SlideShare a Scribd company logo
ปีที่ 34 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15
ปีที่ 34 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15

สารบัญ
บทความ
2

แนวทางการลดต้นทุนการแปรรูปยางดิบ

18

การใช้ยางพาราผสมยางมะตอย

25

การใช้ภาชนะเพาะชำพลาสติกช่วยพัฒนา
ระบบรากของยางพารา

33

ทดสอบเทคโนโลยีใช้ปุ๋ยกับยางพารา
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

40

มุมมองที่เกี่ยวข้องกับยางพาราในเวทีนานาชาติ

ประจำฉบับ
ข่าวสถาบันวิจัยยาง

47

ย้ายข้าราชการ...

ภาพปก : 	ถนนราดด้วยยางมะตอยผสมยางพาราร้อยละ 5 ในศูนย์วิจัยยาง
	
ฉะเชิงเทรา พื้นที่ 4,000 ตารางเมตร
บทบรรณาธิการ
	
วารสารยางพาราฉบับนี้ อายุครบ 34 ปี เป็นฉบับ
ส่ ง ท้ า ยปี เ ก่ า ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ หวั ง ว่ า ผู้ ช มและผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง
มีกำลังใจดำเนินงานต่อไป ในท่ามกลางราคายางที่นัก
พยากรณ์คาดว่าอยู่ระหว่าง 70-85 บาทต่อกิโลกรัม อีก
หลายปี เพราะผลผลิตน้ำยางจากประเทศผู้ผลิตใน 5 ปีนี้
คาดว่าสูงกว่าความต้องการของตลาด 2-3 แสนตันต่อปี
ประกอบกั บ ผู้ บ ริ โ ภคใช้ ย างน้ อ ย การผลิ ต รถยนต์ เ พิ่ ม
ไม่มาก ดังนั้น ผู้ผลิตยางควรหาทางลดต้นทุนการผลิตยาง
พยายามใช้ยางที่มีอยู่ในประเทศให้มากที่สุด ลดการเก็บ
สินค้าเป็นเวลานาน และหลักการผลิต ขายสินค้า ควร
ยึ ด ถื อ จริ ย ธรรมความซื่ อ สั ต ย์ ผลิ ต สิ น ค้ า มี คุ ณ ภาพ
ตรงตามความต้องการของตลาด เพราะเป็นผลประโยชน์
ร่ ว มกั น ที่ ยั่ ง ยื น ดี ด้ ว ยกั น ทุ ก ฝ่ า ย ดั ง เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว่ า
น้ำยางสามารถติดกับสารสิ่งอื่นง่ายมากและเอาออกยาก
ต้องใช้พลังงานและน้ำมาก บทความในฉบับนี้ ได้กล่าวถึง
แนวทางการลดต้นทุนแปรรูปยางดิบ อีกเรื่อง คือการผสม
ยางธรรมชาติกับยางมะตอยทำผิวถนนสาธารณะ ในทาง
ปฏิบัติดีจริงหรือ ทำไมต่างประเทศไม่ใช้ หรือว่าราคาแพง
ยังไม่คุ้มค่ากับความทนทานของผิวถนนที่เพิ่มขึ้น หรือการ
สาธิตประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลยังไม่เพียงพอ เพราะ
สถานการณ์ ใ นโลกทุ ก วั น นี้ มี ก ารผลิ ต รถยนต์ แ ละสร้ า ง
ถนนมากขึ้น ดังนั้น ควรมีเทคโนโลยีปรับปรุงให้ผิวถนน
มีความทนทานใช้งานได้นานขึ้น ลดการซ่อมบำรุง ลดการ
ใช้พลังงาน เป็นมาตรการหนึ่งที่ช่วยลดโลกร้อน แม้แต่
ซากยางรถยนต์เก่า ไม่ควรทิ้งโดยไม่ถูกสุขอนามัย เช่น
ปล่อยให้เป็นที่อาศัยเพาะเลี้ยงยุงพาหะนำโรคร้ายมาสู่
คนและสัตว์ ในต่างประเทศมีเทคโนโลยีนำยางรถยนต์

เก่ามาบดอัดผสมเสริมคอสะพาน การก่อสร้างบางอย่าง
โดยเฉพาะการทำถนน ทำให้ ถ นนมี ค วามทนทานและ
ปลอดภัยมากขึ้น ลดการใช้พลังงาน เพราะสมบัติของยาง
เมื่อเสียดสีกับยางจะมีความฝืดสูงสุด ทำให้ล้อยางเกาะ
ผิ ว ถนนดี ขึ้ น รวมทั้ ง ความคิ ด ในการวิ จั ย พั ฒ นาองค์
ประกอบผิวถนนให้มีความทนทานราคาถูกและปลอดภัย
เช่น เมื่ออากาศร้อนไม่อ่อนตัวไหลเยิ้ม เมื่ออากาศเย็น
ไม่แข็งจนแตกง่าย พื้นที่ลาดชันและเปียกไม่ลื่น เป็นต้น
เรื่องต่อมา เล่าสู่กันถึงการปฏิบัติใส่ปุ๋ยยางของเกษตรกร
ในเขตปลูกยางใหม่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักพบว่า
ในสวนยางอ่อน เกษตรกรใส่ปุ๋ยมากไป เพราะคิดว่าถ้าใส่
มากต้นยางโตเร็วได้กรีดยางเร็ว แต่ในสวนยางกรีดแล้ว
มั ก ใส่ ปุ๋ ย น้ อ ยไปและไม่ ส มดุ ล หน่ ว ยงานเกี่ ย วของกั บ
เกษตรกรและมีศูนย์เรียนรู้ควรพิจารณาแนวทางพัฒนา
ถ่ายทอดให้ผู้นำเกษตรกรมีความรู้มากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใส่ปุ๋ยให้คุ้มค่า ประยุกต์การใส่ปุ๋ยตามค่า
วิเคราะห์ดิน ไม่กรีดยางต้นเล็ก เป็นต้น การวิจัยวัสดุปลูก
ภาชนะกรวยพลาสติ ก ผลิ ต ต้ น ต้ น ติ ด ตายางขนาดเล็ ก
ดำเนินงานนานแล้วในต่างประเทศ เหมาะสมกับสวนยาง
ขนาดใหญ่ อาจมีแนวทางประยุกต์ได้กับเกษตรกรสวน
ยางขนาดเล็ ก สำหรั บ ความก้ า วหน้ า ความร่ ว มมื อ กั บ
ต่างประเทศบางองค์กร นำมาแสดงให้ทราบการเคลื่อน
ไหวทางวิชาการบางอย่าง อาจเป็นประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยว
ข้องต่อไป				
อารักษ์ จันทุมา
บรรณาธิการ

เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร นายสุวิทย์ ชัยเกียรติยศ รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร
รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง บรรณาธิการ นายอารักษ์ จันทุมา ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล
กองบรรณาธิ ก าร เอนก กุณาละสิริ, พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์,
ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์ ไพรัตน์ ทรงพานิช ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สมจิตต์ ศิขรินมาศ ผู้ช่วย
ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จักรพงศ์ อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง
วราวุธ ชูธรรมธัช
2

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

แนวทางการลดต้นทุนการแปรรูปยางดิบ
ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล และ จักรี เลื่อนราม

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสงขลา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร

การแปรรูปยางดิบเป็นการนำน้ำยางสดหรือยาง
แห้งเข้าสู่กระบวนการผลิตเป็นยางขั้นกลาง เช่น ยาง
แผ่นรมควัน ยางแผ่นผึ่งแห้ง ยางเครพ ยางแท่ง และ
น้ำยางข้น ในการแปรรูปยางดิบแต่ละประเภทจะมีการ
เลื อ กใช้ ช นิ ด ของวั ต ถุ ดิ บ และชนิ ด ของเครื่ อ งจั ก รที่
แตกต่ า งกั น ทั้ ง นี้ มี ปั จ จั ย ที่ ท ำให้ ผู้ ผ ลิ ต แต่ ล ะรายหรือ
แต่ละโรงงานเลือกที่จะผลิตยางชนิดนั้นๆ คือแหล่งของ
วั ต ถุ ดิ บ และเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย น การผลิ ต ที่ ไ ด้ ก ำไรย่อม
หมายถึงรายได้มากกว่ารายจ่าย แต่ในช่วงที่ราคายาง
ลดลงเทียบเท่ากับต้นทุน ทำให้เกษตรกรชาวสวนยาง
หลายรายได้ รั บ ผลกระทบ การลดต้ น ทุ น การแปรรู ป
ยางดิบเป็นการพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสโดยให้เกษตรกร
ชาวสวนยางรวมทั้งผู้ประกอบการหาแนวทางในการลด
ต้นทุนให้ได้อย่างพอเหมาะโดยไม่กระทบต่อคุณภาพ
ยาง ยิ่ ง ในสภาวะที่ มี ก ารแข่ ง ขั น การค้ า ในระดั บ
อุตสาหกรรมที่สูงขึ้น ไม่เพียงแต่มุมมองของประเทศไทย
ที่ ผ ลิ ต ยางส่ ง ออกมากเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลกเท่ า นั้ น
แต่การเปิดการค้าเสรีจะหมายถึงการนำเข้าสินค้ายาง
พาราจากต่ า งประเทศได้ อี ก ด้ ว ย การเพิ่ ม ขี ด ความ
สามารถการแข่ ง ขั น ของผู้ ป ระกอบกิ จ การโดยการใช้
วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ไม่ใช้สารปลอมปนใดๆ ใช้สารเคมี
เท่าที่จำเป็น กระบวนการผลิตได้มาตรฐาน รวมทั้งการ
ลดปริมาณของเสียให้มากที่สุด จะเป็นการใช้ทรัพยากร
อย่ า งคุ้ ม ค่ า และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด นอกจากจะได้
คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ม าตรฐานแล้ ว ยั ง มี ส่ ว นช่ ว ย
ในการลดต้ น ทุ น การผลิ ต ได้ อี ก ด้ ว ย เอกสารฉบั บ นี้
ได้สรุปประเด็นใหญ่ๆ ในส่วนของการลดต้นทุนวัตถุดิบ
สารเคมี น้ ำ และพลั ง งาน ส่ ว นการบริ ห ารจั ด การ
	

แรงงาน การบำรุ ง รั ก ษาเป็ น ส่ ว นที่ ส ำคั ญ เช่ น กั น ของ
กระบวนการแปรรูปยาง ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรรายย่อย
กลุ่ ม เกษตรกร โรงงานขนาดเล็ ก จนถึ ง ระดั บ อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ จำเป็นต้องดำเนินการให้ครอบคลุม
โดยจะขอกล่ า วเฉพาะในส่ ว นการลดต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ
สารเคมี น้ำ และพลังงานเท่านั้น เพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการดำเนินกิจการทางธุรกิจได้พอสมควร

วัตถุดิบ

น้ำยางสด
	
เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการแปรรูปยางดิบ น้ำยางสด
สามารถแปรรู ป ได้ เ ป็ น น้ ำ ยางข้ น ยางแผ่ น รมควั น
ยางแผ่นผึ่งแห้ง ยางเครพ ยางแท่งเกรด STR XL และ
STR 5L ซึ่งจัดเป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด
ใหญ่ แต่สำหรับเกษตรกรที่มีสวนยางขนาดไม่เกิน 25
ไร่ ในการผลิ ต เป็ น ยางดิ บ ควรใช้ น้ ำ ยางที่ มี ค วามสด
มากที่สุด นั่นหมายถึงไม่ต้องใช้สารรักษาสภาพน้ำยาง
โดยที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ สำหรับสวนยางที่มีขนาด
ใหญ่ ขึ้ น มี ค วามจำเป็ น ต้ อ งรวบรวมน้ ำ ยางก่ อ นการ
แปรรู ป จะใช้ ร ะยะเวลานาน หรื อ การรวบรวมน้ ำ ยาง
เกินกว่า 6 ชั่วโมง น้ำยางจะเริ่มเสียสภาพทำให้ยางดิบ
ที่ผลิตได้เกิดความเสียหายเมื่อนำไปจำหน่ายจะได้ราคา
ต่ำ จำเป็นต้องใช้สารรักษาสภาพน้ำยางเท่าที่จำเป็น
ตามชนิดของยางดิบนั้นๆ และใช้ในปริมาณที่เหมาะสม
ไม่ ค วรใส่ ใ นปริ ม าณมากเกิ น กว่ า อั ต ราคำแนะนำ
เพราะจะทำสิ้นเปลืองและส่งให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น
การใช้สารเคมีรักษาสภาพน้ำยางเพื่อต้องการผลิตยาง
ให้ ไ ด้ คุ ณ ภาพเมื่ อ นำไปจำหน่ า ยก็ จ ะได้ ร าคาที่ สู ง ขึ้ น
3

