ า งประเทศ ตลอดจนความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รยาง
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555        11


ใคร?..เปิดประตูยางพาราอีสาน1
สุจินต์ แม้นเหมือน ² ประพาส ร่มเย็น ³ และ ชัยโรจน์ ธรรมรัตน์ 4


	          ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) เป็น
                                                       สำรวจ) คาดว่าปลูกมาก่อนปี 2500 ครั้งแรกปลูกได้
ไม้ยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดในบริเวณร้อนและชุ่มชื้น ขึ้นแถบจำนวนหลายสิบไร่เป็นลักษณะของสวนยาง แต่ต่อมาได้
ลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ ต่อมาได้ขยายการ       โค่นล้มต้นยางเปลี่ยนสภาพเป็นไร่ข้าวโพด ยังมีต้นยาง
ปลูกไปยังประเทศใกล้เส้นศูนย์สูตร แหล่งผลิตที่สำคัญ     เหลือบริเวณขอบแปลงกระจัดกระจายอยู่ประมาณ 20
ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย แหล่งปลูก     ต้น ความเจริญเติบโตของต้นยางที่ระดับความสูง 1.50
ยางเดิมของประเทศไทยมีอยู่ในท้องที่ 14 จังหวัดภาคใต้    เมตร มี เ ส้ น รอบวงของลำต้ น เฉลี่ ย ประมาณ 60
และ 3 จังหวัดภาคตะวันออก คือ ระยอง จันทบุรี และ        เซนติเมตร ต้นยางมีการผลัดใบออกดอกและติดผล แต่
ตราด ในปี 2521 สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร          ต้นยางเหล่านี้ปลูกด้วยเมล็ดพื้นเมืองจึงให้ผลผลิตต่ำ
ได้ เ ริ่ ม ปลู ก ยางทดสอบในจั ง หวั ด ของภาคตะวั น ออกเจ้าของแปลงไม่เอาใจใส่และสนใจจึงโค่นทิ้งเอาไม้ไปใช้
เฉียงเหนือหรือภาคอีสาน ที่จังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ และประโยชน์
หนองคาย ซึ่งได้ผลเป็นที่น่าพอใจ                        	      2. ต้นยางที่วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
                                                       วิ ท ยาเขตเกษตรสุ ริ น ทร์ อ.เมื อ ง จ.สุ ริ น ทร์ มี ต้ น ยาง
    ต้นยางพื้นเมืองที่มีอยู่เดิมในภาคอีสาน             พาราขึ้นอยู่ในบริเวณริมสระน้ำ ปลูกด้วยเมล็ดพื้นเมือง
	      ยางพาราในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ได้ มี ผู้ มีอยู่ 2 ต้น ต้นหนึ่งแตกเป็นลำต้นคู่ขึ้นมาจากโคนต้น
พยายามนำมาปลูกเป็นเวลาเนิ่นนานมาแล้ว ดังจะเห็น อายุประมาณ 18 ปี การเจริญเติบโตของลำต้นที่ระดับ
ได้จากมีต้นยางเก่า อายุมาก อยู่ในหลายท้องที่ อาทิ ต้น ความสู ง 1.50 เมตร   ขนาดของเส้ น รอบวงลำต้ น
ยางพาราอายุ ม ากกว่ า 40 ปี ที่ บ ริ เ วณหลั ง อาคาร ประมาณ 1.00 เมตร กรีดทดสอบผลการไหลของน้ำยาง
พิพิธภัณฑ์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุทธาวาส จังหวัด ผลน้ำยางไหลดี
สกลนคร เป็นต้น จากรายงานการสำรวจของชัยโรจน์    	              3. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งริ ม ทางหลวง ถนนสาย
ธรรมรัตน์ เมื่อปี 2525 พบว่า มีผู้นำเอาเมล็ดยางพารา ร้อยเอ็ด – มหาสารคาม เยื้องสถานีทดลองพืชไร่ร้อยเอ็ด
จากภาคใต้ แ ละภาคตะวั น ออกไปปลู ก ทดสอบกั น มา (ชื่อในขณะนั้น) มีต้นยางพาราปลูกด้วยเมล็ดอยู่จำนวน
นานแล้ ว จากการสำรวจต้ น ยางเหล่ า นี้ พ อที่ จ ะสรุ ป 1 ต้น การเจริญเติบโตที่ระดับ 1.50 เมตร มีเส้นรอบวง
ได้ดังนี้                                              ของลำต้น 78 เซนติเมตร จากการสอบถามเจ้าของได้
	      1. สวนยางเก่าตำบลเนินสำเริง อ.กันทรลักษณ์ บอกว่านำมาปลูกไว้แล้วประมาณ 15 ปีแล้ว คาดว่า
จ.ศรีสะเกษ ปลูกมาประมาณ 20 กว่าปีแล้ว (อายุตอน ปลู ก ประมาณปี พ.ศ. 2508 ทดสอบกรี ด ยางดู ก าร

1
 	 บทความนี้ได้ตีพิมพ์เป็นเล่มเมื่อปี 2543 วารสารฉบับนี้เห็นว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจที่จะตีพิมพ์ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง โดยรวบรวมเฉพาะเนื้อหาที่สำคัญและ
	 ภาพประกอบบางภาพ
2
 	 ในปีที่เขียนบทความ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีทดลองยางบุรีรัมย์ หรือศูนย์วิจัยยางบุรีรัมย์ในปัจจุบัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง
	 ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
3
 	 ในปีที่เขียนบทความ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารการผลิตยาง สถาบันวิจัยยาง ปัจจุบันได้เกษียณอายุราชการ (ก่อนกำหนด) ไปแล้ว
4
 	 ในปีที่เขียนบทความ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยางนราธิวาส ปัจจุบันได้เกษียณอายุราชการไปแล้ว
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555   12
ไหลของน้ำยางปรากฏว่าไหลดี                                              50 – 60 เซนติเมตร
	       4. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งนิ ค มสร้ า งตนเองคำสร้ อ ย            	     10. ต้ น ยางพั น ธุ์ RRIM 600 ที่ บ้ า นกกเต็ น
อ.นิ ค มคำสร้ อ ย จ.นครพนม เกษตรกรผู้ ป ลู ก ได้ ไ ป                   ต.ทับหลวง อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี นำเอาต้นตอตายาง
ทำงานรับจ้างกรีดยางที่ อ.ธารโต จ.ยะลา ได้นำเมล็ด                       มาจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีมาปลูก เหลือรอดตายอยู่
ยางมาจาก จ.ยะลา มาปลูกไว้ประมาณ 2 ไร่ ต้นยาง                           2 ต้น ต้นยางอายุประมาณ 5 ปี คาดว่าปลูกไว้เมื่อปี
อายุประมาณ 22 ปี ปัจจุบันได้ตัดโค่นไปเกือบหมดแล้ว                      พ.ศ. 2519 เส้นรอบวงของลำต้น 59 เซนติเมตร ทดสอบ
ยั ง คงเหลื อ อยู่ เ พี ย ง 8 ต้ น ต้ น ยางรุ่ น นี้ ค าดว่ า นำมา     กรีดดูแล้วการไหลของน้ำยางดีมาก
ปลูกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 การเจริญเติบโตที่ระดับ 1.50
เมตร วัดเส้นรอบวงของลำต้นเฉลี่ยประมาณ 1.00 เมตร                                               ความเป็นมา
ได้ทดสอบกรีดดูแล้วมีการไหลของน้ำยางดี                                  	        การศึ ก ษาและพั ฒ นาอย่ า งเป็ น วิ ช าการในการ
	       5. ต้นยางพื้นเมืองที่บ้านซ้ง อ.คำชะอี จ.นครพนม                 นำยางพารามาปลู ก ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ได้
ปลูกด้วยเมล็ดยางพื้นเมืองมีอยู่ 1 ต้น อายุประมาณ                       เริ่มดำเนินการอันเป็นผลสืบเนื่องจากที่ประชุมหัวหน้า
20 ปี คาดว่าปลูกประมาณปี 2503 บริเวณหน้ายางสูง                         สถานีทดลองยางของกองการยาง (ชื่อในขณะนั้น) ที่
จากพื้ น ดิ น ขึ้ น ไปประมาณ 2 เมตร และได้ เ สี ย หาย                  จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2520 ซึ่งที่ประชุม
เป็นปุ่มปมหมดแล้ว เนื่องจากชาวบ้านในหมู่บ้านนี้ได้                     ได้ ม อบหมายให้ นายกาญจนสิ น ธุ์    มี ศุ ข หั ว หน้ า
ใช้มีดฟันโคนต้นเพื่อเอาน้ำยางมาใช้ปะยางในของรถ                         สถานี ท ดลองยางคั น ธุ ลี เป็ น หั ว หน้ า คณะร่ ว มดำเนิ น
จักรยาน                                                                การกั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญยาง และนั ก วิ ช าการของศู น ย์ วิ จั ย
	       6. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งที่ บ้ า นโนนสำราญ หมู่ที่ 14          การยาง (ชื่อในขณะนั้น) วางแผนสำรวจความเป็นไปได้
ต.ปากคาด กิ่ ง อ.ปากคาด จ.หนองคาย มี อ ยู่ 1 ต้ น                      ในการทดสอบปลู ก ยางพาราในภาคตะวั น ออกเฉี ย ง
อายุ ป ระมาณ 7 ปี เส้ น รอบวงของลำต้ น ประมาณ                          เหนือ ช่วงวันที่ 1 - 6 สิงหาคม 2520 ตามรายละเอียดใน
63 เซนติ เ มตร คาดว่ า ได้ น ำมาปลู ก ประมาณปี                         บั น ทึ ก ของสถานี ท ดลองยางคั น ธุ ลี ที่ กษ 1009/319
พ.ศ. 2518 - 2519                                                       ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2520 ซึ่งผลการสำรวจได้รายงาน
	       7. ต้นยางพื้นเมืองที่ด่านซ้าย อ.ด่านซ้าย จ.เลย                 ให้กองการยาง โดย ดร. เสริมลาภ วสุวัต ผู้อำนวยการ
เกษตรกรได้ น ำเมล็ ด ยางพื้ น เมื อ งมาจาก จ.นครศรี -                  กองการยาง ทราบถึ ง การเดิ น ทางไปดู ส วนยางเก่ า ที่
ธรรมราช ประมาณ 20 เมล็ด มาปลูก งอก 5 ต้น ถูก                           ตำบลโนนดิ น แดง จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ ซึ่ ง มี ต้ น ยางเก่ า
ควายกินเสียหายเหลือรอดมาเพียง 1 ต้น อายุประมาณ                         เหลืออยู่ประมาณ 15 ต้น อายุยางไม่น้อยกว่า 20 ปี
15 ปี คาดว่ า นำมาปลู ก ไว้ ป ระมาณปี พ.ศ. 2509                        ลักษณะของยางแสดงให้เห็นว่าเป็นการปลูกมีแถวแนว
ขนาดของเส้ น รอบวงของลำต้ น ประมาณ 50 - 60                             พอเห็ น ได้ แต่ เ ป็ น ยางพื้ น เมื อ งเปลื อ กหนา   ในขณะ
เซนติเมตร                                                              เดียวกัน ได้มีการหารือกันระหว่าง Mr. Lim Poh Loh,
	       8. ต้นยางพื้นเมืองที่วัดหาดงิ้ว อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์            Senior Development Officer, UNDP/FAO กั บ
นำเมล็ดมาจากจังหวัดจันทบุรีมาปลูก เหลืออยู่ 1 ต้น                      Dr. A.C. Hughes, Adviser Planning, Land
อายุประมาณ 15 ปี คาดว่าปลูกไว้เมื่อ ปี พ.ศ. 2508                       Settlement Division, Mr. Tony Zola ถึ ง แผนการ
การเจริ ญ เติ บ โตเส้ น รอบวงของลำต้ น ประมาณ 80                       ปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้กรม
เซนติเมตร                                                              ประชาสงเคราะห์ โดยนายประพจน์    เรขะรุจิ อธิ บ ดี
	       9. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งที่ บ้ า นผาทั่ ง อ.บ้ า นไร่          กรมประชาสงเคราะห์ ได้ มี บั น ทึ ก เลขที่ มท.0912/
จ.อุ ทั ย ธานี ปลู ก ด้ ว ยเมล็ ด ยางพั น ธุ์ พื้ น เมื อ ง มี อ ยู่   พ 73398 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2520 แจ้งให้กรม
ประมาณ 50 ต้ น อายุ ป ระมาณ 6 ปี คาดว่ าปลูกไว้                        วิ ช าการเกษตร ทราบว่ า กรมประชาสงเคราะห์ มี
ประมาณปี พ.ศ. 2518 มีเส้นรอบวงของลำต้นประมาณ                           โครงการที่ จ ะพั ฒ นาการเกษตรในนิ ค มสร้ า งตนเอง
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555     13
ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้รับความช่วยเหลือ                     ผู้เชี่ยวชาญ UNDP/FAO ในการตรวจสอบข้อมูลและ
ด้านเงินกู้จากธนาคารโลก จึงใคร่ขอความร่วมมือจาก                     เตรียมการเบื้องต้นพร้อมกันไปด้วย
กรมวิชาการเกษตร ให้ดำเนินการสำรวจสภาพพื้นที่ใน                      	         จากการสั่งการเบื้องต้นจากกองการยางที่กล่าวมา
นิ ค มสร้ า งตนเองบ้ า นกรวด จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ และนิ ค ม     ดั ง นั้ น ศู น ย์ วิ จั ย การยาง หาดใหญ่ โดยการนำของ
สร้ า งตนเองโพนพิ สั ย จั ง หวั ด หนองคาย ว่ า มี ค วาม             นายศรี โ บ ไชยประสิ ท ธิ์ และคณะ จึ ง ได้ เ ริ่ ม สำรวจ
เหมาะสมที่จะจัดทำแปลงทดลองปลูกยางพาราขึ้นหรือ                       ความเป็นไปได้ในการปลูกยางในพื้นที่จังหวัดทางภาค
ไม่เพียงใด ซึ่งถ้าหากผลการทดลองดังกล่าวได้ผลก็จะส่ง                 ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ หลายจั ง หวั ด รวมทั้ ง พื้ น ที่ ที่ ไ ด้
เสริมให้สมาชิกในนิคมทั้ง 2 แห่งนี้ให้ปลูกยางเป็นพืช                 ประสานกั น เบื้ อ งต้ น ไว้ แ ล้ ว เพื่ อ กำหนดแนวนโยบาย
หลักต่อไป                                                           และแผนปฏิบัติ ระหว่างวันที่ 23-27 มกราคม 2521
                                                                    ผลจากการสำรวจครั้งนี้ คณะจากศูนย์วิจัยการยางได้
                     การเตรียมการ                                   เสนอแนะให้ ด ำเนิ น การที่ นิ ค มสร้ า งตนเองปราสาท
	      จากรายงานเบื้องต้นของคณะสำรวจข้อมูลของ                       จังหวัดสุรินทร์เพิ่มเติมจากที่กำหนดไว้เดิม ทำให้ต่อมา
นายกาญจนสินธุ์   มีศุข ที่ กษ 0915/592  และจากการ                   การปลูกยางพาราได้ดำเนินการครั้งเดียวพร้อมกันทั้ง 3
ประสานงานของหลายฝ่ายระหว่างกรมวิชาการเกษตร                          จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และกรมประชาสงเคราะห์ ดั ง นั้ น กองการยาง โดย
ดร.เสริ ม ลาภ วสุ วั ต จึ ง สั่ ง การให้ ศู น ย์ วิ จั ย การยาง                ข้อมูลจากสถานีทดลองฯของ
หาดใหญ่ จั ด คณะไปสำรวจหารายละเอี ย ดอี ก ครั้ ง                                    กรมวิชาการเกษตร
พร้ อ มกั บ ขอความร่ ว มมื อ ไปยั ง นิ ค มสร้ า งตนเอง              	        นอกจากคณะสำรวจแนวทางเบื้องต้นแล้ว ศูนย์
บ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ และนิคมสร้างตนเองโพนพิสัย                 วิ จั ย การยางได้ ข อความร่ ว มมื อ ในการสนั บ สนุ น
จังหวัดหนองคาย นอกจากนี้ ยังมีการประสานระหว่าง                      รายละเอียดเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ ดิน และสภาพดินฟ้า
                                                                    อากาศจากสถานีทดลองพืชฯ ของกรมวิชาการเกษตร
                                                                    ทุกสถานีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและได้รับความ
                                                                    ร่วมมือด้วยดี เมื่อมีข้อมูลมากพอ หลายฝ่ายได้กำหนด
                                                                    แนวทางการทำงานและรายละเอี ย ดเพื่ อ ดำเนิ น การ
                                                                    ต่อไป