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ซึ่งเมื่อคำนวณผลต่างของการลงทุนแล้วก็ย่อมได้กำไร
อยู่ ดี นอกจากใช้ น้ ำ ยางที่ ส ดแล้ ว น้ ำ ยางต้ อ งสะอาด
อีกด้วย หากน้ำยางมีสิ่งเจือปนจำเป็นต้องกรองน้ำยาง
ให้สิ่งสกปรกหลุดออกไปมากที่สุด น้ำยางที่สะอาดจะ
ได้ยางที่มีคุณภาพดี กรณีนำไปผลิตเป็นยางแผ่นรมควัน
จะได้ ย างแผ่ น เมื่ อ นำไปคั ด ชั้ น จะไม่ มี ร อยคั ต ติ้ ง ซึ่ ง
ทำให้ ป ระหยั ด เวลา แรงงาน และไม่ สู ญ เสี ย เนื้ อ ยาง
หรื อ ผลิ ต เป็ น ยางอบแห้ ง หรื อ ยางแผ่ น ผึ่ ง แห้ ง จะ
สามารถจำหน่ายได้ในราคาที่สูง หรือหากผลิตน้ำยาง
ข้นจะสูญเสียเนื้อยางน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม น้ำยาง
สดที่จะนำไปผลิตเป็นน้ำยางข้นควรมีปริมาณเนื้อยาง
แห้งไม่ต่ำกว่า 30% และค่ากรดไขมันระเหยได้ไม่เกิน
0.07% มิเช่นนั้นจะทำให้ไม่สามารถนำน้ำยางนั้นไป
ปั่นเป็นน้ำยางข้นได้ตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งโรงงาน
ที่ ผ ลิ ต น้ ำ ยางข้ น หลายแห่ ง มั ก มี ส่ ว นของการผลิ ต ยาง
แท่ ง จากน้ ำ ยางด้ ว ยเพื่ อ รองรั บ น้ ำ ยางจากลู ก ค้ า หาก
เกิดปัญหาด้านกระบวนการผลิตน้ำยางข้นก็สามารถไป
ผลิตเป็นยางแท่ง STR XL หรือ STR 5L ได้
	
การเติมน้ำลงในน้ำยางสดจะจำหน่ายได้ในราคา
ที่ลดลง สำหรับผู้จำหน่ายน้ำยางสดสิ่งที่ต้องย้ำเตือน
คือห้ามเติมสารปลอมปนใดๆ ลงไปในน้ำยางโดยเด็ด
ขาดแม้แต่น้ำก็ไม่ได้ เกษตรกรบางรายคิดว่าการเติม
น้ ำ ลงไปทำให้ ไ ด้ น้ ำ หนั ก เพิ่ ม ขึ้ น สามารถจำหน่ า ยได้
เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง ในความเป็ น จริ ง แล้ ว เกษตรกรจะขาดทุน
มากขึ้นไปอีกเนื่องจากโรงงานไม่ต้องการให้มีการปลอม
ปนสารใดๆ จึ ง กำหนดการรั บ ซื้ อ น้ ำ ยางที่ วั ด ปริ ม าณ
เปอร์ เ ซ็ น ต์ แ ล้ ว หากวั ด เปอร์ เ ซ็ น ต์ เ นื้ อ ยางแห้ ง หรื อ ที่
เรี ย ก DRC ได้ ต่ ำ กว่ า 30% จะหั ก ค่ า เนื้ อ ยางแห้ ง
เปอร์เซ็นต์ละ 1 บาท ดังนั้น หากเกษตรกรเติมน้ำลงใน
น้ำยาง แม้จะได้น้ำหนักเพิ่มขึ้นแต่เกษตรกรจะขาดทุน
ตามตัวอย่างดังนี้ เกษตรกร ก. ขายน้ำยางสดจำนวน
100 กิโลกรัม วัดปริมาณเนื้อยางแห้งได้ 32% เกษตรกร
ได้เนื้อยางแห้ง 32 กิโลกรัม หากการรับซื้อน้ำยางวันนั้น
กิ โ ลกรั ม ละ 50 บาท เกษตรกร ก. จะได้ เ งิ น 1,600
บาท หากเกษตรกร ก. เติ ม น้ ำ ลงในน้ ำ ยางเพื่ อ เพิ่ ม
น้ำหนักจากเดิม 100 กิโลกรัม เพิ่มน้ำอีก 14 กิโลกรัม
จะได้น้ำหนักรวม 31.92 กิโลกรัม ลดลงจากเดิม 0.8
กิ โ ลกรั ม ผู้ ซื้ อ มั ก ตั ด ทศนิ ย มทิ้ ง จะเหลื อ เพี ย ง 31

กิโลกรัม ขายได้ 1,550 บาท ขาดทุนไป 50 บาท และยัง
ต้ อ งถู ก หั ก ค่ า เปอร์ เ ซ็ น ต์ น้ ำ ยางต่ ำ อี ก กิ โ ลกรั ม ละ 2
บาท น้ำยาง 114 กิโลกรัมจะถูกหัก 228 บาท ถูกหัก
ทั้งหมด 278 บาท จากเงิน 1,600 บาท เกษตรกร ก.
จะได้รับเงินเพียง 1,322 บาท เท่านั้น จึงไม่ควรเติมน้ำ
เพื่ อ เพิ่ ม น้ ำ หนั ก ซึ่ ง นอกจากจะทำให้ ข าดทุ น แล้ ว ยั ง
ต้องเพิ่มภาระในการขนส่ง ค่าสึกหรอของยานพาหนะ
และทำให้น้ำยางเสื่อมคุณภาพเร็วขึ้นโดยเฉพาะเมื่อน้ำ
ที่เติมไม่สะอาด แต่หากมีเนื้อยางแห้งสูงกว่า 40% ทาง
ผู้รับซื้อจะให้ราคาน้ำยางที่ระดับ DRC เพียงแค่ 40%
เท่ า นั้ น เนื่ อ งจากเกรงว่ า ผู้ ข ายอาจเติ ม สารปลอมปน
ใด ๆ ลงในน้ำยางได้ (ตารางที่ 1)
	
การคำนวณหาปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางสด
เพื่อคิดราคา วิธีไหนจะได้กำไรกว่ากัน การหาปริมาณ
เนื้อยางแห้ง จำเป็นต้องวัดหรือใช้เพื่อคำนวณการซื้อ
ขาย และใช้ ค ำนวณปริ ม าณกรดและน้ ำ ที่ เ ติ ม เพื่ อ ทำ
ยางแผ่ น น้ ำ ยางข้ น และผลิ ต ยางแท่ ง อี ก ทั้ ง ปั จ จุ บั น
ตลาดน้ำยางสดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามความต้องการ
ของโรงงานแปรรูปน้ำยางข้น ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน
และยางเครพ ทำให้ชาวสวนยางมีทางเลือกในการขาย
น้ำยางสดโดยตรง เนื่องจากลดต้นทุนและประหยัดเวลา
ทั้งนี้น้ำยางสดที่ชาวสวนจะนำมาจำหน่ายจะมีพ่ อ ค้ า
รับซื้อตามจุดรวบรวมน้ำยางต่างๆ ดังนั้น เกษตรกรที่
ต้ อ งการขายน้ ำ ยางสดหรื อ ทำยางแผ่ น ควรมี ค วามรู้
ความเข้าใจในการหาปริมาณเนื้อยางแห้ง ดังนี้
	
การหาปริมาณเนื้อยางแห้งเป็นค่าของเปอร์เซ็นต์
เนื้อยางแห้งในน้ำยาง โดยเทียบจากน้ำยาง 100 ส่วน
วิธีการสามารถกระทำได้หลายวิธีแต่ที่นิยมและเชื่อถือ
มี 2 วิ ธี คื อ วิ ธี ม าตรฐาน และใช้ เ ครื่ อ งวั ด ความถ่ ว ง
จำเพาะ โดยวิ ธี ม าตรฐานในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเป็ น วิ ธี ที่
ถูกต้องแม่นยำเกษตรกรขายได้ในราคาที่กำหนดและ
ยุติธรรม แต่วิธีการหา DRC ด้วยเมโทรแลคจะมีความ
แม่นยำของ DRC อยู่ที่ 32% – 38% เท่านั้น หากน้ำยาง
มี DRC สู ง กว่ า 38% เมโทรแลคจะอ่ า นได้ ม ากกว่ า
38% ในทำนองเดี ย วกั น หากน้ ำ ยางมี DRC ต่ ำ กว่ า
32% เมโทรแลคจะอ่ า นได้ ต่ ำ กว่ า 32% เช่ น กั น
หมายความว่าถ้าหาก DRC เท่ากับ 30% เมโทรแลค
จะอ่ า นได้ 29% หรื อ 28% นั่ น หมายถึ ง ทุ ก ปริ ม าณ
4

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบราคายางที่เกษตรกรควรได้รับกับราคาที่ลดลงหากเติมน้ำลงในน้ำยางสด
ปริมาณ
น้ำยางสด
(กก.)

%
เนื้อ
ยาง

น.น.
แห้ง
(กก.)

เติมน้ำ ปริมาณ
(กก.) น้ำยาง
(กก.)

%
เนื้อ
ยาง

น.น.
ราคา
ได้เงิน หัก/
รวม ได้รับ
แห้ง
น้ำยาง (บาท)
ต่ำ
หัก เงิน
(กก.) (บาท/กก.)
(บาท/กก.) (บาท) (บาท)

	 100	
32	
32	
-	
-	
-	
32	
50	
1,600	
-	
-	
	 100	
32	
32	
6	
106	
30	 31.8	
50	
1,590	
-	
-	
												
	 100	
32	
32	
10	
110	
29	 31.9	
50	
1,595	
1	
110	
												
	 100	
32	
32	
14	
114	
28	 31.9	
50	
1,596	
2	
224	
												

1,600
1,590
(10)
1,485
(115)
1,372
(228)

หมายเหตุ		 โรงงานอาจกำหนดไม่รับซื้อน้ำยางที่ % DRC ต่ำกว่า 28 	
			 ตัวเลขใน ( ) เป็นค่าขาดทุนที่เกษตรกรได้รับ

เนื้ อ ยางแห้ ง 1 กิ โ ลกรั ม เกษตรกรจะขาดทุ น เท่ า กั บ
ราคายางต่อ 1 - 2 กิโลกรัมเสมอ เช่นเดียวกับเกษตรกร
ที่ เ ติ ม น้ ำ ลงในน้ ำ ยางนอกจากจะถู ก หั ก ราคาตามข้ อ
กำหนดของผู้รับซื้อแล้ว เปอร์เซ็นด์ของ DRC ที่ลดลง
ต่ ำ กว่ า 32% ถ้ า หากใช้ เ มโทรแลควั ด หาปริ ม าณ
เนื้อยางแห้งเกษตรกรจะขาดทุน 2 เด้ง
	
ปั จ จุ บั น ผู้ รั บ ซื้ อ ที่ เ ป็ น พ่ อ ค้ า คนกลางจะใช้
ไมโครเวฟในการหาปริ ม าณเนื้ อ ยางแห้ ง อย่ า งที่
ชาวบ้านทั่วไปเข้าใจว่าเป็นการหาค่า DRC แต่จริงๆ
แล้ ว ยางที่ ผ่ า นการอบจากไมโครเวฟจะเป็ น ยางแห้ ง
ที่ มี ก ารระเหยน้ ำ ออกไปเท่ า นั้ น ค่ า ที่ ไ ด้ จึ ง เป็ น ค่ า
ปริ ม าณของแข็ ง ทั้ ง หมด ผู้ รั บ ซื้ อ ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ น้ ำ หนั ก
น้ำยางที่ 8.00 กรัม – 8.50 กรัม หรือ 0.80 กรัม – 0.85
กรั ม ทำให้ ค่ า ที่ ค ำนวณได้ มี ค วามแตกต่ า งจากวิ ธี
มาตรฐานในห้องปฏิบัติการเฉลี่ย 2% - 3% ทำให้เมื่อ
นำน้ำยางสดไปจำหน่ายเกษตรกรจะขาดทุน 2 - 3 เท่า
ของราคายางต่อน้ำหนักยาง 1 กิโลกรัมเสมอ อย่างไร
ก็ ต ามหากจะใช้ ไ มโครเวฟในการหา DRC ควรใช้
น้ ำ หนั ก ของน้ ำ ยางสดที่ 9.00 กรั ม จะให้ ค่ า ที่ ไ ด้
ใกล้เคียงกับ DRC ตามมาตรฐานที่สุด