                                                                           ตกลงใจดำเนินการ...เริ่มลงมือปลูก
                                                                    	        หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น และพิจารณา
                                                                    เห็นความเป็นไปได้ ผู้เกี่ยวข้องจึงได้กำหนดแผนการ
                                                                    ดำเนินงานปลูกยางพาราในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ และ
                                                                    หนองคาย โดยศูนย์วิจัยการยางได้มอบหมายให้งาน
                                                                    พัฒนายาง ศูนย์วิจัยการยาง หาดใหญ่ เป็นหน่วยงาน
                                                                    หลั ก ร่ ว มกั บ นิ ค มสร้ า งตนเองบ้ า นกรวด นิ ค มสร้ า ง
                                                                    ตนเองปราสาท และนิคมสร้างตนเองโพนพิสัย พร้อมทั้ง
                                                                    หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดเตรียมวัสดุปลูกใน
                                                                    พื้นที่ที่ได้ประสานไว้ก่อนแล้ว เพื่อสามารถเร่งรัดปลูก
ภาพที่ 1 แปลงปลู ก ด้ ว ยต้ น ตอตาของนิ ค มสร้ า งตนเองโพนพิ สั ย   ยางพาราให้เสร็จก่อนเดือนมิถุนายน 2521 ดังนี้
จ.หนองคาย (10 มิ.ย. 2522)
                                                                    	        - นิคมสร้างตนเองบ้านกรวด ปลูกเสร็จ วันที่ 30
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555   14
                                                                    ดูแลรักษาอีกหลายประการ โดยเฉพาะการกำจัดวัชพืช
                                                                    การใส่ปุ๋ย การเอาใจใส่บำรุงรักษา และอื่นๆ กว่าต้นยาง
                                                                    จะเจริญเติบโตได้ขนาดเปิดกรีด และเริ่มทดลองเปิดกรีด
                                                                    ในปลายปี 2527 ที่นิคมสร้างตนเองโพนพิสัย และเปิด
                                                                    กรีดจริงจังที่นิคมสร้างตนเองโพนพิสัย และนิคมสร้าง
                                                                    ตนเองบ้านกรวด ในเดือนมิถุนายน ปี 2528 โดยกลุ่ม
                                                                    พั ฒ นาการปลู ก ศู น ย์ วิ จั ย ยางฉะเชิ ง เทรา สถาบั น
                                                                    วิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร สำหรับนิคมสร้างตนเอง
                                                                    ปราสาท เปิดกรีดล่าช้ากว่าแปลงอื่นๆ เนื่องจากพื้นที่
ภาพที่ 2 แปลงยางที่นิคมสร้างตนเองบ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ (14 มิ.ย.     ปลูกไม่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา กล่าวคือ พื้นที่
2522)
                                                                    ปลูกเป็นดินเหนียวจัด ที่ลุ่ม ระบายน้ำยาก ประกอบกับ
                                                                    แปลงปลูกยางอยู่ใกล้กับแปลงหม่อน จึงมีความจำกัด
                                                                    ในการใช้ ส ารเคมี ก ำจั ด วั ช พื ช ทำให้ มี วั ช พื ช มากและ
                                                                    รบกวนการเจริญเติบโตของยางพารา

                                                                                                 สรุป
                                                                    	       ยางพาราอี ส านต้ น แรกไม่ มี ห ลั ก ฐานชี้ ชั ด ว่ า
                                                                    อยู่ที่ไหน? เนื่องจากได้มีผู้พยายามนำมาปลูกเนิ่นนาน
                                                                    มาแล้วดังจะเห็นจากต้นยางอายุมากกว่า 40 ปี อยู่ใน
ภาพที่ 3 สวนยางที่ปลูกที่นิคมสร้างตนเองปราสาท จ.สุรินทร์ (9 มิ.ย.
2522)                                                               หลายท้องที่ แต่ประตูการพัฒนายางพาราอีสานได้เปิด
                                                                    ออกจากความร่วมมือของหลายฝ่าย อาทิ กองการยาง
                                                                    (สถาบันวิจัยยาง) กรมวิชาการเกษตร, กองนิคมสร้าง
มิถุนายน 2521                                                       ตนเอง กรมประชาสงเคราะห์, ผู้เชี่ยวชาญจากองค์กร
	     - นิคมสร้างตนเองปราสาท ปลูกเสร็จ วันที่ 30                    ระหว่างประเทศ และสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การ
มิถุนายน 2521                                                       ทำสวนยาง แต่กว่ายางอีสานจะยืนเป็นอาชีพหลักของ
	     - นิ ค มสร้ า งตนเองโพนพิ สั ย ปลู ก เสร็ จ วั น ที่ 1        เกษตรกรในภูมิภาคนี้ ก็ต้องผ่านอุปสรรคมานานัปการ
กรกฎาคม 2521                                                        จึงหวังว่ายางอีสานจะยืนยงไปชั่วกาลนานเช่นภูมิภาค
	     หลั ง จากปลู ก เสร็ จ แล้ ว ยั ง มี ก ารปลู ก ซ่ อ มอี ก      อื่นของประเทศตลอดไป
หลายครั้ง รวมทั้งหาทางแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการ
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555        15


ความเสียหายจากการกรีดยางต้นเล็ก
สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร

	        จากการขยายพื้นที่ปลูกยางในช่วงปี พ.ศ. 2547-                        มีจำนวนต้นรอดตายร้อยละ 91 ในขณะที่ต้นยางปลูก
2549 จำนวน 1 ล้านไร่ กระจายอยู่ในภาคตะวันออก                                ปี 2548 อายุ 1 ปี 6 เดือน มีจำนวนต้นยางรอดตาย
เฉียงเหนือ 7 แสนไร่ และภาคเหนือ 3 แสนไร่   สถาบัน                           ร้อยละ 90 และต้นยางปลูกปี 2547 อายุ 2 ปี 6 เดือน
วิจัยยางในฐานะหน่วยงานวิจัยได้ติดตามและประเมิน                              มี จ ำนวนต้ น ยางรอดตายร้ อ ยละ 90 และเมื่ อ ต้ น ยาง
การเจริญเติบโตของยางพาราตั้งแต่เริ่มปลูกถึงช่วงเวลา                         อายุ 4, 5 และ 6 ปีมีจำนวนต้นคงเหลือร้อยละ 82, 86
เก็บเกี่ยวผลผลิตน้ำยาง เพื่อศึกษาวิเคราะห์การเจริญ                          และ 85 ตามลำดับ (ภาพที่ 1)
เติ บ โตยางในแต่ ล ะสภาพแวดล้ อ ม ตลอดจนปั ญ หา                             	      นอกจากนี้ ยั ง ได้ ศึ ก ษาปั จ จั ย อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
อุ ป สรรคเพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ประกอบพิ จ ารณาจั ด ทำ                      กับการรอดตายดังนี้
มาตรฐานการเจริญเติบโตของต้นยางในเขตปลูกยาง                                  	      ช่วงเวลาปลูกยาง เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลโดยตรง
ใหม่ และเพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ในการวางแผนเพิ่ ม ผลผลิ ต                    ต่อความสำเร็จในการปลูกยางดังเช่นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
ยางและชี้ แ นะให้ ต ระหนั ก ถึ ง ผลเสี ย ของการกรี ด ยาง                    พบว่ า ในปี 2547 สวนยางส่ ว นใหญ่ ป ลู ก ในเดื อ น
ต้ น เล็ ก เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี ย หายกั บ ต้ น ยางและ                  สิงหาคมและกันยายน มีจำนวนต้นยางรอดตายร้อยละ
เกษตรกร รวมทั้งเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ                                      83 และ 73 ตามลำดั บ ในขณะที่ ส วนยางปลู ก ปี
                                                                            2548 ส่วนใหญ่ปลูกยางต้นฤดูฝนในเดือนพฤษภาคม-
                                    จำนวนต้นยางรอดตาย                       กรกฎาคม มีจำนวนต้นยางรอดตายร้อยละ 83, 87 และ
	        โดยภาพรวมต้นยางที่ปลูกปี 2549 อายุ 6 เดือน                         83 ตามลำดั บ ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ ค วรปลู ก ยางช่ ว งปลาย


                                                          ภาคเหนือ      ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ             รวม 2 ภาค
                                  100
                                         85    86    85        87      86       86                  85      83      82
                                   80
      จำนวนต้นคงเหลือรอดตาย (%)




                                   60

                                   40

                                   20

                                   0
                                              2547                    2548                                 2549
                                                                     ปี พ.ศ.