ยางแห้ง
	
ยางแห้งเป็นยางที่จับตัวแล้วอยู่ในรูปยางก้อนถ้วย
ยางก้อน ยางก้นถ้วย เศษยางตามรอยกรีด ยางคัตติ้ง
ยางเครพ มีทั้งเป็นยางที่สะอาดและมีสิ่งสกปรกปะปน
เช่น ดิน ทราย เปลือกไม้ เป็นต้น ยางแห้งเหล่านี้เป็น
วั ต ถุ ดิ บ ขั้ น ต้ น ในการนำไปแปรรู ป เป็ น ยางเครพ หรื อ
ยางแท่งเกรด STR 10 และ STR 20 ยางแห้งที่ขาย
ได้ ร าคาดี จ ะเป็ น ยางที่ ส ะอาดไม่ มี สิ่ ง ปลอมปนใดๆ
ไม่ ว่ า จะเป็ น ดิ น ทราย เปลื อ กไม้ เป็ น ต้ น หากมี ก าร
ปะปนแล้ ว มองเห็ น เด่ น ชั ด ทางโรงงานจะหั ก ราคา
กิโลกรัมละ 5 – 10 บาท แต่ถ้าเป็นสารปลอมปนชนิด
ที่ร้ายแรง เช่น ยางตาย ซึ่งเป็นยางที่ผสมสารเคมีและ
ผ่ า นความร้ อ นแล้ ว เช่ น ถุ ง มื อ ยาง ท่ อ ยาง เป็ น ต้ น
เป็ น สิ่ ง ปลอมปนที่ ถื อ ว่ า ร้ า ยแรงเนื่ อ งจากทำความ
เสียหายให้กับผลิตภัณฑ์ ทางโรงงานจะกำหนดเรี ย ก
ค่าเสียหายชิ้นละไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท และมีมาตรการในการไม่รับซื้อจากเกษตรกรรายนี้อีก
	
ยางแห้ง ที่ ส ะอาดในการผลิ ต ยางแท่ ง จะได้ ย าง
แท่ ง เกรดสู ง คื อ STR 10 ซึ่ ง ใช้ แ รงงาน น้ ำ และใช้
เครื่ อ งจั ก รหลั ก เช่ น prebreaker, creper และ
5

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

shredder ไม่ เ กิ น 15 ตั ว ทำให้ ป ระหยั ด ทั้ ง แรงงาน
น้ำและพลังงานที่ใช้ หากเป็นยางแห้งที่สกปรกจะต้อง
มีวิธีการจัดการที่ยุ่งยากขึ้น ใช้พื้นที่ในการดำเนินงาน
มากขึ้น ใช้น้ำ และพลังงานมากกว่าเท่าตัว โดยเฉพาะ
เครื่ อ งจั ก รที่ ต้ อ งใช้ จ ำนวนมากขึ้ น ไม่ ต่ ำ กว่ า 22 ตั ว
อีกทั้งได้ยางที่มีคุณภาพต่ำกว่าคือเป็นยางแท่ง STR 20
ซึ่ ง ในกระบวนการผลิ ต จะต้ อ งใช้ ย างที่ มี คุ ณ ภาพดี
ผสมเพื่อให้ได้ยางที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานนั่นหมายถึง
ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก ครั้ ง โรงงานที่ ผ ลิ ต ยางที่ มี
คุณภาพต่ำจะมีของเสียในปริมาณมากขึ้นเช่น เศษดิน
ทราย เปลือกไม้ ยังต้องหาที่ฝังกลบ ส่วนน้ำเสียที่เกิด
ขึ้นจากการผลิตจะมีค่าปริมาณสิ่งสกปรกมากกว่ายาง
ที่ ส ะอาดกว่ า 3 เท่ า ตั ว ต้ อ งใช้ พื้ น ที่ ก ารบำบั ด มาก
กว่ า วั ต ถุ ดิ บ ยางที่ มี ค วามสะอาด รวมทั้ ง กลิ่ น เหม็ น ที่
เกิดขึ้นยังรุนแรงมากกว่ายางที่สะอาดกว่า จำเป็นต้อง
หาวิ ธี ก ารจั ด การของเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น นอกจากนี้ ส่ ง ผล
ให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัว

สารเคมี

	
สารเคมี เ ป็ น ตั ว ที่ ส ำคั ญ ที่ ช่ ว ยให้ ผ ลการแปรรู ป
เป็นยางดิบชนิดต่างๆ มีคุณภาพตามมาตรฐาน การใช้
สารเคมีที่ถูกต้อง และที่สำคัญใช้เท่าที่จำเป็นในปริมาณ
ที่ เ หมาะสม จะเป็ น สิ่ ง ที่ ช่ ว ยให้ ย างดิ บ มี คุ ณ ภาพตรง
ตามความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ หากใช้ ใ นปริ ม าณที่ น้ อ ย
เกินไปจะทำให้คุณภาพของวัตถุยางเสียได้ สารเคมีที่
ใช้มีทั้งสารรักษาสภาพน้ำยางและสารจับตัวยาง สาร
รักษาสภาพน้ำยางควรใช้ให้ตรงตามการแปรรูปยางดิบ
ชนิ ด นั้ น ๆ เช่ น น้ ำ ยางสดที่ น ำไปผลิ ต เป็ น ยางแผ่ น
รมควัน หรือยางแผ่นอบแห้ง ควรใช้สารรักษาสภาพที่
เป็ น โซเดี ย มซั ล ไฟท์ ในอั ต รา 0.05% ต่ อ น้ ำ ยางสด
หมายความว่ า น้ ำ ยางสด 100 กิ โ ลกรั ม ใช้ โ ซเดี ย ม
ซัลไฟท์ 50 กรัม แต่ถ้าใส่น้อยเกินไปอาจไม่สามารถ
รั ก ษาสภาพน้ ำ ยางได้ น้ ำ ยางอาจจั บ ตั ว เป็ น เม็ ด หรื อ
เป็นก้อนได้ เมื่อนำไปผลิตเป็นยางแผ่นจะทำให้ผิวไม่
สม่ำเสมอ มีฟองอากาศ แผ่นยางด่าง – ดำ จากการที่
จับตัวยางที่เริ่มเสียสภาพเร็วกว่ายางปกติ และที่สำคัญ
เมื่อจำหน่ายก็จะได้ราคาที่ต่ำลง แต่หากใส่มากเกินไป
ทำให้ยางเหนียวมีสีคล้ำ ผิวยางลื่น นอกจากคุณภาพ

ของยางแผ่นไม่ดีพอแล้ว เมื่อนำไปจำหน่ายจะได้ราคา
ที่ ล ดลงกว่ า ยางที่ มี คุ ณ ภาพดี ก ว่ า เกื อ บกิ โ ลกรั ม ละ
1 บาท อี ก ทั้ ง ทำให้ ต้ น ทุ น ของการใช้ ส ารเคมี เ พิ่ ม ขึ้ น
อี ก สำหรั บ ต้ น ทุ น ของโซเดี ย มซั ล ไฟท์ ต่ อ น้ ำ ยางสด
100 กิโลกรัมเท่ากับ 1.80 บาท ทำยางได้ประมาณ 30
แผ่ น หรื อ ยางแผ่ น 1 กิ โ ลกรั ม มี ต้ น ทุ น การใช้ ส าร
รักษาสภาพ 0.06 บาท ซึ่งหากคำนวณแล้วหากยาง
แผ่ น ที่ ผ ลิ ต ตรงตามมาตรฐานและคุ ณ ภาพพอจะได้
ราคาที่ สู ง กว่ า ท้ อ งตลาดทั่ ว ไปกิ โ ลกรั ม ละ 1 บาท
ดังนั้น เมื่อหักต้นทุนแล้วจะมีผลกำไรอยู่ที่กิโลกรัมละ
0.94 บาท ถ้ า หากใช้ ต ามอั ต ราคำแนะนำข้ า งต้ น จะ
ทำให้ ย างแผ่ น ที่ ผ ลิ ต ได้ สี ส วย แผ่ น ไม่ เ หนี ย วอี ก ทั้ ง
จำหน่ า ยได้ ใ นราคาเที ย บเท่ า ยางแผ่ น คุ ณ ภาพดี
อย่ า งไรก็ ต าม หากเป็ น ไปได้ ใ นการแปรรู ป ควรเป็ น
น้ ำ ยางที่ มี ค วามสดมากที่ สุ ด ถ้ า เป็ น ระดั บ โรงงาน
อุตสาหกรรมก็ควรใช้สารรักษาสภาพตามความจำเป็น
และเหมาะสม
	
ในการรั ก ษาสภาพน้ ำ ยางสดที่ น ำไปผลิ ต เป็ น
น้ำยางข้น จะใช้แอมโมเนีย (NH3) ซึ่งอยู่ในรูปก๊าช เป็น
สารเคมีที่แนะนำ เติมในรูปสารละลายในอัตรา 0.01 –
0.05% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด ก่อนปั่นน้ำยางควรเติม
NH 3 ลงไปอยู่ ที่ ร ะดั บ ไม่ เ กิ น 0.4% ซึ่ ง หากเติ ม ใน
ปริ ม าณมากเกิ น ไปจะทำให้ สิ้ น เปลื อ งและข้ อ กำหนด
ตามมาตรฐานสำหรั บ NH 3 ในน้ ำ ยางข้ น ชนิ ด
แอมโมเนี ย ต่ ำ (LA) อยู่ ที่ ร ะดั บ ไม่ เ กิ น 0.29% และ
น้ำยางข้นชนิดแอมโมเนียสูง (HA) อยู่ที่ระดับไม่ต่ำกว่า
0.60% ในการปั่ น น้ ำ ยางข้ น หากมี ก ารใช้ แ อมโมเนี ย
มากเกิ น ไปจะส่ ง ผลให้ ต กค้ า งอยู่ ใ นหางน้ ำ ยางใน
ปริ ม าณสู ง และจะสิ้ น เปลื อ งกรดที่ ใ ช้ ใ นการจั บ ตั ว
เนื้ อ ยางซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต ยางสกิ ม สู ง ขึ้ น
สำหรับยางแท่งเกรด STR XL และ STR 5L แนะนำ
ให้ใช้ NH3 ในอัตรา 0.05% ร่วมกับกรดบอริกในอัตรา
0.05% สามารถรั ก ษาสภาพน้ ำ ยางสดได้ น านถึ ง 40
ชั่วโมง หากใช้ NH3 ผลิตยางแผ่นจะทำให้ยางแผ่นสี
คล้ ำ และเหนี ย วได้ เมื่ อ นำไปจำหน่ า ยอาจได้ ร าคาที่
ต่ ำ กว่ า ยางแผ่ น ที่ ใ ช้ โ ซเดี ย มซั ล ไฟท์ เ ป็ น สารรั ก ษา
สภาพน้ำยาง
	
สารเคมีสำหรับจับตัวยางตามคำแนะนำคือ กรด
6

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ฟอร์มิค เนื่องจากเป็นสารอินทรีย์ระเหยได้ง่าย ไม่ส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและไม่ตกค้างในยางหากใช้ใน
อั ต ราที่ แ นะนำ กรดฟอร์ มิ ค ถ้ า ใช้ จั บ ตั ว ยางภายใน
วันเดียวแล้วรีดแผ่น ให้ใช้ในอัตรา 0.6% ต่อน้ำหนัก
ยางแห้ง จะมีต้นทุนการทำแผ่นกิโลกรัมละ 0.31 บาท
แต่ถ้าหากจะรีดยางในวันรุ่งขึ้นให้ใช้ในอัตรา 0.4% ต่อ
น้ ำ หนั ก ยางแห้ ง จะมี ต้ น ทุ น การทำแผ่ น กิ โ ลกรั ม ละ
0.21 บาท สามารถลดต้นทุนไปได้ 0.10 บาท ดังนั้น
หากทำยางแผ่นได้วันละ 1,000 กิโลกรัม จะสามารถ
ประหยัดกรดไปได้วันละ 100 บาท หรือเดือนละ 3,000
บาท ปีละ 36,000 บาท การทำยางแผ่นโดยรีดในวันรุ่ง
ขึ้น นอกจากจะลดต้นทุนการใช้กรดแล้ว ยังทำให้แผ่น
ยางมี คุ ณ ภาพดี ก ว่ า รี ด ภายในวั น เดี ย วกั น ส่ ว นใหญ่
เกษตรกรใช้กรดซัลฟูริกในการทำยางแผ่น เนื่องจากมี
ต้นทุนต่ำกว่าและมักรีบเร่งในการจับตัว ยางแผ่นดิบ
ที่ได้จึงมีความยืดหยุ่นน้อยกว่ายางแผ่นที่จับตัวในวัน
รุ่งขึ้น กรดซัลฟูริกมีต้นทุนเฉลี่ยกิโลกรัมละ 0.16 บาท
แต่ มี ข้ อ เสี ย ตรงที่ ย างแผ่ น มี สี ค ล้ ำ หากใช้ ม ากเกิ น ไป
จะทำให้ ย างแผ่ น เหนี ย ว แห้ ง ช้ า โอกาสยางขึ้ น รามี
มากกว่ า การใช้ ก รดฟอร์ มิ ค โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ
เกษตรกรนำยางไปตากแดดยิ่งทำให้ยางเสียคุณภาพ
จะจำหน่ายได้ในราคาของยางคุณภาพคละ ซึ่งมีราคา
ที่ต่ำกว่ายางที่มีคุณภาพดีกิโลกรัมละ 1.20 บาท นอก
จากนี้ น้ำเสียจากการใช้กรดซัลฟูริกที่มีซัลเฟตตกค้าง
เมื่อทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ในน้ำจะตกตะกอนของ
ซั ล ไฟด์ ที่ มี สี ด ำ และทำให้ ย ากต่ อ การบำบั ด กรด
ซัลฟูริกเป็นกรดแก่ เมื่อนำไปผสมกับน้ำจะเกิดปฏิกิริยา
รุนแรง มีกลิ่นเหม็นแสบจมูก ซึ่งถ้าจะคิดต้นทุนในการ
ใช้กรดซัลฟูริกในการทำยางซึ่งมีราคาถูกกว่ากรดฟอร์มิค
ก็ จ ริ ง แต่ ห ากจะคิ ด ความเสี่ ย งของมลภาวะและการ
จัดการน้ำเสียที่เกิดขึ้น จะทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นได้