ภาพที่ 1 จำนวนต้นคงเหลือรอดตายของยางที่ปลูกปี 2547-2549 ในพื้นที่ปลูกยางภาคเหนือและภาคะวันออกเฉียงเหนือ
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555      16
ฤดู ฝ น โดยเฉพาะในเดื อ นกั น ยายน เพราะทำให้ มี                                  ความสม่ำเสมอของต้นยาง
จำนวนต้ น ยางตายมากกว่ า การปลู ก ยางต้ น ฤดู ฝ น                    	      สวนยางมี จ ำนวนต้ น คงเหลื อ และมี ก ารเจริ ญ
ตรงกั บ ผลงานวิ จั ย ของอารั ก ษ์ และคณะ (2530)                      เติบโตสม่ำเสมอใกล้เคียงกัน กล่าวคือ สวนยางที่ปลูก
รายงานว่ า การปลู ก ยางในช่ ว งเดื อ นกั น ยายนทำให้                 ปี 2547-2549 ทั้ ง 3 ปี มี ค วามสม่ ำ เสมอประมาณ
มี ผ ลสำเร็ จ ในการปลู ก ด้ ว ยยางชำถุ ง เพี ย งร้ อ ยละ             ร้ อ ยละ 98-100 นั่ น คื อ ต้ น ยางมี ข นาดสม่ ำ เสมอมาก
75 - 85 ดั ง นั้ น ควรปลู ก ยางในช่ ว งต้ น ฤดู ฝ นเมื่ อ ดิน        หรือต้นยางมีความแปรปรวนน้อย
มี ค วามชุ่ ม ชื้ น ดี เ พราะสามารถปลู ก ซ่ อ มต้ น ยางได้ ทั น      	      โ ด ย วั ด ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ์ ก า ร ก ร ะ จ า ย ค ว า ม
ภายในฤดู ก าลเดี ย วกั น และต้ น ยางเจริ ญ เติ บ โตได้ ดี            แปรปรวน (coefficient of variation,CV.,%) ความ
กว่าการปลูกยางในช่วงปลายฤดูฝน                                        สม่ำเสมอระดับดี (ขนาดของต้นยางมีการกระจายตัว
	        ปริ ม าณน้ ำ ฝน จากข้ อ มู ล ปริ ม าณน้ ำ ฝนเฉลี่ ย         น้อย) ปานกลางและค่อนข้างเลว มีค่า C.V. <20 %,
38 ปี ของกรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาพบว่ า พื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด       20-30% และ>30% ตามลำดับ (ภาพที่ 2)
ต่ า งๆ มี ป ริ ม าณน้ ำ ฝนปี 2547ลดลงจากปริ ม าณ
น้ ำ ฝนเฉลี่ ย 38 ปี ได้ แ ก่ จั ง หวั ด พะเยา น่ า น ลำปาง                       การเจริญเติบโตของต้นยาง
อุ บ ลราชธานี นครพนม และยั ง พบอี ก ว่ า พื้ น ที่ ใ น               มาตรฐานการเจริญเติบโตของต้นยาง
จั ง หวั ด เชี ย งราย พิ ษ ณุ โ ลก เลย อุ บ ลราชธานี และ             	        มาตรฐานขนาดลำต้นของต้นยางอายุ 2-6 ปี ใน
กาฬสิ น ธุ์ มี ป ริ ม าณน้ ำ ฝนในปี 2548 ลดลงจากปี                   ภาคเหนื อ และภาคะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ปรากฏตาม
2547 ซึ่ ง ทำให้ เ กิ ด ภาวะเสี่ ย งต่ อ การปลู ก ยาง                ข้ อ มู ล ในตารางที่ 1 ส่ ว นการเจริ ญ เติ บ โตเพิ่ ม ขนาด
เนื่ อ งจากมี ส ภาพแห้ ง แล้ ง มากกว่ า อย่ า งไรก็ ต าม             ของลำต้ น ของต้ น ยางอายุ 4-6 ปี มี ก ารกระจายตั ว
ไม่ พ บความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งจำนวนต้ น รอดตายกั บ               แบบแจกแจงปกติ (normal curve) (ภาพที่ 3)  
สภาพภู มิ อ ากาศ ได้ แ ก่ ปริ ม าณน้ ำ ฝนรายปี จำนวน
วันฝนตก อุณหภูมิ และความชื้น เป็นต้น                                 การเจริญเติบโตของต้นยางเปรียบเทียบกับค่า
	        สมบัติทางเคมีของดิน พื้นที่ปลูกยาง 11 จังหวัด               มาตรฐาน
พบว่ า มี ค่ า ความเป็ น กรด-ด่ า งอยู่ ใ นช่ ว ง 4.6 - 5.3          	         การปลู ก ยางในภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออก
ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ของพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกยาง                    เฉียงเหนือมีการส่งเสริมให้ปลูกยางตั้งแต่ปี 2532 และ
(สถาบันวิจัยยาง, 2553) ปริมาณอินทรียวัตถุ 0.6 - 2.9                  ขยายพื้ น ที่ ป ลู ก ยางเพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ รวมทั้ ง เกษตรกร
เปอร์ เ ซ็ น ต์ ปริ ม าณอิ น ทรี ย วั ต ถุ ต่ ำ สุ ด พบในพื้ น ที่   แต่ ล ะรายมี พื้ น ที่ ถื อ ครองที่ ดิ น ค่ อ นข้ า งจำกั ด จึ ง อาจ
จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ์ แ ละบุ รี รั ม ย์ และพบปริ ม าณอิ น ทรี ย์    เป็นสาเหตุที่ทำให้สภาพพื้นที่ปลูกยางไม่ค่อยเหมาะสม
สู ง สุ ด ในจั ง หวั ด เชี ย งราย นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า มี           ซึ่ ง การเจริ ญ เติ บ โตของต้ น ยางในภาคเหนื อ และภาค
ปริมาณความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัส 4.6 - 10.2                         ตะวันออกเฉียงเหนืออายุ 2 ½ ปี มีขนาดเส้นรอบลำต้น
มิลลิกรัม/กิโลกรัม ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ระดับต่ำ สำหรับ                  เฉลี่ย 14.2 และ 14.3 ซม. ตามลำดับ ใกล้เคียงกับเกณฑ์
ยางพารา ควรพิ จ ารณาและหาแนวทางเพิ่ ม ปริ ม าณ                       มาตรฐานการเจริญเติบโตของสถาบันวิจัยยางในภาค
ฟอสฟอรั ส เพื่ อ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ กั บ ต้ น ยางมากขึ้ น           เหนื อ ยางอายุ 3-6 ปี มี ข นาดลำต้ น ต่ ำ กว่ า เกณฑ์
ส่ ว นปริ ม าณโพตั ส เซี ย มแลกเปลี่ ย นได้ 22.2-54.6                มาตรฐาน ส่ ว นในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ พบว่ า
มิ ล ลิ ก รั ม /กิ โ ลกรั ม อยู่ ใ นเกณฑ์ ที่ เ หมาะสมกั บ ยาง       ยางอายุ 3 ปีขนาดลำต้นยางยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
พารา พื้นที่ในจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน และเลย                      แต่ เ มื่ อ ยางอายุ 4-6 ปี ข นาดของลำต้ น ต่ ำ กว่ า เกณฑ์
มี ป ริ ม าณธาตุ อ าหารสู ง เพราะพื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ป่ า    มาตรฐาน ดั ง นั้ น ต้ น ยางในเขตภาคเหนื อ และภาค
เปิ ด ใหม่ และอย่ า งไรก็ ต าม ไม่ พ บความสั ม พั น ธ์               ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มี ข นาดเส้ น รอบลำต้ น ต่ ำ กว่ า
ระหว่างจำนวนต้นรอดตายกับสมบัติทางเคมีของดิน                          เกณฑ์มาตรฐาน 17 %และ 12 % ตามลำดับ ดังนี้
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55

More Related Content

Similar to วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55

010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2watdang
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPanuchanat
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
niralai
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
pinyada
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัสbitzren
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 

Similar to วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55 (20)

ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
File
FileFile
File
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1
11
1
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัส
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 

More from สุพัชชา อักษรพันธ์

วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556สุพัชชา อักษรพันธ์
 
Munzzz magazine
Munzzz magazineMunzzz magazine
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนสุพัชชา อักษรพันธ์
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกสุพัชชา อักษรพันธ์
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105สุพัชชา อักษรพันธ์
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียนรายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
รถคันแรก
รถคันแรกรถคันแรก
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
สุพัชชา อักษรพันธ์
 

More from สุพัชชา อักษรพันธ์ (20)

Sexmag
SexmagSexmag
Sexmag
 
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
 
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
 
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
 
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
 
วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 1 ปีที่ 35
วารสารยางพาราฉบับที่ 1  ปีที่ 35วารสารยางพาราฉบับที่ 1  ปีที่ 35
วารสารยางพาราฉบับที่ 1 ปีที่ 35
 
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
 
Nissan juke e brochure
Nissan juke e brochureNissan juke e brochure
Nissan juke e brochure
 
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
 
Munzzz magazine
Munzzz magazineMunzzz magazine
Munzzz magazine
 
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
 
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียนรายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34
 
รถคันแรก
รถคันแรกรถคันแรก
รถคันแรก
 
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
 

Recently uploaded

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 

Recently uploaded (8)

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 

วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55

  • 1. โดยได้รับพระบรมราชานุญาต ปีที่ 33 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11
  • 2. ความฝันอันสูงสุด ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ ขอสู้ศึกทุกเมื่อไม่หวั่นไหว ขอทนทุกข์รุกโรมโหมกายใจ ขอฝ่าฟันผองภัยด้วยใจทะนง จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง จะยอมตายหมายให้เกียรติดำรง จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา ไม่ท้อถอยคอยสร้างสิ่งที่ควร ไม่เรรวนพะว้าพะวังคิดกังขา ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง หมายผดุงยุติธรรมอันสดใส ถึงทนทุกข์ทรมานนานเท่าใด ยังมั่นใจรักชาติองอาจครัน โลกมนุษย์ย่อมจะดีกว่านี้แน่ เพราะมีผู้ไม่ยอมแพ้แม้ถูกหยัน คงยืนหยัดสู้ไปใฝ่ประจัญ ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย
  • 3. ปีที่ 33 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 สารบัญ บทความ 2 พระผู้ทรงประทาน สืบสานยางพาราไทย 8 113 ปียางพาราไทย จากยางพาราต้นแรกถึงปัจจุบัน 11 ใคร ?.. เปิดประตูยางพาราอีสาน 15 ความเสียหายจากการกรีดยางต้นเล็ก 33 เตือนภัยสวนยาง ประจำฉบับ 28 สรุปสถานการณ์ราคายางพาราในไตรมาสที่ 3 ของปี พ.ศ. 2555 และแนวโน้มในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2555 ข่าวสถาบันวิจัยยาง 43 ย้ายข้าราชการ...
  • 4. บทบรรณาธิการ ยางพารา พืชประวัติศาสตร์คู่ชีวิตเกษตรกรไทย “พื ช ที่ ส ำคั ญ ทางภาคใต้ คื อ ยางพารา ซึ่ ง ยางนี้ ก็ ไว้ ใ นวารสารฉบั บ นี้ นั บ จากยางต้ น แรกของแผ่ น ดิ น ไปเกี่ ย วข้ อ งกั น หลายด้ า น เป็ น ต้ น ไม้ ก็ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สยามจวบจนการขยายเขตปลูกยางพาราสู่ดินแดนแห่ง กรมป่าไม้ ซึ่งตามปกติก็ไม่ถือว่าเป็นเหมือนเรียกต้นไม้ ความแห้ ง แล้ ง กั น ดารในอดี ต ของภาคตะวั น ออกเฉี ย ง เพราะการยางเป็นผู้ศึกษาเรื่องของต้นยาง แต่ต้นยางก็ เหนือมาสู่ความยั่งยืนในการประกอบอาชีพสวนยางใน เป็ น ต้ น ไม้ เ หมื อ นกั น ฉะนั้ น กรมป่ า ไม้ แ ละการยางก็ ภูมิภาคนี้ ยางพาราจะมีส่วนในการเปลี่ยนดินแดนแถบ ร่ ว มมื อ กั น ได้ นอกจากนั้ น การยางก็ จ ะต้ อ งเกี่ ย วกั บ นี้ให้หวนกลับคืนสู่ความร่มรื่น ร่มเย็น และชุ่มฉ่ำไปด้วย อุ ต สาหกรรมเหมื อ นกั น เพราะว่ า ถ้ า ได้ ย างแล้ ว ก็ ต้ อ ง ฝน แม้ จ ะไม่ ส ามารถหวนกลั บ ความเป็ น ดงพญาเย็ น ไปใช้ ป ระโยชน์ ป้ อ นโรงงานอุ ต สาหกรรม ฉะนั้ น ทั้ ง เช่นอดีต แต่ก็จะคลายความแห้งแล้งลง ไม่ต้องอพยพ อุ ต สาหกรรมใหญ่ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมในครั ว เรื อ นก็ ต้ อ ง ทิ้ ง พื้ น ที่ ท ำกิ น เช่ น อดี ต ถ้ า พวกเราในพื้ น ที่ นี้ ช่ ว ยกั น เกี่ยวข้องด้วย” อนุรักษ์ป่าไม้โดยน้อมนำพระราชกระแสรับสั่งไปปฏิบัติ เนื่องในโอกาสมหามงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา เพื่อเป็นกำลังใจและสร้างจิตใจให้แข็งแกร่งสู้กับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาล ปัญหาทั้งมวล โดยเฉพาะความโลภในใจตน สถาบันวิจัย ที่ ๙ ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ สถาบันวิจัยยาง กรม ยางก็ได้น้อมนำเอาบทเพลง “ความฝันอันสูงสุด” มาเพื่อ วิ ช าการเกษตร จึ ง ขออั ญ เชิ ญ พระราชกระแสรั บ สั่ ง ให้พวกเราชาวยางได้ยึดเป็นปณิธานแม้จะปิดทองหลัง ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ขณะเสด็ จ พระราชดำเนิ น ตรวจเยี่ ย ม องค์ พ ระปฏิ ม าก็ ไ ม่ ท้ อ ถอย เฉกเช่ น รอยพระบาทที่ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ได้นำและ กับนายสิทธิลาภ วสุวัต รองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน เมื่อ แสดงเป็นตัวอย่างให้พวกเราได้เทิดทูนไว้เหนือเกล้าแล้ว วันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๖ ข้างต้น เพื่อบันทึกให้ จะเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง ถ้าเกษตรกรชาว อนุชนรุ่นหลังศึกษาพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ สวนยางไม่ ส ามารถเอาชนะใจตน เร่ ง กรี ด ยางต้ น เล็ ก ต่อพสกนิกรชาวสวนยางเพื่อยึดถือเป็นแนวปฏิบัติทั้งใน นอกจากผลผลิ ต ไม่ ไ ด้ ต ามเป้ า หมายที่ ค วรได้ แต่ ก ลั บ ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้ การดำเนินชีวิตในครัวเรือนตามแนว ทำให้ เ กิ ด ความเสี ย หายใหญ่ ห ลวงต่ อ ประเทศทั้ ง ในแง่ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยางของ เศรษฐกิจและความเป็นป่าไม้ที่จะนำความชุ่มชี้นสู่แดน ประเทศและอื่ นๆ อันเนื่องมาจากพระราชกระแสรับสั่ง อีสานอันเป็นที่รักยิ่งของพวกเราชาวไทยทั้งมวล ที่ทุกคนควรน้อมนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ทั้งตนเองและ ส่วนรวมสืบไป สุจินต์ แม้นเหมือน ในโอกาสนี้ สถาบันวิจัยยางได้นำเอาเนื้อหาทาง บรรณาธิการ ประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับยางพาราบางส่วนมาบันทึก เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร สุจินต์ แม้นเหมือน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง บรรณาธิการ นายสุจินต์ แม้นเหมือน ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิการ เอนก กุณาละสิริ, พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์ ไพรั ต น์ ทรงพานิ ช ผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สมจิ ต ต์ ศิ ข ริ น มาศ ผู้ ช่ ว ยผู้ จั ด การสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จั ก รพงศ์ อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง วราวุธ ชูธรรมธัช
  • 5. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 2 พระผู้ทรงประทาน สืบสานยางพาราไทย สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เมื่ อ วั น ที่ 11 กั น ยายน พ.ศ. 2526 พระบาท พฤกษศาสตร์ Heneratgoda ประเทศศรี ลั ง กา ในปี สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช รั ช กาลที่ 9 ต่ อ มาได้ ส่ ง ต้ น กล้ า ที่ โ ตแล้ ว จากประเทศศรี ลั ง กา ทรงสนพระราชหฤทั ย ทางด้ า นยางพารา ทรงมี จำนวน 22 ต้ น ไปปลู ก ที่ ส วนพฤกษศาสตร์ สิ ง คโปร์ พระราชกระแสรับสั่ง ขณะเสด็จพระราชดำเนินตรวจ 13 ต้ น และอี ก 9 ต้ น ปลู ก หลั ง บ้ า นข้ า หลวงใหญ่ เยี่ยมโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัด อังกฤษ ที่กัวลากังซา รัฐเปรัค ประเทศมาเลเซีย ต้นยาง นราธิ ว าส กั บ นายสิ ท ธิ ล าภ วสุ วั ต รองอธิ บ ดี ก รม เหล่ า นี้ จึ ง เป็ น พ่ อ แม่ พั น ธุ์ ข องยางพาราที่ ป ลู ก กั น ใน พั ฒ นาที่ ดิ น ในขณะนั้ น มี ค วามว่ า “พื ช ที่ ส ำคั ญ ทาง เอเชียจวบจนทุกวันนี้ ภาคใต้ คื อ ยางพารา ซึ่ ง ยางนี้ ก็ ไ ปเกี่ ย วข้ อ งกั น หลาย ในปี ร.ศ. 129 (พ.ศ. 2425) ในสมั ย พระบาท ด้ า น เป็ น ต้ น ไม้ ก็ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กรมป่ า ไม้ ซึ่ ง ตามปกติ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ทรง ก็ ไ ม่ ถื อ ว่ า เป็ น เหมื อ นเรี ย กต้ น ไม้ เพราะการยางเป็ น จั ด การแสดงกสิ ก รรมแลพาณิ ช การโดยให้ ก ระทรวง ผู้ศึกษาเรื่องของต้นยาง แต่ต้นยางก็เป็นต้นไม้เหมือน เกษตราธิการซึ่งมีสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชมกุฎราช กั น ฉะนั้ น กรมป่ า ไม้ แ ละการยางก็ ร่ ว มมื อ กั น ได้ กุ ม ารเป็ น กิ ติ ม ศั ก ดิ น ายกในการจั ด แสดงกสิ ก รรม นอกจากนั้ น การยางก็ จ ะต้ อ งเกี่ ย วกั บ อุ ต สาหกรรม แลพาณิ ช การและพระยาวงษานุ ป ระพั น ธ์ ซึ่ ง เป็ น เหมือนกัน เพราะว่าถ้าได้ยางแล้วก็ต้องไปใช้ประโยชน์ เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการร่วมจัดการในครั้งนี้ การ ป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ฉะนั้น ทั้งอุตสาหกรรมใหญ่ จั ด แสดงกสิ ก รรมแลพาณิ ช การที่ มี ใ นกรุ ง เทพฯ ทั้งอุตสาหกรรมในครัวเรือนก็ต้องเกี่ยวข้องด้วย” (ที่มา : ครั้ ง แรกนี้ เป็ น ไปตามพระราชประสงค์ แ ลประโยชน์ หนั ง สื อ 84 พรรษา กษั ต ริ ย์ เ กษตร เฉลิ ม พระเกี ย รติ แก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า ซึ่งในการจัดแสดงมีสิ่งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราช นำมาแสดงมากมายเช่น การประกวดพันธุ์ข้าว พันธุ์พืช พิธีมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา) ต่างๆ แร่ธาตุต่างๆ, ของป่า เช่น ครั่ง, ขี้ผึ้ง, น้ำมันยาง, ยางพารา (Hevea brasiliensis) มี ถิ่ น กำเนิ ด เครื่ อ งจั ก รเครื่ อ งยนต์ , เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการกสิ ก รรม เดิ ม แถวลุ่ ม แม่ น้ ำ อะเมซอนในประเทศบราซิ ล ทวี ป เป็ น ต้ น (จากหนั ง สื อ รายงานการแสดงกสิ ก รรมแล อเมริกาใต้ ยางพาราเป็นพืชที่ให้น้ำยาง ชาวพื้นเมือง พาณิชการครั้งที่ 1 วันที่ 18 เมษายน รัตนโกสินทร์ศก แถบอเมริกาใต้เรียกต้นไม้ที่ให้น้ำยางนี้ว่า “คาอุท์ชุค” 129 เรียบเรียงโดย มิศเตอร์ เย.ซี. บารเน็ต แปลโดย (Caoutchouc) ซึ่งแปลว่าต้นไม้ร้องไห้ ก่อนที่ยางพารา ขุนธราภาคพาที) จะมาเจริญงอกงามในแถบทวีปเอเชียและสร้างมูลค่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง มหาศาลให้ กั บ ประเทศผู้ ป ลู ก ยางในปั จ จุ บั น ชาว ได้เห็นความสำคัญของการทำกสิกรรมของประชาชน อังกฤษที่สมควรได้รับการยกย่องคือ เซอร์เฮนรี วิคแฮม คนไทยเป็นสำคัญ ได้นำเมล็ดยางพาราจำนวน 70,000 เมล็ดจากประเทศ อนึ่ง ต้นยางพาราก็เริ่มเข้ามาปลูกอยู่ทางภาคใต้ บราซิลและเปรู ไปเพาะที่สวนพฤกษศาสตร์คิว ประเทศ ในเมื อ งตรั ง บ้ า งแล้ ว แต่ ยั ง ไม่ ค่ อ ยแพร่ ห ลายมากนั ก อั ง กฤษ ในปี พ.ศ. 2419 จนได้ ต้ น กล้ า ยางจำนวน ผู้ที่นำเข้าปลูก คือ พระยารัษฎานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี 2,700 ต้น ในจำนวนนี้ 1,900 ต้น ได้ส่งมาปลูกที่สวน (คอซิ ม บี้ ณ ระนอง) ในปี พ.ศ. 2443 ในสมั ย ของ