น้ำ

	
น้ ำ เป็ น ส่ ว นประกอบหลั ก ในการแปรรู ป ยางดิ บ
น้ ำ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการแปรรู ป มี 2 ส่ ว น คื อ น้ ำ ล้ า งใน
โรงงานและน้ำในกระบวนการผลิต น้ำล้างในโรงงาน
เป็นน้ำที่ใช้ล้างวัสดุอุปกรณ์ ล้างเครื่องมือ ส่วนน้ำใน
กระบวนการผลิ ต ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น น้ ำ ที่ ใ ช้ ใ นการผสม

ยางเพื่อทำการเจือจางและการล้างยางให้มีความสะอาด
การใช้ น้ ำ อย่ า งประหยั ด อาจทำให้ ไ ด้ ย างที่ ไ ม่ ส ะอาด
ในทางกลั บ กั น ถ้ า หากใช้ น้ ำ ที่ ฟุ่ ม เฟื อ ยจะส่ ง ผลให้
ต้ น ทุ น การผลิ ต สู ง ขึ้ น ได้ น้ ำ ที่ ใ ช้ อ ย่ า งเหมาะสมจะส่ ง
ผลต่อคุณภาพยางที่ดีด้วย อย่างไรก็ตาม น้ำเป็นต้นทุน
อย่างหนึ่งที่มีความสำคัญ บางครั้งอาจต้องลงทุนสร้าง
ถังตกตะกอนเพื่อที่จะได้น้ำสะอาด แนวทางการลดต้น
ทุนจะต้องไม่ใช้น้ำมากเกินไป ให้ใช้ในปริมาณที่เหมาะ
สมกั บ กระบวนการผลิ ต นั้ น ๆ น้ ำ ที่ ใ ช้ ใ นกระบวนการ
ผลิ ต ยางแผ่ น ดิ บ ยางแผ่ น รมควั น น้ ำ ยางข้ น และ
ยางแท่ง มีปริมาณการใช้น้ำเฉลี่ย 2, 3, 4 และ 16
ลบ.ม. ต่อกำลังการผลิตยาง 1 ตัน สำหรับยางแท่ง
STR 10 และ STR 20 จะมี ป ริ ม าณการใช้ น้ ำ ที่
แตกต่างกัน ยางแท่ง STR 10 เป็นยางที่สะอาดกว่า
มี ป ริ ม าณการใช้ น้ ำ เฉลี่ ย 10 ลบ.ม./ยางแท่ ง 1 ตั น
ในขณะที่ ย างแท่ ง STR 20 จะมี ป ริ ม าณการใช้ น้ ำ
เฉลี่ย 18 ลบ.ม./ยางแท่ง 1 ตัน เป็นต้น (ปรีดิ์เปรม,
2545) สำหรับแนวทางการใช้น้ำในโรงงานน้ำยางข้น
และยางแท่ง STR กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ศึกษา
ในหลั ก ปฏิ บั ติ เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ส ะอาดสำหรั บ
อุ ต สาหกรรมรายสาขายางพารา ซึ่ ง สามารถใช้ เ ป็ น
แนวทางในการลดต้นทุนได้ (ภาคผนวกที่ 1-7)
	
สำหรั บ โรงงานยางแท่ ง จากข้ อ มู ล ของกรม
โรงงานปี 2544 พบว่า มีการใช้น้ำมักนำมาจากแหล่ง
ธรรมชาติ เช่น คลอง แม่น้ำ หนอง บึง เป็นต้น โรงงาน
ส่ ว นใหญ่ จึ ง ต้ อ งวางแผนการใช้ น้ ำ เพื่ อ ลดต้ น ทุ น การ
ผลิตเพื่อที่จะได้น้ำที่สะอาด ส่วนค่าใช้จ่ายที่ยังคงมีอยู่
คือการปรับสภาพน้ำให้เหมาะแก่การใช้งาน และต้นทุน
ค่าก่อสร้างการเดินระบบขนถ่ายน้ำเข้าสู่ระบบเท่านั้น
โรงงานบางแห่งมีแหล่งที่ตั้งไม่เอื้อต่อการจัดหาแหล่ง
น้ำธรรมชาติมาใช้จึงต้องหาน้ำดิบจากการประปาส่วน
ภูมิภาคหรือบ่อน้ำบาดาลซึ่งมีต้นทุนของทรัพยากรน้ำ
ที่ ค่ อ นข้ า งสู ง ทำให้ โ รงงานสู ญ เสี ย ศั ก ยภาพการ
แข่งขันกับโรงงานคู่แข่งที่มีต้นทุนทรัพยากรน้ำต่ำกว่า
การปรับปรุงคุณภาพน้ำที่ใช้แล้วเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่
จึงมีความจำเป็น อนึ่ง น้ำบาดาลมีทั้งน้ำบาดาลบ่อตื้น
และบ่ อ ลึ ก น้ ำ บาดาลบ่ อ ลึ ก และขนาดใหญ่ มี ต้ น ทุ น
การดำเนิ น การค่ อ นข้ า งสู ง ส่ ว นน้ ำ บาดาลบ่ อ ตื้ น มี
7

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ต้นทุนต่ำกว่าแต่ไม่เป็นที่นิยมเนื่องจากไม่สามารถนำ
น้ ำ มาใช้ ใ นโรงงานได้ อ ย่ า งเพี ย งพออี ก ทั้ ง น้ ำ บาดาล
บ่ อ ตื้ น มี ค่ า ใช้ จ่ า ยในการปรั บ สภาพน้ ำ ซึ่ ง มี ป ริ ม าณ
แร่ธาตุอยู่มาก

พลังงาน

	
พลั ง งานเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ ในการแปรรู ป ยางทุ ก
ชนิด มี การใช้พลัง งานจากกระแสไฟฟ้าและพลังงาน
จากน้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ในการแปรรู ป ยางแท่ ง และน้ ำ
ยางข้ น ส่ ว นการผลิ ต ยางแผ่ น รมควั น จะใช้ พ ลั ง งาน
ความร้อนจากการเผาไหม้ไม้ฟืน
กระแสไฟฟ้า
	
ค่ า กระแสไฟฟ้ า เป็ น ต้ น ทุ น สำคั ญ เนื่ อ งจาก
กระแสไฟฟ้าใช้ในการขับเคลื่อนเครื่องจักรทุกชนิดใน
กระบวนการผลิต การผลิตยางแท่งแยกเป็น 2 ประเภท
คือ ยางแท่งที่ใช้น้ำยางสดเป็นวัตถุดิบ จะใช้เครื่องจักร
ในการผลิต 5 ชุด เช่น crusher 1 ชุด creper 3 ชุด
shredder 1 ชุด ยังมีในส่วนของเตาอบ และเครื่องอัด
แท่ ง ที่ ต้ อ งใช้ ก ระแสไฟฟ้ า น้ ำ ยางสดเป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่
สะอาด มีสิ่งสกปรกและสิ่งปลอมปนน้อย เครื่องจักร

เพียง 5 ชุดดังกล่าว สามารถผลิตได้ยางแท่งเกรด STR
XL และ STR 5L ได้ แต่การผลิตยางแท่ง STR 20
คุณภาพของวัตถุดิบจะเป็นตัวกำหนดชนิดและจำนวน
เครื่ อ งจั ก ร วั ต ถุ ดิ บ ยางที่ มี คุ ณ ภาพต่ ำ เช่ น ยางแผ่ น
รมควั น ที่ ไ ม่ ส ามารถจั ด ชั้ น ได้ ยางก้ น ถ้ ว ย เศษยาง
ตามรอยกรี ด เศษยางที่ ต กตามพื้ น ยางก้ อ นถ้ ว ยปน
ขี้ เ ปลื อ ก ยางเหล่ า นี้ เ ป็ น ยางที่ มี สิ่ ง ปลอมปนและ
สกปรกมากจึ ง ต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งจั ก รที่ มี ก ำลั ง แรงสู ง มี
ประสิ ท ธิ ภ าพในการตั ด บด ฉี ก และเฉื อ นสู ง และมี
จำนวนเครื่องมากขึ้นจนทำให้วัตถุดิบที่สกปรกมีความ
สะอาดและมีคุณภาพดีขึ้นได้ แต่ทำให้ต้นทุนการผลิต
สู ง ขึ้ น การเลื อ กใช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพดี แ ละมี ส มบั ติ
ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น เช่ น ยางก้ อ นถ้ ว ยคุ ณ ภาพดี การใช้
เครื่ อ งจั ก รในกระบวนการผลิ ต ก็ ใ ช้ จ ำนวนลดลง ใน
กระบวนการผลิตสามารถลดเครื่องจักรที่มีกำลังสูง เช่น
slab cutter, prebreaker และ creper ลงได้ประมาณ
5 ชุ ด คิ ด เป็ น กำลั ง ม้ า ประมาณ 1,675 – 1,000 =
675 HP (462,520 วัตต์) ตามตารางที่ 2
	
สำหรั บ โรงงานน้ ำ ยางข้ น แนวทางในการลด
ต้นทุนการใช้ไฟฟ้าของเครื่องปั่นน้ำยางโดยการติดตั้ง
inverter เข้ า กั บ เครื่ อ งปั่ น แยกที่ ใ ช้ ร ะบบเกี ย ร์ แ ละ

ตารางที่ 2 ชนิดของวัตถุดิบกับจำนวนแรงม้าของเครื่องจักรที่จำเป็นต้องใช้
ในกระบวนการผลิตยางแท่ง
วัตถุดิบ

Slab cutter
125 HP

Prebreaker
250 HP

น้ำยางสด 1/	
-	
-	
			
เศษยางคละ 2/	
x 2	
x 2	
	
= 250	
= 500	
3/
ยางก้อนถ้วย 	
x 1	
x 1	
คุณภาพดี	
= 125	
= 250	
หมายเหตุ	
		
		

Creper
75 HP

x 3	
x1 	
= 225	
= 50	
x 9	
-	
= 675		
x 1	
-	
= 375		

เครื่องจักรหลักในกระบวนการผลิตยางแท่ง STR XL และ STR 5L
เฉพาะจักรหลักในกระบวนการผลิตยางแท่ง STR 20
3/
เฉพาะจักรหลักในกระบวนการผลิตยางแท่ง STR 10
1/
2/

crusher
50 HP

Shredder
125 HP
x 1	
= 125	
x 2	
= 250	
x 2	
= 250	

รวม
(HP)
400
1,675
1,000
8

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

คลั ช ซึ่ ง ในการเปิ ด เครื่ อ งปั่ น ครั้ ง แรกจะสู ญ เสี ย พลั ง
งานค่ อ นข้ า งมากอั น เนื่ อ งจากแรงเสี ย ดทานหน้าคลัช
ซึ่ ง inverter จะทำหน้ า ที่ ค่ อ ยๆ จ่ า ยกระแสไฟฟ้ า
ให้ เ ครื่ อ ง ทำให้ เ ครื่ อ งเริ่ ม หมุ น จนกระทั่ ง ได้ ร อบที่
ต้ อ งการโดยที่ ไ ม่ เ สี ย พลั ง งานจากแรงเสี ย ดทาน
ดังกล่าว ทำให้ประหยัดพลังงานลงได้มาก
น้ำมันเชื้อเพลิง
	
ใช้ ใ นการเผาไหม้ เ พื่ อ นำความร้ อ นจากการเผา
ไหม้ ท ำให้ ย างแห้ ง การแปรรู ป ยางดิ บ ที่ ใ ช้ ค วามร้ อ น
ทำให้ ย างแห้ ง โดยไม่ ใ ช้ ค วั น ได้ แ ก่ ยางแท่ ง และยาง
แผ่นอบแห้ง ดังนั้น เชื้อเพลิงที่เผาไหม้จะต้องมีคุณภาพ
สูง ในอดีตที่ใช้กันทั่วไปได้แก่ น้ำมันดีเซล เนื่องจากมี
ราคาต่ ำ กว่ า น้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ชนิ ด อื่ น แต่ จ ากสภาวะ
น้ ำ มั น ราคาแพงขึ้ น ทำให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต สู ง ขึ้ น จึ ง มี
การปรั บ เปลี่ ย นเชื้ อ เพลิ ง จากน้ ำ มั น ดี เ ซลเป็ น แก๊ ส
ธรรมชาติ แ ทน ซึ่ ง ปั จ จุ บั น โรงงานยางแท่ ง ได้ ใ ช้ แ ก๊ ส
ธรรมชาติ LPG เป็นเชื้อเพลิงแล้วประมาณร้อยละ 90
	