  • 6. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 3 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงมี พ ระบรม พ.ศ. 2453 มีการปลูกยางพารากันแพร่หลายมากขึ้น ราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ ป ระกาศโดยที่ เ ป็ น การ และมี พั น ธุ์ ย างหลายสายพั น ธุ์ เ ข้ า มาปลู ก ทางภาคใต้ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยกองทุนสงเคราะห์ มากขึ้ น ในสมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า การทำสวนยาง (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2505 (คั ด จาก อยู่หัว (รัชกาลที่ 7) พ.ศ. 2475 ได้มีประกาศพระบรม ราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ ม ที่ 77 ตอนที่ 105 วั น ที่ 27 ราชโองการ ให้ ตั้ ง สถานี ท ดลองกสิ ก รรมภาคใต้ พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) (หาดใหญ่ ) ต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น สถานี ก ารยาง จากเอกสารต่างๆ ที่ได้บันทึกพระราชกรณียกิจ คอหงส์ (เอกสารที่มา : ประวัติและสถิติผลงานของกรม ของพระมหากษัตริย์ไทย เกี่ยวข้องกับด้านการเกษตร กสิ ก รรม) ปี พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า เป็ น ส่ ว นมาก โดยเฉพาะตั้ ง แต่ รั ช กาลที่ 5 จนถึ ง อยู่หัวอนันทมหิดลได้ทรงมีประกาศพระบรมราชโองการ รั ช กาลปั จ จุ บั น รั ช กาลที่ 9 ที่ พ ระองค์ ท่ า นทรงเน้ น (คณะผู้ ส ำเร็ จ ราชการแทนพระองค์ ต ามประกาศ ด้ า นการเกษตรเป็ น อย่ า งมาก ทรงมี พ ระเนตรอั น ประธานสภาผู้ แ ทนราษฎร์ ) ให้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ กว้างไกลที่มองพสกนิกรของพระองค์ท่านให้อยู่ดีกินดี ควบคุมจำกัดยาง พุทธศักราช 2477 ซึ่งเป็นกฎหมาย และค้ า ขายแข่ ง ขั น กั บ ต่ า งประเทศได้ โดยเฉพาะ และกฎกระทรวงเกษตราธิการ และในปี พ.ศ. 2481 ได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาล มีการแก้ไขกฎหมายและกฎกระทรวงเกษตราธิการโดย ที่ 9 ปั จ จุ บั น พระองค์ ท่ า นฯ ได้ ท รงพระกรุ ณ า ยกเลิกพระราชบัญญัติควบคุมจำกัดยาง พ.ศ. 2477 โปรดเกล้าฯ จัดตั้งโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมจำกัดยาง พ.ศ. 2481 มากมายกว่ า 4,000 โครงการ โดยมี ศู น ย์ ศึ ก ษาการ แทน (ที่มา : หนังสือพระราชบัญญัติควบคุมจำกัดยาง พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 6 ศูนย์ ที่ 2477-2481 ฉบับกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี) จั ด ตั้ ง ทั่ ว ประเทศเป็ น ศู น ย์ ก ลางให้ แ ก่ เ กษตรกรเข้ า พ.ศ. 2503 ในพระปรมาภิไ ธยพระบาทสมเด็จ ไปศึกษาดูงานด้านการเกษตร เช่น โครงการศูนย์ศึกษา พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช โดยมี ส มเด็ จ พระ การพั ฒ นาพิ กุ ล ทอง โครงการศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา ศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี เ ป็ น ผู้ ส ำเร็ จ ราชการแทน เขาหิ น ซ้ อ น โครงการศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ าน พระองค์ ให้ ไ ว้ ณ วั น ที่ 25 สิ ง หาคม พ.ศ. 2503 เป็ น ต้ น ที่ มี ก ารปลู ก ยางพาราอยู่ ใ นโครงการของ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. พระองค์ ท่ า นซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น พระมหากรุ ณ าอั น หาที่ สุ ด 2503 กฎหมายเริ่ ม มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ วั น ที่ 5 ธั น วาคม มิ ไ ด้ จวบกระทั่ ง เวลานี้ ไ ด้ มี เ กษตรกรได้ ป ลู ก ยาง พ.ศ. 2503 พระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สงเคราะห์ ก าร พาราแพร่ ห ลายไปเกื อ บทั่ ว ประเทศแล้ ว จึ ง นั บ ได้ ว่ า ทำสวนยาง พ.ศ. 2503 ให้จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์การ พระมหากษัตริย์ของประเทศไทยทุกพระองค์ทรงพระ ทำสวนยาง เพื่อช่วยเหลือเจ้าของสวนยาง ให้ปรับปรุง ปรี ช าการพั ฒ นาในด้ า นการเกษตรเพื่ อ ให้ พ สกนิ ก ร สวนยางให้ดีขึ้น (คัดจากราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 77 ของพระองค์ ท่ า นฯ ได้ มี ค วามรู้ เ พื่ อ นำไปใช้ ใ ห้ เ กิ ด ตอนที่ 73 วันที่ 6 กันยายน 2503) ประโยชน์ สู ง สุ ด ในการทำการเกษตรให้ ทั น สมั ย ยิ่ ง ขึ้ น พ.ศ. 2505 ในพระปรมาภิไ ธยพระบาทสมเด็จ สืบไป
  • 11. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 8 113 ปียางพาราไทย จากยางพาราต้นแรกถึงปัจจุบัน สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ พระอัษฎงทิศรักษา ตำแหน่งผู้ว่าราชการเมืองตระบุรี ม หิ ศ ร ภั ก ดี ( ค อ ซิ ม บี้ ณ (กระบุรี) ระนอง) เป็ น นั ก ปกครองที่ มี ปี พ.ศ. 2433 ได้ รั บ พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ความสามารถ และมีชื่อเสียง เป็ น พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี ตำแหน่ ง ผู้ ว่ า เป็นที่ยอมรับในวงการพัฒนา ราชการเมืองตรัง ที่ ทั น ส มั ย โ ด ย มุ่ ง พั ฒ น า ปี พ.ศ. 2444 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็น บ้านเมืองใน 6 ด้านด้วยกัน คือ การคมนาคมสื่อสาร สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต การศึ ก ษา การสาธารณสุ ข การปราบโจรผู้ ร้ า ย พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี ไ ด้ ถึ ง แก่ การรั ก ษาความสงบ และการเกษตรกรรม ทั้ ง นี้ ไ ด้ อนิ จ กรรม เมื่ อ วั น ที่ 10 เมษายน 2456 ณ บ้ า น วางแผนการพัฒนาไว้ล่วงหน้าทุกจังหวัดและแตกต่าง จักรพงษ์ปีนัง สิริอายุได้ 56 ปี กันไปตามสภาพแวดล้อมของพื้นที่นั้นๆ ด้ ว ยตำแหน่ ง หน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ รั บ ผิ ด พระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี (คอซิ ม บี้ ชอบดูแลหัวเมืองตะวันตก ตั้งแต่ภูเก็ต ระนอง พังงา ณ ระนอง) เป็ น บุ ต รคนที่ 6 ในจำนวน 11 คน ของ กระบี่ ตะกั่ ว ป่ า และตรั ง ทำให้ ท่ า นมี ผ ลงานเป็ น ที่ พระยาดำรงสุจริตมหิศรภักดี (คอซู่เจียง) และคุณหญิง ลื อ เลื่ อ งโดยเฉพาะด้ า นเกษตรกรรม พระยารั ษ ฎานุ ซิทท์ กิ้มเหลียน เกิดเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2400 ประดิษฐ์มหิศรภักดีได้เดินทางไปดูงานด้านเกษตรกรรม เมื่ออายุได้ 9 ขวบ ได้ติดตามบิดาเดินทางไปประเทศ ในประเทศมลายูและได้เห็นการปลูกยางและมีผลผลิต จี น เพื่ อ ศึ ก ษาภาษาจี น และการทำธุ ร กิ จ ทำให้ ท่ า น ที่ ดี ม าก ก็ เ กิ ด ความสนใจที่ จ ะนำยางเข้ า มาปลู ก ใน ไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือไทย แต่ท่านสามารถเขียน ประเทศไทยบ้างเพื่อทดแทนพืชเศรษฐกิจส่งออกของ ภาษาจีน และพูดได้ถึง 9 ภาษา ปี พ.ศ. 2425 บิดา ไทย เช่น พริกไทย ซึ่งมีราคาตกต่ำมากในขณะนั้น ได้ถึงแก่อ นิจ กรรม คอซิ ม ก๊อ งซึ่ งเป็ นพี่ช าย ได้นำเข้า แต่การปลูกยางในประเทศไทยยังไม่มีหลักฐาน ไปถวายตั ว เป็ น มหาดเล็ ก ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ ที่แน่ชัดว่าเริ่มปลูกกันเมื่อใด แต่เชื่อกันว่า พระยารัษฎา พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ครองราชสมบัติ นุ ป ระดิ ษ ฐ์ ม หิ ศ รภั ก ดี (คอซิ ม บี้ ณ ระนอง) ขณะที่ และพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ ดำรงตำแหน่ ง เจ้ า เมื อ งตรั ง ได้ น ำยางจากรั ฐ เปรั ค ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯพระราชทานสั ญ ญาบั ต ร ประเทศมลายู เข้ามาปลูกที่อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ดังนี้ ครั้งแรกเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2442 – 2443 และได้ ปี พ.ศ. 2425 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็น แจกจ่ า ยเมล็ ด พั น ธุ์ ใ ห้ ร าษฎรในภาคใต้ ไ ด้ ป ลู ก ยาง หลวงบริ รั ก ษ์ โ ลหวิ สั ย ตำแหน่ ง ผู้ ช่ ว ยราชการเมื อ ง ตั้ ง แต่ นั้ น มา และได้ มี ก ารขยายพื้ น ที่ ป ลู ก ยางไปทั่ ว ระนอง 14 จังหวัดภาคใต้ ปี พ.ศ. 2428 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็น ในปี พ.ศ. 2451 หลวงราชไมตรี (ปูม ปุณศรี)
  • 12. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 9 กลุ่ ม นี้ มี บ ทบาทต่ อ การผลั ก ดั น เสนอร่ า ง พรบ. ปลู ก แทนต่อรัฐบาลซึ่งใช้เวลาถึง 6 รัฐบาล ในระยะเวลา 6 ปี จึ ง ออกพระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สงเคราะห์ ก าร ทำสวนยาง และมีการประกาศใช้ ในปี 2503 ในปี พ.ศ. 2504 กิ จ การปลู ก แทนก้ า วหน้ า ไป ได้ด้วยดี เป็นที่พึงพอใจของชาวสวนยางในภาคใต้ ในปี พ.ศ. 2508 ดร. เสริ ม ลาภ วสุ วั ต เป็ น ผู้ วางรากฐานการวิ จั ย และพั ฒ นายาง การค้ น คว้ า วิ จั ย เกี่ ย วกั บ ยางพาราทุ ก ๆ ด้ า นซึ่ ง เป็ น สิ่ ง จำเป็ น อย่ า งยิ่ ง สำหรับความก้าวหน้าของอุตสาหกรรมยางไทย ภาพที่ 1 ต้นยางต้นแรก ภาพที่ 2 พระยารัษฎานุประดิษฐ์ ภาพที่ 3 หลวงราชไมตรี ได้นำยางไปปลูกที่จังหวัดจันทบุรี จึงได้มีการขยายการ ปลู ก ยางพาราในภู มิ ภ าคนี้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จนกระทั่ ง มีการปลูกกันทั่วไป ใน 3 จังหวัด ภาคตะวันออก คือ จันทบุรี ระยอง และตราด และกลายเป็นพืชเศรษฐกิจ ที่สำคัญของภาคตะวันออก ในช่ ว งปี พ.ศ. 2475 หลวงสุ ว รรณวาจกกสิกิจ ผู้ ก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น ฝึ ก หั ด ค รู ป ร ะ ถ ม ก สิ กร ร ม ขึ้ น ที่ คอหงส์ หลวงสุ ว รรณวาจกกสิ กิ จ ได้ ก่ อ ตั้ ง สถานี ภาพที่ 4 หลวงสำรวจพฤกษาลัย ภาพที่ 5 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ ทดลองกสิ ก รรมภาคใต้ ขึ้ น ที่ บ้ า นชะมวง อำเภอ (สมบูรณ์ ณ ถลาง) ควนเนี ย ง จั ง หวั ด สงขลา และในปี 2476 ได้ ย้ า ย สถานี ท ดลองดั ง กล่ า วไปตั้ ง ที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอ หาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา และได้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง หลวง สุวรรณฯ ให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก ในปี พ.ศ. 2496 หลวงสำรวจพฤกษาลั ย (สมบูรณ์ ณ ถลาง) หัวหน้ากองการยาง กรมกสิกรรม ซึ่ ง เข้ า ดำรงตำแหน่ ง เมื่ อ ปี พ.ศ. 2493 และนายรัตน์ เพชรจันทร ผู้ช่วยหัวหน้ากองการยาง และนายเสียน ทองจั น ทร์ เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ สู ง กองการยาง บุ ค คล ภาพที่ 6 นายรัตน์ เพชรจันทร์ ภาพที่ 7 ดร. เสริมลาภ วสุวัต
  • 13. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 10 ในปี พ.ศ. 2521 กรมวิชาการเกษตร และกรม ระหว่ า งประเทศ และประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ประชาสงเคราะห์ได้เริ่มงานทดลองปลูกสร้างสวนยาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ และการ พาราตามหลักวิชาการการปลูกสร้างสวนยางแผนใหม่ ใช้ เ ทคโนโลยี ส ะอาดที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง จะ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยทำการปลูกในจังหวัด ทำให้ไทยพร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่างมั่นคง หนองคาย บุ รี รั ม ย์ และจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ซึ่ ง ก็ ป ระสบ จึงเป็นความท้าทาย และเป็นโอกาสใหม่ของไทย ความสำเร็ จ ได้ รั บ ผลผลิ ต ยางไม่ แ ตกต่ า งจากผลผลิต กว่ า หนึ่ ง ศตวรรษหลั ง จากที่ ไ ด้ น ำยางพาราเข้ า ยางในภาคใต้ แ ละภาคตะวั น ออกมากนั ก ด้ ว ยเหตุ นี้ มาปลู ก ในราชอาณาจั ก รไทย จนเป็ น พื ช เศรษฐกิ จ จึงเริ่มมีการค้นคว้าวิจัยและพัฒนาการปลูกยางในเขต สำคั ญ ของประเทศ โดยครองความเป็ น ผู้ น ำในการ พื้ น ที่ แ ห้ ง แล้ ง และเป็ น การเริ่ ม ขยายเขตการปลู ก ผลิ ต และส่ ง ออกยางธรรมชาติ ม ากที่ สุ ด ของโลกมา ยางพาราไปสู่ เ ขตการปลู ก ยางใหม่ ข องประเทศไทย ตั้ ง แต่ ปี 2534 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ยั ง ความภาคภู มิ ใ จแก่ อย่างจริงจัง วงการพัฒนายางพาราไทยเป็นอย่างยิ่ง การค้นคว้าวิจัยและพัฒนายาง เพื่อขยายพื้นที่ ปลูกยางนั้น สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ได้มุ่ง เน้ น ค้ น คว้ า วิ จั ย หลายด้ า นอย่ า งครบวงจร เช่ น เพิ่ ม บรรณานุกรม ประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกร และเพิ่มผลผลิต รัตน์ เพชรจันทร. 2513. สำนักงานกองทุนสงเคราะห์ ของประเทศได้ อี ก ด้ ว ยการพั ฒ นาศั ก ยภาพการผลิ ต การทำสวนยาง. 623 หน้า. ยางให้เปิดกรีดได้เร็ว และให้ผลผลิตสูง โดยการเลือก สถาบั น วิ จั ย ยาง กรมวิ ช าการเกษตร. 2555.ข้ อ มู ล ใช้ พั น ธุ์ ย างและเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมกั บ พื้ น ที่ การ วิชาการยางพารา 2555. 123 หน้า. จั ด การสวนยาง รวมถึ ง การเขตกรรม การจั ด การโรค สำนั ก งานกองทุ น สงเคราะห์ ก ารทำสวนยาง. 2553. และศัตรูยาง การจัดการธาตุอาหารพืช และการจัดการ บั น ทึ ก ความทรงจำกึ่ ง ศตวรรษ สกย. โรงพิ ม พ์ ระบบกรี ด ที่ ท ำให้ ส ามารถเพิ่ ม ผลผลิ ต ต่ อ หน่ ว ยพื้ น ที่ เทพเพ็ญวานิสย์. 289 หน้า. และลดต้ น ทุ น การผลิ ต อี ก ทั้ ง ได้ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรม www.naranong.net. ทำเนี ย บตระกู ล ณ ระนอง. แปรรู ป ยาง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างและไม้ ย างพาราเพื่ อ เพิ่ ม 2555. มูลค่ายางธรรมชาติ และนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยาง www.rubber.co.th. สำนั ก งานกองทุ น สงเคราะห์ ที่ มี คุ ณ ภาพเพื่ อ เพิ่ ม การใช้ ย างและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างใน การทำสวนยาง. 2555. ประเทศให้ ม ากขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งสนั บ สนุ น ด้ า น www.rubberthai.com. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการ การตลาด พั ฒ นาระบบตลาดทั้ ง ในประเทศ และ เกษตร. 2555. ต่ า งประเทศ ตลอดจนความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รยาง
  • 14. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 11 ใคร?..เปิดประตูยางพาราอีสาน1 สุจินต์ แม้นเหมือน ² ประพาส ร่มเย็น ³ และ ชัยโรจน์ ธรรมรัตน์ 4 ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) เป็น สำรวจ) คาดว่าปลูกมาก่อนปี 2500 ครั้งแรกปลูกได้ ไม้ยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดในบริเวณร้อนและชุ่มชื้น ขึ้นแถบจำนวนหลายสิบไร่เป็นลักษณะของสวนยาง แต่ต่อมาได้ ลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ ต่อมาได้ขยายการ โค่นล้มต้นยางเปลี่ยนสภาพเป็นไร่ข้าวโพด ยังมีต้นยาง ปลูกไปยังประเทศใกล้เส้นศูนย์สูตร แหล่งผลิตที่สำคัญ เหลือบริเวณขอบแปลงกระจัดกระจายอยู่ประมาณ 20 ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย แหล่งปลูก ต้น ความเจริญเติบโตของต้นยางที่ระดับความสูง 1.50 ยางเดิมของประเทศไทยมีอยู่ในท้องที่ 14 จังหวัดภาคใต้ เมตร มี เ ส้ น รอบวงของลำต้ น เฉลี่ ย ประมาณ 60 และ 3 จังหวัดภาคตะวันออก คือ ระยอง จันทบุรี และ เซนติเมตร ต้นยางมีการผลัดใบออกดอกและติดผล แต่ ตราด ในปี 2521 สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ต้นยางเหล่านี้ปลูกด้วยเมล็ดพื้นเมืองจึงให้ผลผลิตต่ำ ได้ เ ริ่ ม ปลู ก ยางทดสอบในจั ง หวั ด ของภาคตะวั น ออกเจ้าของแปลงไม่เอาใจใส่และสนใจจึงโค่นทิ้งเอาไม้ไปใช้ เฉียงเหนือหรือภาคอีสาน ที่จังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ และประโยชน์ หนองคาย ซึ่งได้ผลเป็นที่น่าพอใจ 2. ต้นยางที่วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิ ท ยาเขตเกษตรสุ ริ น ทร์ อ.เมื อ ง จ.สุ ริ น ทร์ มี ต้ น ยาง ต้นยางพื้นเมืองที่มีอยู่เดิมในภาคอีสาน พาราขึ้นอยู่ในบริเวณริมสระน้ำ ปลูกด้วยเมล็ดพื้นเมือง ยางพาราในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ได้ มี ผู้ มีอยู่ 2 ต้น ต้นหนึ่งแตกเป็นลำต้นคู่ขึ้นมาจากโคนต้น พยายามนำมาปลูกเป็นเวลาเนิ่นนานมาแล้ว ดังจะเห็น อายุประมาณ 18 ปี การเจริญเติบโตของลำต้นที่ระดับ ได้จากมีต้นยางเก่า อายุมาก อยู่ในหลายท้องที่ อาทิ ต้น ความสู ง 1.50 เมตร ขนาดของเส้ น รอบวงลำต้ น ยางพาราอายุ ม ากกว่ า 40 ปี ที่ บ ริ เ วณหลั ง อาคาร ประมาณ 1.00 เมตร กรีดทดสอบผลการไหลของน้ำยาง พิพิธภัณฑ์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุทธาวาส จังหวัด ผลน้ำยางไหลดี สกลนคร เป็นต้น จากรายงานการสำรวจของชัยโรจน์ 3. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งริ ม ทางหลวง ถนนสาย ธรรมรัตน์ เมื่อปี 2525 พบว่า มีผู้นำเอาเมล็ดยางพารา ร้อยเอ็ด – มหาสารคาม เยื้องสถานีทดลองพืชไร่ร้อยเอ็ด จากภาคใต้ แ ละภาคตะวั น ออกไปปลู ก ทดสอบกั น มา (ชื่อในขณะนั้น) มีต้นยางพาราปลูกด้วยเมล็ดอยู่จำนวน นานแล้ ว จากการสำรวจต้ น ยางเหล่ า นี้ พ อที่ จ ะสรุ ป 1 ต้น การเจริญเติบโตที่ระดับ 1.50 เมตร มีเส้นรอบวง ได้ดังนี้ ของลำต้น 78 เซนติเมตร จากการสอบถามเจ้าของได้ 1. สวนยางเก่าตำบลเนินสำเริง อ.กันทรลักษณ์ บอกว่านำมาปลูกไว้แล้วประมาณ 15 ปีแล้ว คาดว่า จ.ศรีสะเกษ ปลูกมาประมาณ 20 กว่าปีแล้ว (อายุตอน ปลู ก ประมาณปี พ.ศ. 2508 ทดสอบกรี ด ยางดู ก าร 1 บทความนี้ได้ตีพิมพ์เป็นเล่มเมื่อปี 2543 วารสารฉบับนี้เห็นว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจที่จะตีพิมพ์ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง โดยรวบรวมเฉพาะเนื้อหาที่สำคัญและ ภาพประกอบบางภาพ 2 ในปีที่เขียนบทความ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีทดลองยางบุรีรัมย์ หรือศูนย์วิจัยยางบุรีรัมย์ในปัจจุบัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร 3 ในปีที่เขียนบทความ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารการผลิตยาง สถาบันวิจัยยาง ปัจจุบันได้เกษียณอายุราชการ (ก่อนกำหนด) ไปแล้ว 4 ในปีที่เขียนบทความ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยางนราธิวาส ปัจจุบันได้เกษียณอายุราชการไปแล้ว