เชื้ อ เพลิ ง ในกระบวนการผลิ ต ยางแท่ ง สำหรั บ
กระบวนการผลิตที่ใช้เชื้อเพลิงเป็นน้ำมันดีเซลในการ
อบยางแท่ ง นั้ น ขั้ น ตอนก่ อ นการอบยางจะต้ อ งทำ

ให้ยางเป็นเม็ดเล็กๆ ก่อน จากนั้นเมื่อยางผ่านเข้าไป
ในเตาอบน้ ำ มั น ดี เ ซลจะถู ก พ่ น ออกมาเป็ น ฝอย และ
เกิดการเผาไหม้ในห้องเผา ความร้อนจากการเผาไหม้
จะถู ก ดู ด แล้ ว พ่ น ผ่ า นเม็ ด ยางที่ บ รรจุ ใ นกระบะที่ บุ
ด้วยตะแกรงสแตนเลสอยู่ด้านล่าง ความร้อนจะทำให้
ความชื้ น ในยางระเหยออกไป ลั ก ษณะดั ง กล่ า วจะ
ดำเนิ น ไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ งภายในอุ โ มงค์ โ ดยใช้ เ วลา
ประมาณ 3 – 4 ชั่ ว โมงที่ อุ ณ หภู มิ 100oC – 120 oC
จะทำให้ ย าง 3,000 กิ โ ลกรั ม แห้ ง ภายใน 1 ชั่ ว โมง
โดยมี อั ต ราการแลกเปลี่ ย นพลั ง งานจากน้ ำ มั น ดี เ ซล
1 ลิตร ต่อเนื้อยางแห้ง 28.67 กิโลกรัม หรือ 1.06 บาท
ต่ อ กิ โ ลกรั ม ยางแห้ ง ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น เป็ น การผลิ ต ที่ มี
ต้นทุนค่อนข้างสูง เมื่อมีการพัฒนานำก๊าซ LPG มาเป็น
เชื้อเพลิงในการเผาไหม้แทนน้ำมันดีเซล โดยการปรับ
เปลี่ยนระบบบางอย่าง พบว่าก๊าซ LPG 42.98 กิโลกรัม
สามารถอบยางได้ 1,000 กิโลกรัม คิดเป็นค่าก๊าซ 0.69
บาท ต่อยาง 1 กิโลกรัม หรือลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงลง
ได้ 0.37 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งเชื้อเพลิงทั้ง 2 ชนิดนี้ใช้
ในอุ ต สาหกรรมยางแท่ ง STR หรื อ ยางแท่ ง ชนิ ด อื่ น ๆ
ในส่วนของโรงงานแปรรูปน้ำยางข้นไม่ได้ใช้เชื้อเพลิง
ในการแปรรู ป เพราะใช้ วิ ธี ปั่ น แยกด้ ว ยเครื่ อ งปั่ น

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการใช้เชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ ในการแปรรูปยางดิบแต่ละชนิด
	

ชนิดของ
เชื้อเพลิง

ราคาจำหน่าย
บาท/กก.

ปริมาณที่ใช้
กก./ตัน (DRC)

ค่าใช้จ่าย
บาท/กก.

ชนิดของ
ยางแปรรูป

	 LPG	
16.00	
42.98	
0.69	
STR, BLOCK
	Diesel	
30.33	
34.88	
1.06	
STR, BLOCK
	 ฟืน	
1.00	
750	
0.90	
RSS
	Solar*	
-	
-	
-	
ADS, Crepe
	chamber					
Solar cell	
-	
-	
-	
หมายเหตุ	 * การอบยางด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ใช้ความร้อนมากกว่า 1,000 เมกกะจูล/ตัน
	 สามารถประหยัดเงินได้ประมาณ 1,000 บาท/ตัน
ที่มา : จักรี เลื่อนราม (2556) การศึกษาการใช้พลังงานในการแปรรูปยางดิบชนิดต่าง ๆ
9

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ยกเว้ น ในส่ ว นของการผลิ ต ยางแท่ ง จากหางน้ ำ ยาง
(skim block) มีการใช้เชื้อเพลิงในเตาอบเช่นเดียวกับ
การอบยางแท่งทั่ว ๆ ไป
	
เชื้ อ เพลิ ง ในกระบวนการผลิ ต ยางแผ่ น รมควั น
ในการผลิตยางแผ่นรมควันจะใช้ไม้ฟืนในการเผาไหม้
เพื่อใช้ความร้อนและควัน ฟืนที่ใช้ได้จากไม้ชนิดใดก็ได้
ส่วนมากมักเป็นไม้ฟืนจากไม้ยางพาราที่ได้จากการล้ม
ไม้ที่เป็นยางแก่ไม่สามารถให้ผลผลิตน้ำยางได้ หรือเป็น
ไม้ตามโครงการปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี เนื่องจากไม้
ยางพาราในปั จ จุ บั น หายากและมี ร าคาค่ อ นข้ า งสู ง
กิโลกรัมละ 0.80 - 1.00 บาท ทำให้ต้นทุนการรมควัน
อยู่ที่ประมาณ 0.90 บาทต่อยางแห้ง 1 กิโลกรัม ซึ่งใน
อนาคตคาดว่าไม้ฟืนจะมีราคาเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเป็นปัญหา
อุ ต สาหกรรมการแปรรู ป ยางแผ่ น รมควั น จึ ง ทำให้
หลายโรงงานใช้ ไ ม้ อื่ น ที่ ห าง่ า ยในพื้ น ที่ เช่ น ไม้ เ งาะ
ไม้เทียม เป็นต้น ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้ส่วนหนึ่ง
ยกเว้นไม้ที่เผาไหม้แล้วมีคราบน้ำมันจะไม่นำมารมควัน
ยางเพราะทำให้แผ่นยางมีคราบน้ำมันเกาะ แต่ในการ
รมควันยางไม้จากต้นยางพาราจะให้พลังงานความร้อน
และอัตราการเผาไม้ที่เหมาะสมที่สุด บางครั้งการซื้อไม้
ชนิดอื่นมารมควันนอกจากจะไม่สามารถรมควันได้อย่าง
มีประสิทธิภาพดีแล้วยังส่งผลให้ต้นทุนการรมควันสูงขึ้น
อีกด้วย การรมควันจะใช้อุณหภูมิต่ำกว่าการอบยางแท่ง
โดยใช้อุณหภูมิประมาณ 50oC – 65oC เวลาประมาณ
3 – 4 วัน ในการทำให้ยางแห้งคิดเป็นปริมาณไม้ฟืน
750 กิโลกรัมต่อการทำให้ยางแห้ง 1,000 กิโลกรัม แต่
ทั้งนี้การใช้ไม้ฟืนที่ประหยัดต้นทุนที่สุด กรรมวิธีการผลิต
ยางแผ่นดิบก่อนรมควันจะต้องได้มาตรฐานเช่นกัน เช่น
ความหนาของแผ่นไม่หนาเกินไป หากมีความหนามาก
กว่า 3.8 มิลลิเมตร จะต้องใช้ระยะเวลาการรมควันที่นาน
ขึ้ น ความชื้ น ของยางแผ่ น ก่ อ นรมควั น ก็ เ ช่ น กั น หากมี
ปริมาณความชื้นเกินกว่า 25% จะต้องใช้ระยะเวลาที่
นานกว่าการผึ่งยางให้สะเด็ดน้ำและทิ้งไว้ประมาณ 5
ชั่ ว โมงเพื่ อ ให้ ค วามชื้ น ลดลงเหลื อ ประมาณ 20%
อีกทั้งในห้องรมควันหากไม่มีปล่องระบายความชื้นจะ
ทำให้ น้ ำ ที่ อ ยู่ ใ นแผ่ น ยางระเหยออกไปได้ ย ากทำให้
สิ้นเปลืองไม้ฟืน นอกจากนี้ วิธีการที่จะลดต้นทุนการ
รมควันทำได้โดยใช้พลังงานทดแทนที่เป็นพลังงานจาก

ธรรมชาติ ใ นการอบยางให้ แ ห้ ง โดยการนำความร้ อ น
จากแสงอาทิ ต ย์ ม าผ่ า นตั ว กลางที่ ส ามารถเก็ บ ความ
ร้ อ นแล้ ว กระจายความร้ อ นเข้ า สู่ ตั ว โรงอบเพื่ อ ทำให้
ยางแห้ง เช่น โรงอบพลังงานแสงอาทิตย์ ยางแผ่นอบ
แห้งที่ผลิตได้มีคุณภาพดี สีสวย ไม่ขึ้นรา ราคาจำหน่าย
ได้สูงกว่ายางแผ่นรมควันกิโลกรัมละ 2 บาท นอกจากนี้
หากจะนำไปผลิ ต เป็ น ยางแผ่ น รมควั น สามารถลด
ต้นทุนการผลิตลงได้ 3 เท่า สำหรับพลังงานจากแสง
อาทิตย์ซึ่งมีการใช้ในรูปของแผงโซล่าเซลที่ใช้พลังงาน
ความร้ อ นเก็ บ ไว้ ใ นแบตเตอรี่ แ ล้ ว นำมาเปลี่ ย นเป็ น
กระแสไฟเพื่ อ ใช้ แนวทางนี้ ยั ง ไม่ ไ ด้ น ำมาใช้ ใ นการ
แปรรู ป ยางจึ ง ควรมี ก ารศึ ก ษาเพื่ อ นำมาใช้ ใ นเชิ ง
อุตสาหกรรมให้มากขึ้น

สรุป

	
การดำเนินการทางธุรกิจหรือการผลิตยางดิบให้มี
คุณภาพมาตรฐานย่อมต้องมีการลงทุนในครั้งแรกเพื่อ
หวั ง ผลกำไรและลดต้ น ทุ น การผลิ ต ในระยะต่ อ มา
น้ ำ ยางสดนำไปแปรรู ป ได้ เ ป็ น ยางดิ บ ขั้ น กลางทั้ ง ใน
รู ป น้ ำ ยางและยางแห้ ง การผลิ ต ยางที่ ไ ด้ คุ ณ ภาพ
ตามมาตรฐานจะต้ อ งเป็ น น้ ำ ยางที่ ส ด สะอาด
ปราศจากสิ่ ง เจื อ ปนใดๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น การเติ ม น้ ำ
เปลือกไม้ ดิน เชือกฟาง หรือสิ่งปลอมปนที่ส่งกระทบ
ต่ อ คุ ณ ภาพยางรวมทั้ ง ยางตายที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ
เสี ย หายต่ อ การนำยางไปขึ้ น รู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ก าร
ใช้สารเคมีที่เหมาะสมตามชนิดการแปรรูปเป็นยางดิบ
นั้ น ๆ ส่ ว นการใช้ น้ ำ พลั ง งาน เป็ น ปั จ จั ย พื้ น ฐานใน
การแปรรู ป ยางที่ ต้ อ งใช้ อ ย่ า งประหยั ด และเหมาะสม
สำหรั บ การบริ ห ารจั ด การ แรงงาน การบำรุ ง รั ก ษา
และระบบโลจิสติกส์ ผู้ผลิตย่อมต้องศึกษาหาแนวทาง
ในการลดต้นทุนการผลิต การลดปริมาณของเสีย ลด
ปริ ม าณมลภาวะที่ เ กิ ด ขึ้ น จากกระบวนการผลิ ต รวม
ทั้ ง การจั ด การทรั พ ยากรอย่ า งคุ้ ม ค่ า ย่ อ มทำให้ ผู้
ประกอบการสามารถลดต้ น ทุ น การผลิ ต ได้ อ ย่ า ง
แน่นอน
	

บรรณานุกรม

กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม. 2544. หลั ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ
10

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

	
ป้ อ งกั น มลพิ ษ (เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ส ะอาด)
	
สำหรั บ อุ ต สาหกรรมรายสาขาอุ ต สาหกรรม
	
น้ ำ ยางข้ น อุ ต สาหกรรมยางแท่ ง มาตรฐาน
	
เอสที อ าร์ 20. กรมโรงงาน กระทรวงอุ ต สาห	
กรรม.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. 2554. หลักปฏิบัติเทคโนโลยี
	
การผลิ ต ที่ ส ะอาด (การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ
	
ผลิ ต และการป้ อ งกั น มลพิ ษ ) ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง
	
อุ ต สาหกรรมรายสาขายางพารา. กรมโรงงาน
	
กระทรวงอุตสาหกรรม.
จั ก รี เลื่ อ นราม. 2556. การศึ ก ษาการใช้ พ ลั ง งานใน

	
การแปรรู ป ยางดิ บ ชนิ ด ต่ า งๆ. เอกสารตี พิ ม พ์
	
งานวิจัยแปรรูปยางดิบ กลุ่มวิจัย ศูนย์วิจัยและ
	
พั ฒ นาการเกษตรสงขลา อำเภอหาดใหญ่
	
จังหวัดสงขลา.
ปรี ดิ์ เ ปรม ทั ศ นกุ ล . 2545. การวิ เ คราะห์ น้ ำ เสี ย จาก
	
โรงงานอุ ต สาหกรรมยางดิ บ . รายงานผลงาน
	
ฉบั บ เต็ ม กลุ่ ม วิ จั ย การแปรรู ป และทดสอบยาง
	
ศูนย์วิจัยยางสงขลา สำนักวิจัยและพัฒนาการ
	
เกษตร เขตที่ 8 จั ง หวั ด สงขลา กรมวิ ช าการ
	
เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ภาคผนวกที่ 1
ค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมน้ำยางข้น
	

ปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิต

ค่า
ต่ำสุด

ค่า
สูงสุด

ค่า
มัธยฐาน

การสูญเสียเนื้อยาง (ร้อยละของเนื้อยางแห้งในน้ำยางสด)		
1.13	
6.55	
1.85	
การใช้แอมโมเนีย (กก./ตันน้ำยางข้น)	
HA	 11.52	 22.83	
18.05	
		
MA	 13.01	 16.73	
15.65	
		
LA	 7.23	
7.50	
7.37	
การใช้ DAP (กก./ตันน้ำยางข้น) 		
1.35	
3.39	
2.22	
การใช้กรดซัลฟูริก (กก./ตันเนื้อยางแห้งในหางน้ำยาง)		
171.30	 327.00	 225.00	
การใช้น้ำรวม (ลบ.ม./ตันน้ำยางข้น)		
0.85	
2.89	
2.50	
การใช้น้ำส่วนการผลิตน้ำยางข้น (ลบ.ม./ตันน้ำยางข้น)		
0.62	
2.42	
1.61	
การใช้ไฟฟ้ารวม (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น)		
70.94	 148.53	 82.45	
การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตน้ำยางข้น		
29.78	 95.56	
63.98	
(กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น)					
การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตยางสกิม		
193.07	 404.15	 279.38	
(กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางสกิม)					
การใช้น้ำมันดีเซลในการผลิตยางสกิมบล็อค		
28.00	 45.00	
31.00	
(ลิตร/ตันยางสกิมบล็อค)					
ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย (กก. BOD/ตันน้ำยางข้น)		
3.59	 38.00	
24.08	

ค่าเฉลี่ย ±
SD*
2.38 ± 1.63
18.35 ± 3.82
15.13 ± 1.56
7.37 ± 0.14
2.16 ± 0.64
239.26 ± 53.00
2.55 ± 0.95
1.60 ± 0.65
94.94 ± 23.73
61.29 ± 18.21
277.20 ± 62.81
34.67 ± 7.41
19.66 ± 7.53

หมายเหตุ *SD หมายถึง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานน้ำยางข้นที่เข้าร่วมโครงการฯ		
ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
11

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ภาคผนวกที่ 2
ค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐานเอสทีอาร์ 20
	

ค่า
ต่ำสุด

ปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิต
การสูญเสียเนื้อยาง (ร้อยละของวัตถุดิบ)		
การใช้น้ำสะอาด (ลบ.ม./ตันยางแท่ง)		
การใช้น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้ว (ลบ.ม./ตันยางแท่ง)		
การใช้ไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันยางแท่ง)		
การใช้น้ำมันดีเซล (ลิตร/ตันยางแท่ง)		
การใช้ก๊าซ LPG (กก./ตันยางแท่ง)**		
ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย (กก. BOD/ตันยางแท่ง)		

ค่า
สูงสุด

0.74	
8.32	
0.43	
5.00	
11.62	 20.15	
149.17	 207.08	
25.00	 36.73	
-	
-	
7.70	 23.08	

ค่า
มัธยฐาน

ค่าเฉลี่ย ±
SD*

1.70	
2.81	
14.11	
186.63	
28.00	
-	
11.91	

3.11 ± 3.08
2.76 ± 1.63
15.00 ± 3.35
182.38 ± 21.96
29.43 ± 4.48
42.98
11.91 ± 8.73

หมายเหตุ *SD หมายถึง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานยางแท่งมาตรฐานเอสทีอาร์ 20
ที่เข้าร่วมโครงการฯ				
	
**ข้อมูลการใช้ก๊าซ LPG เป็นข้อมูลที่ได้จากโรงงานจำนวน 1 แห่งเท่านั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการกำหนดค่า
ปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตได้ ใช้เป็นเพียงตัวอย่างที่ชี้วัดประสิทธิภาพการผลิตเท่านั้น				
ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554				

ภาคผนวกที่ 3
เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐานเอสทีอาร์ 20
	

เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิต
1. การสูญเสียเนื้อยาง	
0.90	
2. การใช้น้ำ		
2.1 การใช้น้ำสะอาด	
3.00	
2.2 การใช้น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้ว	
14.00	
3. การใช้ไฟฟ้า	
185.00	
4. การใช้เชื้อเพลิง		
4.1 การใช้น้ำมันดีเซล	
28.00	
4.2 การใช้ก๊าช LPG*	
30.00	
5. ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย**	
5.00	

หน่วย
%ของวัตถุดิบ
ลูกบาศก์เมตร/ตันยางแท่ง
ลูกบาศก์เมตร/ตันยางแท่ง
กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันยางแท่ง
ลิตร/ตันยางแท่ง
กิโลกรัม/ตันยางแท่ง
กิโลกรัม BOD/ตันยางแท่ง

หมายเหตุ * และ ** เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งกำหนดจากค่ามัธยฐานของข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสำรวจการ
ใช้ทรัพยากรในการผลิตของโรงงานผลิตยางแท่งมาตรฐาน เอสทีอาร์ 20 จำนวน 5 โรงงาน		
ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
12

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ภาคผนวกที่ 4
เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมน้ำยางข้น
	

เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิต

หน่วย

1. การสูญเสียเนื้อยาง	
1.60	
%เนื้อยางแห้งในน้ำยางสด	
2. การใช้สารเคมี				
2.1 การใช้แอมโมเนีย				
2.1.1 ผลิต HA	
18.00	
กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น		
2.1.2 ผลิต MA	
15.00	
กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น		
2.1.3 ผลิต LA	
7.50	
กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น		
2.2 การใช้ DAP	
2.00	
กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น		
2.3 การใช้กรดซัลฟูริก	
200.00	
กิโลกรัม/ตันเนื้อยางแห้งในหางน้ำยาง	
3. การใช้น้ำ				
3.1 การใช้น้ำรวม	
2.50	
ลูกบาศก์เมตร/ตันน้ำยางข้น	
3.2 การใช้น้ำส่วนการผลิตน้ำยางข้น	
1.60	
ลูกบาศก์เมตร/ตันน้ำยางข้น	
4. การใช้ไฟฟ้า				
4.1 การใช้ไฟฟ้ารวม	
80.00	
(กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น)	
4.2 การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตน้ำยางข้น	 61.00	
(กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น)	
4.3 การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตยางสกิม	
240.00	
(กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางสกิม)	
5. การใช้น้ำมันดีเซลในการผลิตยางสกิมบล็อค	 31.00	
ลิตร/ตันยางสกิมบล็อค		
6. ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย	
24.00	
กิโลกรัม BOD/ตันน้ำยางข้น
ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
13

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ภาคผนวกที่ 5
วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐาน
เอสทีอาร์ 20
	

วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

กำลังการผลิต
(ตัน/วัน)

1.	การติดตั้งตะแกรงรองรับเศษยางที่หล่นจาก	 - การสูญเสียเนื้อยาง	
134	
	 ขั้นตอนการลำเลียง			
2.	การปรับระบบการใช้น้ำในการล้างเศษยาง	
- การใช้น้ำ	
240	
3. การใช้ก๊าซ LPG เป็นเชื้อเพลิงในการ	
- การใช้เชื้อเพลิง	
135	
	 อบยางแท่งทดแทนการใช้น้ำมันดีเซล	
		
4. การติดตั้งมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง	
- การใช้ไฟฟ้า	
260	
5. การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์	 - การใช้ไฟฟ้า	
240	

ต้นทุนดำเนินการ
(บาท)
100,000	
(5 ชุด)		
60,000	
1,000,000		
(4 หัวเผา)
100,000		
250,000

ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554		

ภาคผนวกที่ 5 (ต่อ)
วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐาน
เอสทีอาร์ 20
	

วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ

ผลประโยชน์ทาง
ระยะเวลา
เศรษฐศาสตร์
คืนทุน
(บาท/ปี)

ประโยชน์ด้าน
สิ่งแวดล้อม

1.	การติดตั้งตะแกรงรองรับเศษยางที่หล่นจาก	
226,270	
5.30 เดือน	 - ลดภาระระบบบำบัดน้ำเสีย	
	 ขั้นตอนการลำเลียง					
2.	การปรับระบบการใช้น้ำในการล้างเศษยาง	
38,365	
1.56 ปี	 - ลดภาระระบบบำบัดน้ำเสีย	
3. การใช้ก๊าซ LPG เป็นเชื้อเพลิงในการ	
5,484,285	
2.19 เดือน	 - ลดมลพิษทางอากาศ		
	 อบยางแท่งทดแทนการใช้น้ำมันดีเซล	
		
4. การติดตั้งมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง	
29,737	
3.36 ปี	 - ลดการใช้ทรัพยากรในขั้นตอน
				
การผลิตไฟฟ้า
5. การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์	 100,488	
2.49 ปี	 - ลดการใช้ทรัพยากรในขั้นตอน
				
การผลิตไฟฟ้า
ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
14

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

ภาคผนวกที่ 6
วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษสำหรับอุตสาหกรรมน้ำยางข้น
	

วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

กำลังการผลิต
(ตัน/วัน)

1.	การติดตั้งตะแกรงกรองสิ่งสกปรก	
- การสูญเสียเนื้อยาง	
23	
	 ในบ่อรับน้ำยางสด แทนการติดตั้ง	
- การใช้น้ำ		
	 ในรางรับน้ำยางสด	
- ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย
2.	การใช้ภาชนะรองรับเพื่อรวบรวม	
- การสูญเสียเนื้อยาง	
23	
	 น้ำค้างโบลว์ เพื่อผลิตยางสกิม	
- การใช้กรดซัลฟูริก		
		
- ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย
3. การใช้ Cat-Polymer ในบ่อดักยางทดแทน	
- การสูญเสียเนื้อยาง	
5	
	 การเติมกรดซัลฟูริก	
- การใช้กรดซัลฟูริก	
(ยางสกิมเครพ)
		
- ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย
4. การใช้ท่อกระจายแอมโมเนียแทนท่อปลายเปิด	 - การใช้แอมโมเนีย	
15	
	 ในบ่อเก็บน้ำยางสด			
5. การติดตั้งระบบการนำแอมโมเนียกลับมา	
- การใช้แอมโมเนีย	
150	
	 ใช้ประโยชน์
6. การติดตั้งอุโมงลมระเหยแอมโมเนีย	
- การใช้กรดซัลฟูริก	
110	
	 ในหางน้ำยาง
7. การใช้ Blower ดูดแอมโมเนีย (เพื่อนำไป	
- การใช้น้ำ	
30	
	 บำบัดด้วย wet scrubber) ก่อนลงไปเก็บ	
- ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย
	 เศษขี้แป้งและกวาดแห้งด้วยใบยางรีดน้ำ
8. การใช้น้ำล้างแผ่นดิสก์ผ่านฝักบัวโดยใช้วาล์ว	 - การใช้น้ำ	
50	
	 เปิด-ปิดแบบเข่ากระทุ้ง	
- ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย		
9. การใช้เครื่องล้างแผ่นดิสก์	
- การใช้น้ำ	
45	
		
- การสูญเสียเนื้อยาง		
		
- ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย
10. การติดตั้งอินเวอร์เตอร์กับมอเตอร์	
- การใช้ไฟ	
55	
	 ของเครื่องปั่นแยก	
- การใช้น้ำ
11. การใช้ก๊าซ LPG เป็นเชื้อเพลิงในการอบยาง	 - การใช้เชื้อเพลิง	
40	
	 สกิมบล็อคทดแทนการใช้น้ำมันดีเซล		
(ยางสกิมบล็อค)	
ที่มา : หลักปฎิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554

ต้นทุนดำเนินการ
(บาท)
50,000
(5 ชุด)
90,000
(2 ชุด)
88,500
56,000
(7 ชุด)
131,000
146,000		
60,000
48,000
(3 ชุด)
104,000
90,000
500,000
(2 หัวเผา)
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34