  • 15. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 12 ไหลของน้ำยางปรากฏว่าไหลดี 50 – 60 เซนติเมตร 4. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งนิ ค มสร้ า งตนเองคำสร้ อ ย 10. ต้ น ยางพั น ธุ์ RRIM 600 ที่ บ้ า นกกเต็ น อ.นิ ค มคำสร้ อ ย จ.นครพนม เกษตรกรผู้ ป ลู ก ได้ ไ ป ต.ทับหลวง อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี นำเอาต้นตอตายาง ทำงานรับจ้างกรีดยางที่ อ.ธารโต จ.ยะลา ได้นำเมล็ด มาจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีมาปลูก เหลือรอดตายอยู่ ยางมาจาก จ.ยะลา มาปลูกไว้ประมาณ 2 ไร่ ต้นยาง 2 ต้น ต้นยางอายุประมาณ 5 ปี คาดว่าปลูกไว้เมื่อปี อายุประมาณ 22 ปี ปัจจุบันได้ตัดโค่นไปเกือบหมดแล้ว พ.ศ. 2519 เส้นรอบวงของลำต้น 59 เซนติเมตร ทดสอบ ยั ง คงเหลื อ อยู่ เ พี ย ง 8 ต้ น ต้ น ยางรุ่ น นี้ ค าดว่ า นำมา กรีดดูแล้วการไหลของน้ำยางดีมาก ปลูกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 การเจริญเติบโตที่ระดับ 1.50 เมตร วัดเส้นรอบวงของลำต้นเฉลี่ยประมาณ 1.00 เมตร ความเป็นมา ได้ทดสอบกรีดดูแล้วมีการไหลของน้ำยางดี การศึ ก ษาและพั ฒ นาอย่ า งเป็ น วิ ช าการในการ 5. ต้นยางพื้นเมืองที่บ้านซ้ง อ.คำชะอี จ.นครพนม นำยางพารามาปลู ก ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ได้ ปลูกด้วยเมล็ดยางพื้นเมืองมีอยู่ 1 ต้น อายุประมาณ เริ่มดำเนินการอันเป็นผลสืบเนื่องจากที่ประชุมหัวหน้า 20 ปี คาดว่าปลูกประมาณปี 2503 บริเวณหน้ายางสูง สถานีทดลองยางของกองการยาง (ชื่อในขณะนั้น) ที่ จากพื้ น ดิ น ขึ้ น ไปประมาณ 2 เมตร และได้ เ สี ย หาย จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2520 ซึ่งที่ประชุม เป็นปุ่มปมหมดแล้ว เนื่องจากชาวบ้านในหมู่บ้านนี้ได้ ได้ ม อบหมายให้ นายกาญจนสิ น ธุ์ มี ศุ ข หั ว หน้ า ใช้มีดฟันโคนต้นเพื่อเอาน้ำยางมาใช้ปะยางในของรถ สถานี ท ดลองยางคั น ธุ ลี เป็ น หั ว หน้ า คณะร่ ว มดำเนิ น จักรยาน การกั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญยาง และนั ก วิ ช าการของศู น ย์ วิ จั ย 6. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งที่ บ้ า นโนนสำราญ หมู่ที่ 14 การยาง (ชื่อในขณะนั้น) วางแผนสำรวจความเป็นไปได้ ต.ปากคาด กิ่ ง อ.ปากคาด จ.หนองคาย มี อ ยู่ 1 ต้ น ในการทดสอบปลู ก ยางพาราในภาคตะวั น ออกเฉี ย ง อายุ ป ระมาณ 7 ปี เส้ น รอบวงของลำต้ น ประมาณ เหนือ ช่วงวันที่ 1 - 6 สิงหาคม 2520 ตามรายละเอียดใน 63 เซนติ เ มตร คาดว่ า ได้ น ำมาปลู ก ประมาณปี บั น ทึ ก ของสถานี ท ดลองยางคั น ธุ ลี ที่ กษ 1009/319 พ.ศ. 2518 - 2519 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2520 ซึ่งผลการสำรวจได้รายงาน 7. ต้นยางพื้นเมืองที่ด่านซ้าย อ.ด่านซ้าย จ.เลย ให้กองการยาง โดย ดร. เสริมลาภ วสุวัต ผู้อำนวยการ เกษตรกรได้ น ำเมล็ ด ยางพื้ น เมื อ งมาจาก จ.นครศรี - กองการยาง ทราบถึ ง การเดิ น ทางไปดู ส วนยางเก่ า ที่ ธรรมราช ประมาณ 20 เมล็ด มาปลูก งอก 5 ต้น ถูก ตำบลโนนดิ น แดง จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ ซึ่ ง มี ต้ น ยางเก่ า ควายกินเสียหายเหลือรอดมาเพียง 1 ต้น อายุประมาณ เหลืออยู่ประมาณ 15 ต้น อายุยางไม่น้อยกว่า 20 ปี 15 ปี คาดว่ า นำมาปลู ก ไว้ ป ระมาณปี พ.ศ. 2509 ลักษณะของยางแสดงให้เห็นว่าเป็นการปลูกมีแถวแนว ขนาดของเส้ น รอบวงของลำต้ น ประมาณ 50 - 60 พอเห็ น ได้ แต่ เ ป็ น ยางพื้ น เมื อ งเปลื อ กหนา ในขณะ เซนติเมตร เดียวกัน ได้มีการหารือกันระหว่าง Mr. Lim Poh Loh, 8. ต้นยางพื้นเมืองที่วัดหาดงิ้ว อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ Senior Development Officer, UNDP/FAO กั บ นำเมล็ดมาจากจังหวัดจันทบุรีมาปลูก เหลืออยู่ 1 ต้น Dr. A.C. Hughes, Adviser Planning, Land อายุประมาณ 15 ปี คาดว่าปลูกไว้เมื่อ ปี พ.ศ. 2508 Settlement Division, Mr. Tony Zola ถึ ง แผนการ การเจริ ญ เติ บ โตเส้ น รอบวงของลำต้ น ประมาณ 80 ปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้กรม เซนติเมตร ประชาสงเคราะห์ โดยนายประพจน์ เรขะรุจิ อธิ บ ดี 9. ต้ น ยางพื้ น เมื อ งที่ บ้ า นผาทั่ ง อ.บ้ า นไร่ กรมประชาสงเคราะห์ ได้ มี บั น ทึ ก เลขที่ มท.0912/ จ.อุ ทั ย ธานี ปลู ก ด้ ว ยเมล็ ด ยางพั น ธุ์ พื้ น เมื อ ง มี อ ยู่ พ 73398 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2520 แจ้งให้กรม ประมาณ 50 ต้ น อายุ ป ระมาณ 6 ปี คาดว่ าปลูกไว้ วิ ช าการเกษตร ทราบว่ า กรมประชาสงเคราะห์ มี ประมาณปี พ.ศ. 2518 มีเส้นรอบวงของลำต้นประมาณ โครงการที่ จ ะพั ฒ นาการเกษตรในนิ ค มสร้ า งตนเอง
  • 16. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 13 ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้รับความช่วยเหลือ ผู้เชี่ยวชาญ UNDP/FAO ในการตรวจสอบข้อมูลและ ด้านเงินกู้จากธนาคารโลก จึงใคร่ขอความร่วมมือจาก เตรียมการเบื้องต้นพร้อมกันไปด้วย กรมวิชาการเกษตร ให้ดำเนินการสำรวจสภาพพื้นที่ใน จากการสั่งการเบื้องต้นจากกองการยางที่กล่าวมา นิ ค มสร้ า งตนเองบ้ า นกรวด จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ และนิ ค ม ดั ง นั้ น ศู น ย์ วิ จั ย การยาง หาดใหญ่ โดยการนำของ สร้ า งตนเองโพนพิ สั ย จั ง หวั ด หนองคาย ว่ า มี ค วาม นายศรี โ บ ไชยประสิ ท ธิ์ และคณะ จึ ง ได้ เ ริ่ ม สำรวจ เหมาะสมที่จะจัดทำแปลงทดลองปลูกยางพาราขึ้นหรือ ความเป็นไปได้ในการปลูกยางในพื้นที่จังหวัดทางภาค ไม่เพียงใด ซึ่งถ้าหากผลการทดลองดังกล่าวได้ผลก็จะส่ง ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ หลายจั ง หวั ด รวมทั้ ง พื้ น ที่ ที่ ไ ด้ เสริมให้สมาชิกในนิคมทั้ง 2 แห่งนี้ให้ปลูกยางเป็นพืช ประสานกั น เบื้ อ งต้ น ไว้ แ ล้ ว เพื่ อ กำหนดแนวนโยบาย หลักต่อไป และแผนปฏิบัติ ระหว่างวันที่ 23-27 มกราคม 2521 ผลจากการสำรวจครั้งนี้ คณะจากศูนย์วิจัยการยางได้ การเตรียมการ เสนอแนะให้ ด ำเนิ น การที่ นิ ค มสร้ า งตนเองปราสาท จากรายงานเบื้องต้นของคณะสำรวจข้อมูลของ จังหวัดสุรินทร์เพิ่มเติมจากที่กำหนดไว้เดิม ทำให้ต่อมา นายกาญจนสินธุ์ มีศุข ที่ กษ 0915/592 และจากการ การปลูกยางพาราได้ดำเนินการครั้งเดียวพร้อมกันทั้ง 3 ประสานงานของหลายฝ่ายระหว่างกรมวิชาการเกษตร จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกรมประชาสงเคราะห์ ดั ง นั้ น กองการยาง โดย ดร.เสริ ม ลาภ วสุ วั ต จึ ง สั่ ง การให้ ศู น ย์ วิ จั ย การยาง ข้อมูลจากสถานีทดลองฯของ หาดใหญ่ จั ด คณะไปสำรวจหารายละเอี ย ดอี ก ครั้ ง กรมวิชาการเกษตร พร้ อ มกั บ ขอความร่ ว มมื อ ไปยั ง นิ ค มสร้ า งตนเอง นอกจากคณะสำรวจแนวทางเบื้องต้นแล้ว ศูนย์ บ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ และนิคมสร้างตนเองโพนพิสัย วิ จั ย การยางได้ ข อความร่ ว มมื อ ในการสนั บ สนุ น จังหวัดหนองคาย นอกจากนี้ ยังมีการประสานระหว่าง รายละเอียดเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ ดิน และสภาพดินฟ้า อากาศจากสถานีทดลองพืชฯ ของกรมวิชาการเกษตร ทุกสถานีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและได้รับความ ร่วมมือด้วยดี เมื่อมีข้อมูลมากพอ หลายฝ่ายได้กำหนด แนวทางการทำงานและรายละเอี ย ดเพื่ อ ดำเนิ น การ ต่อไป ตกลงใจดำเนินการ...เริ่มลงมือปลูก หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น และพิจารณา เห็นความเป็นไปได้ ผู้เกี่ยวข้องจึงได้กำหนดแผนการ ดำเนินงานปลูกยางพาราในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ และ หนองคาย โดยศูนย์วิจัยการยางได้มอบหมายให้งาน พัฒนายาง ศูนย์วิจัยการยาง หาดใหญ่ เป็นหน่วยงาน หลั ก ร่ ว มกั บ นิ ค มสร้ า งตนเองบ้ า นกรวด นิ ค มสร้ า ง ตนเองปราสาท และนิคมสร้างตนเองโพนพิสัย พร้อมทั้ง หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดเตรียมวัสดุปลูกใน พื้นที่ที่ได้ประสานไว้ก่อนแล้ว เพื่อสามารถเร่งรัดปลูก ภาพที่ 1 แปลงปลู ก ด้ ว ยต้ น ตอตาของนิ ค มสร้ า งตนเองโพนพิ สั ย ยางพาราให้เสร็จก่อนเดือนมิถุนายน 2521 ดังนี้ จ.หนองคาย (10 มิ.ย. 2522) - นิคมสร้างตนเองบ้านกรวด ปลูกเสร็จ วันที่ 30
  • 17. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 14 ดูแลรักษาอีกหลายประการ โดยเฉพาะการกำจัดวัชพืช การใส่ปุ๋ย การเอาใจใส่บำรุงรักษา และอื่นๆ กว่าต้นยาง จะเจริญเติบโตได้ขนาดเปิดกรีด และเริ่มทดลองเปิดกรีด ในปลายปี 2527 ที่นิคมสร้างตนเองโพนพิสัย และเปิด กรีดจริงจังที่นิคมสร้างตนเองโพนพิสัย และนิคมสร้าง ตนเองบ้านกรวด ในเดือนมิถุนายน ปี 2528 โดยกลุ่ม พั ฒ นาการปลู ก ศู น ย์ วิ จั ย ยางฉะเชิ ง เทรา สถาบั น วิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร สำหรับนิคมสร้างตนเอง ปราสาท เปิดกรีดล่าช้ากว่าแปลงอื่นๆ เนื่องจากพื้นที่ ภาพที่ 2 แปลงยางที่นิคมสร้างตนเองบ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ (14 มิ.ย. ปลูกไม่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา กล่าวคือ พื้นที่ 2522) ปลูกเป็นดินเหนียวจัด ที่ลุ่ม ระบายน้ำยาก ประกอบกับ แปลงปลูกยางอยู่ใกล้กับแปลงหม่อน จึงมีความจำกัด ในการใช้ ส ารเคมี ก ำจั ด วั ช พื ช ทำให้ มี วั ช พื ช มากและ รบกวนการเจริญเติบโตของยางพารา สรุป ยางพาราอี ส านต้ น แรกไม่ มี ห ลั ก ฐานชี้ ชั ด ว่ า อยู่ที่ไหน? เนื่องจากได้มีผู้พยายามนำมาปลูกเนิ่นนาน มาแล้วดังจะเห็นจากต้นยางอายุมากกว่า 40 ปี อยู่ใน ภาพที่ 3 สวนยางที่ปลูกที่นิคมสร้างตนเองปราสาท จ.สุรินทร์ (9 มิ.ย. 2522) หลายท้องที่ แต่ประตูการพัฒนายางพาราอีสานได้เปิด ออกจากความร่วมมือของหลายฝ่าย อาทิ กองการยาง (สถาบันวิจัยยาง) กรมวิชาการเกษตร, กองนิคมสร้าง มิถุนายน 2521 ตนเอง กรมประชาสงเคราะห์, ผู้เชี่ยวชาญจากองค์กร - นิคมสร้างตนเองปราสาท ปลูกเสร็จ วันที่ 30 ระหว่างประเทศ และสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การ มิถุนายน 2521 ทำสวนยาง แต่กว่ายางอีสานจะยืนเป็นอาชีพหลักของ - นิ ค มสร้ า งตนเองโพนพิ สั ย ปลู ก เสร็ จ วั น ที่ 1 เกษตรกรในภูมิภาคนี้ ก็ต้องผ่านอุปสรรคมานานัปการ กรกฎาคม 2521 จึงหวังว่ายางอีสานจะยืนยงไปชั่วกาลนานเช่นภูมิภาค หลั ง จากปลู ก เสร็ จ แล้ ว ยั ง มี ก ารปลู ก ซ่ อ มอี ก อื่นของประเทศตลอดไป หลายครั้ง รวมทั้งหาทางแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการ
  • 18. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 15 ความเสียหายจากการกรีดยางต้นเล็ก สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร จากการขยายพื้นที่ปลูกยางในช่วงปี พ.ศ. 2547- มีจำนวนต้นรอดตายร้อยละ 91 ในขณะที่ต้นยางปลูก 2549 จำนวน 1 ล้านไร่ กระจายอยู่ในภาคตะวันออก ปี 2548 อายุ 1 ปี 6 เดือน มีจำนวนต้นยางรอดตาย เฉียงเหนือ 7 แสนไร่ และภาคเหนือ 3 แสนไร่ สถาบัน ร้อยละ 90 และต้นยางปลูกปี 2547 อายุ 2 ปี 6 เดือน วิจัยยางในฐานะหน่วยงานวิจัยได้ติดตามและประเมิน มี จ ำนวนต้ น ยางรอดตายร้ อ ยละ 90 และเมื่ อ ต้ น ยาง การเจริญเติบโตของยางพาราตั้งแต่เริ่มปลูกถึงช่วงเวลา อายุ 4, 5 และ 6 ปีมีจำนวนต้นคงเหลือร้อยละ 82, 86 เก็บเกี่ยวผลผลิตน้ำยาง เพื่อศึกษาวิเคราะห์การเจริญ และ 85 ตามลำดับ (ภาพที่ 1) เติ บ โตยางในแต่ ล ะสภาพแวดล้ อ ม ตลอดจนปั ญ หา นอกจากนี้ ยั ง ได้ ศึ ก ษาปั จ จั ย อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อุ ป สรรคเพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ประกอบพิ จ ารณาจั ด ทำ กับการรอดตายดังนี้ มาตรฐานการเจริญเติบโตของต้นยางในเขตปลูกยาง ช่วงเวลาปลูกยาง เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลโดยตรง ใหม่ และเพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ในการวางแผนเพิ่ ม ผลผลิ ต ต่อความสำเร็จในการปลูกยางดังเช่นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ยางและชี้ แ นะให้ ต ระหนั ก ถึ ง ผลเสี ย ของการกรี ด ยาง พบว่ า ในปี 2547 สวนยางส่ ว นใหญ่ ป ลู ก ในเดื อ น ต้ น เล็ ก เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี ย หายกั บ ต้ น ยางและ สิงหาคมและกันยายน มีจำนวนต้นยางรอดตายร้อยละ เกษตรกร รวมทั้งเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ 83 และ 73 ตามลำดั บ ในขณะที่ ส วนยางปลู ก ปี 2548 ส่วนใหญ่ปลูกยางต้นฤดูฝนในเดือนพฤษภาคม- จำนวนต้นยางรอดตาย กรกฎาคม มีจำนวนต้นยางรอดตายร้อยละ 83, 87 และ โดยภาพรวมต้นยางที่ปลูกปี 2549 อายุ 6 เดือน 83 ตามลำดั บ ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ ค วรปลู ก ยางช่ ว งปลาย ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 2 ภาค 100 85 86 85 87 86 86 85 83 82 80 จำนวนต้นคงเหลือรอดตาย (%) 60 40 20 0 2547 2548 2549 ปี พ.ศ. ภาพที่ 1 จำนวนต้นคงเหลือรอดตายของยางที่ปลูกปี 2547-2549 ในพื้นที่ปลูกยางภาคเหนือและภาคะวันออกเฉียงเหนือ
  • 19. ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 11 ตุลาคม-ธันวาคม 2555 16 ฤดู ฝ น โดยเฉพาะในเดื อ นกั น ยายน เพราะทำให้ มี ความสม่ำเสมอของต้นยาง จำนวนต้ น ยางตายมากกว่ า การปลู ก ยางต้ น ฤดู ฝ น สวนยางมี จ ำนวนต้ น คงเหลื อ และมี ก ารเจริ ญ ตรงกั บ ผลงานวิ จั ย ของอารั ก ษ์ และคณะ (2530) เติบโตสม่ำเสมอใกล้เคียงกัน กล่าวคือ สวนยางที่ปลูก รายงานว่ า การปลู ก ยางในช่ ว งเดื อ นกั น ยายนทำให้ ปี 2547-2549 ทั้ ง 3 ปี มี ค วามสม่ ำ เสมอประมาณ มี ผ ลสำเร็ จ ในการปลู ก ด้ ว ยยางชำถุ ง เพี ย งร้ อ ยละ ร้ อ ยละ 98-100 นั่ น คื อ ต้ น ยางมี ข นาดสม่ ำ เสมอมาก 75 - 85 ดั ง นั้ น ควรปลู ก ยางในช่ ว งต้ น ฤดู ฝ นเมื่ อ ดิน หรือต้นยางมีความแปรปรวนน้อย มี ค วามชุ่ ม ชื้ น ดี เ พราะสามารถปลู ก ซ่ อ มต้ น ยางได้ ทั น โ ด ย วั ด ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ์ ก า ร ก ร ะ จ า ย ค ว า ม ภายในฤดู ก าลเดี ย วกั น และต้ น ยางเจริ ญ เติ บ โตได้ ดี แปรปรวน (coefficient of variation,CV.,%) ความ กว่าการปลูกยางในช่วงปลายฤดูฝน สม่ำเสมอระดับดี (ขนาดของต้นยางมีการกระจายตัว ปริ ม าณน้ ำ ฝน จากข้ อ มู ล ปริ ม าณน้ ำ ฝนเฉลี่ ย น้อย) ปานกลางและค่อนข้างเลว มีค่า C.V. <20 %, 38 ปี ของกรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาพบว่ า พื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด 20-30% และ>30% ตามลำดับ (ภาพที่ 2) ต่ า งๆ มี ป ริ ม าณน้ ำ ฝนปี 2547ลดลงจากปริ ม าณ น้ ำ ฝนเฉลี่ ย 38 ปี ได้ แ ก่ จั ง หวั ด พะเยา น่ า น ลำปาง การเจริญเติบโตของต้นยาง อุ บ ลราชธานี นครพนม และยั ง พบอี ก ว่ า พื้ น ที่ ใ น มาตรฐานการเจริญเติบโตของต้นยาง จั ง หวั ด เชี ย งราย พิ ษ ณุ โ ลก เลย อุ บ ลราชธานี และ มาตรฐานขนาดลำต้นของต้นยางอายุ 2-6 ปี ใน กาฬสิ น ธุ์ มี ป ริ ม าณน้ ำ ฝนในปี 2548 ลดลงจากปี ภาคเหนื อ และภาคะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ปรากฏตาม 2547 ซึ่ ง ทำให้ เ กิ ด ภาวะเสี่ ย งต่ อ การปลู ก ยาง ข้ อ มู ล ในตารางที่ 1 ส่ ว นการเจริ ญ เติ บ โตเพิ่ ม ขนาด เนื่ อ งจากมี ส ภาพแห้ ง แล้ ง มากกว่ า อย่ า งไรก็ ต าม ของลำต้ น ของต้ น ยางอายุ 4-6 ปี มี ก ารกระจายตั ว ไม่ พ บความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งจำนวนต้ น รอดตายกั บ แบบแจกแจงปกติ (normal curve) (ภาพที่ 3) สภาพภู มิ อ ากาศ ได้ แ ก่ ปริ ม าณน้ ำ ฝนรายปี จำนวน วันฝนตก อุณหภูมิ และความชื้น เป็นต้น การเจริญเติบโตของต้นยางเปรียบเทียบกับค่า สมบัติทางเคมีของดิน พื้นที่ปลูกยาง 11 จังหวัด มาตรฐาน พบว่ า มี ค่ า ความเป็ น กรด-ด่ า งอยู่ ใ นช่ ว ง 4.6 - 5.3 การปลู ก ยางในภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออก ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ของพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกยาง เฉียงเหนือมีการส่งเสริมให้ปลูกยางตั้งแต่ปี 2532 และ (สถาบันวิจัยยาง, 2553) ปริมาณอินทรียวัตถุ 0.6 - 2.9 ขยายพื้ น ที่ ป ลู ก ยางเพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ รวมทั้ ง เกษตรกร เปอร์ เ ซ็ น ต์ ปริ ม าณอิ น ทรี ย วั ต ถุ ต่ ำ สุ ด พบในพื้ น ที่ แต่ ล ะรายมี พื้ น ที่ ถื อ ครองที่ ดิ น ค่ อ นข้ า งจำกั ด จึ ง อาจ จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ์ แ ละบุ รี รั ม ย์ และพบปริ ม าณอิ น ทรี ย์ เป็นสาเหตุที่ทำให้สภาพพื้นที่ปลูกยางไม่ค่อยเหมาะสม สู ง สุ ด ในจั ง หวั ด เชี ย งราย นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า มี ซึ่ ง การเจริ ญ เติ บ โตของต้ น ยางในภาคเหนื อ และภาค ปริมาณความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัส 4.6 - 10.2 ตะวันออกเฉียงเหนืออายุ 2 ½ ปี มีขนาดเส้นรอบลำต้น มิลลิกรัม/กิโลกรัม ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ระดับต่ำ สำหรับ เฉลี่ย 14.2 และ 14.3 ซม. ตามลำดับ ใกล้เคียงกับเกณฑ์ ยางพารา ควรพิ จ ารณาและหาแนวทางเพิ่ ม ปริ ม าณ มาตรฐานการเจริญเติบโตของสถาบันวิจัยยางในภาค ฟอสฟอรั ส เพื่ อ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ กั บ ต้ น ยางมากขึ้ น เหนื อ ยางอายุ 3-6 ปี มี ข นาดลำต้ น ต่ ำ กว่ า เกณฑ์ ส่ ว นปริ ม าณโพตั ส เซี ย มแลกเปลี่ ย นได้ 22.2-54.6 มาตรฐาน ส่ ว นในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ พบว่ า มิ ล ลิ ก รั ม /กิ โ ลกรั ม อยู่ ใ นเกณฑ์ ที่ เ หมาะสมกั บ ยาง ยางอายุ 3 ปีขนาดลำต้นยางยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน พารา พื้นที่ในจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน และเลย แต่ เ มื่ อ ยางอายุ 4-6 ปี ข นาดของลำต้ น ต่ ำ กว่ า เกณฑ์ มี ป ริ ม าณธาตุ อ าหารสู ง เพราะพื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ป่ า มาตรฐาน ดั ง นั้ น ต้ น ยางในเขตภาคเหนื อ และภาค เปิ ด ใหม่ และอย่ า งไรก็ ต าม ไม่ พ บความสั ม พั น ธ์ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มี ข นาดเส้ น รอบลำต้ น ต่ ำ กว่ า ระหว่างจำนวนต้นรอดตายกับสมบัติทางเคมีของดิน เกณฑ์มาตรฐาน 17 %และ 12 % ตามลำดับ ดังนี้