More Related Content

Similar to วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34

7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
Nutthakorn Songkram
 
โครงงานยางแผ่นรมควัน
โครงงานยางแผ่นรมควันโครงงานยางแผ่นรมควัน
โครงงานยางแผ่นรมควัน
Cheeta2
 
Business Plan : Biodegradable Plastic Bag
Business Plan : Biodegradable Plastic BagBusiness Plan : Biodegradable Plastic Bag
Business Plan : Biodegradable Plastic Bag
Sorawit Yuenyongvithayakul
 
laminate paper
laminate paperlaminate paper
Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602
ssusera9882c
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
Nutthakorn Songkram
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
Sudarat Sangsuriya
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยNIMT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
deliverykill
 
โลกของยาง 2
โลกของยาง 2โลกของยาง 2
โลกของยาง 2
Innovation Group (Thailand)
 
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
Nutthakorn Songkram
 
โครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพาราโครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพาราKruPor Sirirat Namthai
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
Wuttiphong Kompow
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
Wuttiphong Kompow
 

Similar to วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34 (17)

7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานยางแผ่นรมควัน
โครงงานยางแผ่นรมควันโครงงานยางแผ่นรมควัน
โครงงานยางแผ่นรมควัน
 
Rubber
RubberRubber
Rubber
 
Business Plan : Biodegradable Plastic Bag
Business Plan : Biodegradable Plastic BagBusiness Plan : Biodegradable Plastic Bag
Business Plan : Biodegradable Plastic Bag
 
laminate paper
laminate paperlaminate paper
laminate paper
 
Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602
 
แก้ไขงานคอม
แก้ไขงานคอมแก้ไขงานคอม
แก้ไขงานคอม
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โลกของยาง 2
โลกของยาง 2โลกของยาง 2
โลกของยาง 2
 
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)
 
โครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพาราโครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพารา
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 

More from สุพัชชา อักษรพันธ์

วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
Munzzz magazine
Munzzz magazineMunzzz magazine
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนสุพัชชา อักษรพันธ์
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกสุพัชชา อักษรพันธ์
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105สุพัชชา อักษรพันธ์
 
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียนรายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
สุพัชชา อักษรพันธ์
 
รถคันแรก
รถคันแรกรถคันแรก
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
สุพัชชา อักษรพันธ์
 

More from สุพัชชา อักษรพันธ์ (13)

Sexmag
SexmagSexmag
Sexmag
 
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
วารสารยางพารา ปีที่ 36 ฉบับที่ 2
 
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
 
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
 
Nissan juke e brochure
Nissan juke e brochureNissan juke e brochure
Nissan juke e brochure
 
Munzzz magazine
Munzzz magazineMunzzz magazine
Munzzz magazine
 
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
 
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียนรายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
รถคันแรก
รถคันแรกรถคันแรก
รถคันแรก
 
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
 

Recently uploaded

เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (6)

เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34

  • 1. ปีที่ 34 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15
  • 2. ปีที่ 34 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 สารบัญ บทความ 2 แนวทางการลดต้นทุนการแปรรูปยางดิบ 18 การใช้ยางพาราผสมยางมะตอย 25 การใช้ภาชนะเพาะชำพลาสติกช่วยพัฒนา ระบบรากของยางพารา 33 ทดสอบเทคโนโลยีใช้ปุ๋ยกับยางพารา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 40 มุมมองที่เกี่ยวข้องกับยางพาราในเวทีนานาชาติ ประจำฉบับ ข่าวสถาบันวิจัยยาง 47 ย้ายข้าราชการ... ภาพปก : ถนนราดด้วยยางมะตอยผสมยางพาราร้อยละ 5 ในศูนย์วิจัยยาง ฉะเชิงเทรา พื้นที่ 4,000 ตารางเมตร
  • 3. บทบรรณาธิการ วารสารยางพาราฉบับนี้ อายุครบ 34 ปี เป็นฉบับ ส่ ง ท้ า ยปี เ ก่ า ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ หวั ง ว่ า ผู้ ช มและผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง มีกำลังใจดำเนินงานต่อไป ในท่ามกลางราคายางที่นัก พยากรณ์คาดว่าอยู่ระหว่าง 70-85 บาทต่อกิโลกรัม อีก หลายปี เพราะผลผลิตน้ำยางจากประเทศผู้ผลิตใน 5 ปีนี้ คาดว่าสูงกว่าความต้องการของตลาด 2-3 แสนตันต่อปี ประกอบกั บ ผู้ บ ริ โ ภคใช้ ย างน้ อ ย การผลิ ต รถยนต์ เ พิ่ ม ไม่มาก ดังนั้น ผู้ผลิตยางควรหาทางลดต้นทุนการผลิตยาง พยายามใช้ยางที่มีอยู่ในประเทศให้มากที่สุด ลดการเก็บ สินค้าเป็นเวลานาน และหลักการผลิต ขายสินค้า ควร ยึ ด ถื อ จริ ย ธรรมความซื่ อ สั ต ย์ ผลิ ต สิ น ค้ า มี คุ ณ ภาพ ตรงตามความต้องการของตลาด เพราะเป็นผลประโยชน์ ร่ ว มกั น ที่ ยั่ ง ยื น ดี ด้ ว ยกั น ทุ ก ฝ่ า ย ดั ง เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว่ า น้ำยางสามารถติดกับสารสิ่งอื่นง่ายมากและเอาออกยาก ต้องใช้พลังงานและน้ำมาก บทความในฉบับนี้ ได้กล่าวถึง แนวทางการลดต้นทุนแปรรูปยางดิบ อีกเรื่อง คือการผสม ยางธรรมชาติกับยางมะตอยทำผิวถนนสาธารณะ ในทาง ปฏิบัติดีจริงหรือ ทำไมต่างประเทศไม่ใช้ หรือว่าราคาแพง ยังไม่คุ้มค่ากับความทนทานของผิวถนนที่เพิ่มขึ้น หรือการ สาธิตประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลยังไม่เพียงพอ เพราะ สถานการณ์ ใ นโลกทุ ก วั น นี้ มี ก ารผลิ ต รถยนต์ แ ละสร้ า ง ถนนมากขึ้น ดังนั้น ควรมีเทคโนโลยีปรับปรุงให้ผิวถนน มีความทนทานใช้งานได้นานขึ้น ลดการซ่อมบำรุง ลดการ ใช้พลังงาน เป็นมาตรการหนึ่งที่ช่วยลดโลกร้อน แม้แต่ ซากยางรถยนต์เก่า ไม่ควรทิ้งโดยไม่ถูกสุขอนามัย เช่น ปล่อยให้เป็นที่อาศัยเพาะเลี้ยงยุงพาหะนำโรคร้ายมาสู่ คนและสัตว์ ในต่างประเทศมีเทคโนโลยีนำยางรถยนต์ เก่ามาบดอัดผสมเสริมคอสะพาน การก่อสร้างบางอย่าง โดยเฉพาะการทำถนน ทำให้ ถ นนมี ค วามทนทานและ ปลอดภัยมากขึ้น ลดการใช้พลังงาน เพราะสมบัติของยาง เมื่อเสียดสีกับยางจะมีความฝืดสูงสุด ทำให้ล้อยางเกาะ ผิ ว ถนนดี ขึ้ น รวมทั้ ง ความคิ ด ในการวิ จั ย พั ฒ นาองค์ ประกอบผิวถนนให้มีความทนทานราคาถูกและปลอดภัย เช่น เมื่ออากาศร้อนไม่อ่อนตัวไหลเยิ้ม เมื่ออากาศเย็น ไม่แข็งจนแตกง่าย พื้นที่ลาดชันและเปียกไม่ลื่น เป็นต้น เรื่องต่อมา เล่าสู่กันถึงการปฏิบัติใส่ปุ๋ยยางของเกษตรกร ในเขตปลูกยางใหม่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักพบว่า ในสวนยางอ่อน เกษตรกรใส่ปุ๋ยมากไป เพราะคิดว่าถ้าใส่ มากต้นยางโตเร็วได้กรีดยางเร็ว แต่ในสวนยางกรีดแล้ว มั ก ใส่ ปุ๋ ย น้ อ ยไปและไม่ ส มดุ ล หน่ ว ยงานเกี่ ย วของกั บ เกษตรกรและมีศูนย์เรียนรู้ควรพิจารณาแนวทางพัฒนา ถ่ายทอดให้ผู้นำเกษตรกรมีความรู้มากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใส่ปุ๋ยให้คุ้มค่า ประยุกต์การใส่ปุ๋ยตามค่า วิเคราะห์ดิน ไม่กรีดยางต้นเล็ก เป็นต้น การวิจัยวัสดุปลูก ภาชนะกรวยพลาสติ ก ผลิ ต ต้ น ต้ น ติ ด ตายางขนาดเล็ ก ดำเนินงานนานแล้วในต่างประเทศ เหมาะสมกับสวนยาง ขนาดใหญ่ อาจมีแนวทางประยุกต์ได้กับเกษตรกรสวน ยางขนาดเล็ ก สำหรั บ ความก้ า วหน้ า ความร่ ว มมื อ กั บ ต่างประเทศบางองค์กร นำมาแสดงให้ทราบการเคลื่อน ไหวทางวิชาการบางอย่าง อาจเป็นประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยว ข้องต่อไป อารักษ์ จันทุมา บรรณาธิการ เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร นายสุวิทย์ ชัยเกียรติยศ รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง บรรณาธิการ นายอารักษ์ จันทุมา ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิ ก าร เอนก กุณาละสิริ, พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์ ไพรัตน์ ทรงพานิช ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สมจิตต์ ศิขรินมาศ ผู้ช่วย ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จักรพงศ์ อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง วราวุธ ชูธรรมธัช
  • 4. 2 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 แนวทางการลดต้นทุนการแปรรูปยางดิบ ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล และ จักรี เลื่อนราม ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสงขลา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร การแปรรูปยางดิบเป็นการนำน้ำยางสดหรือยาง แห้งเข้าสู่กระบวนการผลิตเป็นยางขั้นกลาง เช่น ยาง แผ่นรมควัน ยางแผ่นผึ่งแห้ง ยางเครพ ยางแท่ง และ น้ำยางข้น ในการแปรรูปยางดิบแต่ละประเภทจะมีการ เลื อ กใช้ ช นิ ด ของวั ต ถุ ดิ บ และชนิ ด ของเครื่ อ งจั ก รที่ แตกต่ า งกั น ทั้ ง นี้ มี ปั จ จั ย ที่ ท ำให้ ผู้ ผ ลิ ต แต่ ล ะรายหรือ แต่ละโรงงานเลือกที่จะผลิตยางชนิดนั้นๆ คือแหล่งของ วั ต ถุ ดิ บ และเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย น การผลิ ต ที่ ไ ด้ ก ำไรย่อม หมายถึงรายได้มากกว่ารายจ่าย แต่ในช่วงที่ราคายาง ลดลงเทียบเท่ากับต้นทุน ทำให้เกษตรกรชาวสวนยาง หลายรายได้ รั บ ผลกระทบ การลดต้ น ทุ น การแปรรู ป ยางดิบเป็นการพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสโดยให้เกษตรกร ชาวสวนยางรวมทั้งผู้ประกอบการหาแนวทางในการลด ต้นทุนให้ได้อย่างพอเหมาะโดยไม่กระทบต่อคุณภาพ ยาง ยิ่ ง ในสภาวะที่ มี ก ารแข่ ง ขั น การค้ า ในระดั บ อุตสาหกรรมที่สูงขึ้น ไม่เพียงแต่มุมมองของประเทศไทย ที่ ผ ลิ ต ยางส่ ง ออกมากเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลกเท่ า นั้ น แต่การเปิดการค้าเสรีจะหมายถึงการนำเข้าสินค้ายาง พาราจากต่ า งประเทศได้ อี ก ด้ ว ย การเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถการแข่ ง ขั น ของผู้ ป ระกอบกิ จ การโดยการใช้ วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ไม่ใช้สารปลอมปนใดๆ ใช้สารเคมี เท่าที่จำเป็น กระบวนการผลิตได้มาตรฐาน รวมทั้งการ ลดปริมาณของเสียให้มากที่สุด จะเป็นการใช้ทรัพยากร อย่ า งคุ้ ม ค่ า และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด นอกจากจะได้ คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ม าตรฐานแล้ ว ยั ง มี ส่ ว นช่ ว ย ในการลดต้ น ทุ น การผลิ ต ได้ อี ก ด้ ว ย เอกสารฉบั บ นี้ ได้สรุปประเด็นใหญ่ๆ ในส่วนของการลดต้นทุนวัตถุดิบ สารเคมี น้ ำ และพลั ง งาน ส่ ว นการบริ ห ารจั ด การ แรงงาน การบำรุ ง รั ก ษาเป็ น ส่ ว นที่ ส ำคั ญ เช่ น กั น ของ กระบวนการแปรรูปยาง ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรรายย่อย กลุ่ ม เกษตรกร โรงงานขนาดเล็ ก จนถึ ง ระดั บ อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ จำเป็นต้องดำเนินการให้ครอบคลุม โดยจะขอกล่ า วเฉพาะในส่ ว นการลดต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ สารเคมี น้ำ และพลังงานเท่านั้น เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการดำเนินกิจการทางธุรกิจได้พอสมควร วัตถุดิบ น้ำยางสด เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการแปรรูปยางดิบ น้ำยางสด สามารถแปรรู ป ได้ เ ป็ น น้ ำ ยางข้ น ยางแผ่ น รมควั น ยางแผ่นผึ่งแห้ง ยางเครพ ยางแท่งเกรด STR XL และ STR 5L ซึ่งจัดเป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด ใหญ่ แต่สำหรับเกษตรกรที่มีสวนยางขนาดไม่เกิน 25 ไร่ ในการผลิ ต เป็ น ยางดิ บ ควรใช้ น้ ำ ยางที่ มี ค วามสด มากที่สุด นั่นหมายถึงไม่ต้องใช้สารรักษาสภาพน้ำยาง โดยที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ สำหรับสวนยางที่มีขนาด ใหญ่ ขึ้ น มี ค วามจำเป็ น ต้ อ งรวบรวมน้ ำ ยางก่ อ นการ แปรรู ป จะใช้ ร ะยะเวลานาน หรื อ การรวบรวมน้ ำ ยาง เกินกว่า 6 ชั่วโมง น้ำยางจะเริ่มเสียสภาพทำให้ยางดิบ ที่ผลิตได้เกิดความเสียหายเมื่อนำไปจำหน่ายจะได้ราคา ต่ำ จำเป็นต้องใช้สารรักษาสภาพน้ำยางเท่าที่จำเป็น ตามชนิดของยางดิบนั้นๆ และใช้ในปริมาณที่เหมาะสม ไม่ ค วรใส่ ใ นปริ ม าณมากเกิ น กว่ า อั ต ราคำแนะนำ เพราะจะทำสิ้นเปลืองและส่งให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น การใช้สารเคมีรักษาสภาพน้ำยางเพื่อต้องการผลิตยาง ให้ ไ ด้ คุ ณ ภาพเมื่ อ นำไปจำหน่ า ยก็ จ ะได้ ร าคาที่ สู ง ขึ้ น
  • 5. 3 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ซึ่งเมื่อคำนวณผลต่างของการลงทุนแล้วก็ย่อมได้กำไร อยู่ ดี นอกจากใช้ น้ ำ ยางที่ ส ดแล้ ว น้ ำ ยางต้ อ งสะอาด อีกด้วย หากน้ำยางมีสิ่งเจือปนจำเป็นต้องกรองน้ำยาง ให้สิ่งสกปรกหลุดออกไปมากที่สุด น้ำยางที่สะอาดจะ ได้ยางที่มีคุณภาพดี กรณีนำไปผลิตเป็นยางแผ่นรมควัน จะได้ ย างแผ่ น เมื่ อ นำไปคั ด ชั้ น จะไม่ มี ร อยคั ต ติ้ ง ซึ่ ง ทำให้ ป ระหยั ด เวลา แรงงาน และไม่ สู ญ เสี ย เนื้ อ ยาง หรื อ ผลิ ต เป็ น ยางอบแห้ ง หรื อ ยางแผ่ น ผึ่ ง แห้ ง จะ สามารถจำหน่ายได้ในราคาที่สูง หรือหากผลิตน้ำยาง ข้นจะสูญเสียเนื้อยางน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม น้ำยาง สดที่จะนำไปผลิตเป็นน้ำยางข้นควรมีปริมาณเนื้อยาง แห้งไม่ต่ำกว่า 30% และค่ากรดไขมันระเหยได้ไม่เกิน 0.07% มิเช่นนั้นจะทำให้ไม่สามารถนำน้ำยางนั้นไป ปั่นเป็นน้ำยางข้นได้ตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งโรงงาน ที่ ผ ลิ ต น้ ำ ยางข้ น หลายแห่ ง มั ก มี ส่ ว นของการผลิ ต ยาง แท่ ง จากน้ ำ ยางด้ ว ยเพื่ อ รองรั บ น้ ำ ยางจากลู ก ค้ า หาก เกิดปัญหาด้านกระบวนการผลิตน้ำยางข้นก็สามารถไป ผลิตเป็นยางแท่ง STR XL หรือ STR 5L ได้ การเติมน้ำลงในน้ำยางสดจะจำหน่ายได้ในราคา ที่ลดลง สำหรับผู้จำหน่ายน้ำยางสดสิ่งที่ต้องย้ำเตือน คือห้ามเติมสารปลอมปนใดๆ ลงไปในน้ำยางโดยเด็ด ขาดแม้แต่น้ำก็ไม่ได้ เกษตรกรบางรายคิดว่าการเติม น้ ำ ลงไปทำให้ ไ ด้ น้ ำ หนั ก เพิ่ ม ขึ้ น สามารถจำหน่ า ยได้ เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง ในความเป็ น จริ ง แล้ ว เกษตรกรจะขาดทุน มากขึ้นไปอีกเนื่องจากโรงงานไม่ต้องการให้มีการปลอม ปนสารใดๆ จึ ง กำหนดการรั บ ซื้ อ น้ ำ ยางที่ วั ด ปริ ม าณ เปอร์ เ ซ็ น ต์ แ ล้ ว หากวั ด เปอร์ เ ซ็ น ต์ เ นื้ อ ยางแห้ ง หรื อ ที่ เรี ย ก DRC ได้ ต่ ำ กว่ า 30% จะหั ก ค่ า เนื้ อ ยางแห้ ง เปอร์เซ็นต์ละ 1 บาท ดังนั้น หากเกษตรกรเติมน้ำลงใน น้ำยาง แม้จะได้น้ำหนักเพิ่มขึ้นแต่เกษตรกรจะขาดทุน ตามตัวอย่างดังนี้ เกษตรกร ก. ขายน้ำยางสดจำนวน 100 กิโลกรัม วัดปริมาณเนื้อยางแห้งได้ 32% เกษตรกร ได้เนื้อยางแห้ง 32 กิโลกรัม หากการรับซื้อน้ำยางวันนั้น กิ โ ลกรั ม ละ 50 บาท เกษตรกร ก. จะได้ เ งิ น 1,600 บาท หากเกษตรกร ก. เติ ม น้ ำ ลงในน้ ำ ยางเพื่ อ เพิ่ ม น้ำหนักจากเดิม 100 กิโลกรัม เพิ่มน้ำอีก 14 กิโลกรัม จะได้น้ำหนักรวม 31.92 กิโลกรัม ลดลงจากเดิม 0.8 กิ โ ลกรั ม ผู้ ซื้ อ มั ก ตั ด ทศนิ ย มทิ้ ง จะเหลื อ เพี ย ง 31 กิโลกรัม ขายได้ 1,550 บาท ขาดทุนไป 50 บาท และยัง ต้ อ งถู ก หั ก ค่ า เปอร์ เ ซ็ น ต์ น้ ำ ยางต่ ำ อี ก กิ โ ลกรั ม ละ 2 บาท น้ำยาง 114 กิโลกรัมจะถูกหัก 228 บาท ถูกหัก ทั้งหมด 278 บาท จากเงิน 1,600 บาท เกษตรกร ก. จะได้รับเงินเพียง 1,322 บาท เท่านั้น จึงไม่ควรเติมน้ำ เพื่ อ เพิ่ ม น้ ำ หนั ก ซึ่ ง นอกจากจะทำให้ ข าดทุ น แล้ ว ยั ง ต้องเพิ่มภาระในการขนส่ง ค่าสึกหรอของยานพาหนะ และทำให้น้ำยางเสื่อมคุณภาพเร็วขึ้นโดยเฉพาะเมื่อน้ำ ที่เติมไม่สะอาด แต่หากมีเนื้อยางแห้งสูงกว่า 40% ทาง ผู้รับซื้อจะให้ราคาน้ำยางที่ระดับ DRC เพียงแค่ 40% เท่ า นั้ น เนื่ อ งจากเกรงว่ า ผู้ ข ายอาจเติ ม สารปลอมปน ใด ๆ ลงในน้ำยางได้ (ตารางที่ 1) การคำนวณหาปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางสด เพื่อคิดราคา วิธีไหนจะได้กำไรกว่ากัน การหาปริมาณ เนื้อยางแห้ง จำเป็นต้องวัดหรือใช้เพื่อคำนวณการซื้อ ขาย และใช้ ค ำนวณปริ ม าณกรดและน้ ำ ที่ เ ติ ม เพื่ อ ทำ ยางแผ่ น น้ ำ ยางข้ น และผลิ ต ยางแท่ ง อี ก ทั้ ง ปั จ จุ บั น ตลาดน้ำยางสดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามความต้องการ ของโรงงานแปรรูปน้ำยางข้น ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และยางเครพ ทำให้ชาวสวนยางมีทางเลือกในการขาย น้ำยางสดโดยตรง เนื่องจากลดต้นทุนและประหยัดเวลา ทั้งนี้น้ำยางสดที่ชาวสวนจะนำมาจำหน่ายจะมีพ่ อ ค้ า รับซื้อตามจุดรวบรวมน้ำยางต่างๆ ดังนั้น เกษตรกรที่ ต้ อ งการขายน้ ำ ยางสดหรื อ ทำยางแผ่ น ควรมี ค วามรู้ ความเข้าใจในการหาปริมาณเนื้อยางแห้ง ดังนี้ การหาปริมาณเนื้อยางแห้งเป็นค่าของเปอร์เซ็นต์ เนื้อยางแห้งในน้ำยาง โดยเทียบจากน้ำยาง 100 ส่วน วิธีการสามารถกระทำได้หลายวิธีแต่ที่นิยมและเชื่อถือ มี 2 วิ ธี คื อ วิ ธี ม าตรฐาน และใช้ เ ครื่ อ งวั ด ความถ่ ว ง จำเพาะ โดยวิ ธี ม าตรฐานในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเป็ น วิ ธี ที่ ถูกต้องแม่นยำเกษตรกรขายได้ในราคาที่กำหนดและ ยุติธรรม แต่วิธีการหา DRC ด้วยเมโทรแลคจะมีความ แม่นยำของ DRC อยู่ที่ 32% – 38% เท่านั้น หากน้ำยาง มี DRC สู ง กว่ า 38% เมโทรแลคจะอ่ า นได้ ม ากกว่ า 38% ในทำนองเดี ย วกั น หากน้ ำ ยางมี DRC ต่ ำ กว่ า 32% เมโทรแลคจะอ่ า นได้ ต่ ำ กว่ า 32% เช่ น กั น หมายความว่าถ้าหาก DRC เท่ากับ 30% เมโทรแลค จะอ่ า นได้ 29% หรื อ 28% นั่ น หมายถึ ง ทุ ก ปริ ม าณ
  • 6. 4 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบราคายางที่เกษตรกรควรได้รับกับราคาที่ลดลงหากเติมน้ำลงในน้ำยางสด ปริมาณ น้ำยางสด (กก.) % เนื้อ ยาง น.น. แห้ง (กก.) เติมน้ำ ปริมาณ (กก.) น้ำยาง (กก.) % เนื้อ ยาง น.น. ราคา ได้เงิน หัก/ รวม ได้รับ แห้ง น้ำยาง (บาท) ต่ำ หัก เงิน (กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท) (บาท) 100 32 32 - - - 32 50 1,600 - - 100 32 32 6 106 30 31.8 50 1,590 - - 100 32 32 10 110 29 31.9 50 1,595 1 110 100 32 32 14 114 28 31.9 50 1,596 2 224 1,600 1,590 (10) 1,485 (115) 1,372 (228) หมายเหตุ โรงงานอาจกำหนดไม่รับซื้อน้ำยางที่ % DRC ต่ำกว่า 28 ตัวเลขใน ( ) เป็นค่าขาดทุนที่เกษตรกรได้รับ เนื้ อ ยางแห้ ง 1 กิ โ ลกรั ม เกษตรกรจะขาดทุ น เท่ า กั บ ราคายางต่อ 1 - 2 กิโลกรัมเสมอ เช่นเดียวกับเกษตรกร ที่ เ ติ ม น้ ำ ลงในน้ ำ ยางนอกจากจะถู ก หั ก ราคาตามข้ อ กำหนดของผู้รับซื้อแล้ว เปอร์เซ็นด์ของ DRC ที่ลดลง ต่ ำ กว่ า 32% ถ้ า หากใช้ เ มโทรแลควั ด หาปริ ม าณ เนื้อยางแห้งเกษตรกรจะขาดทุน 2 เด้ง ปั จ จุ บั น ผู้ รั บ ซื้ อ ที่ เ ป็ น พ่ อ ค้ า คนกลางจะใช้ ไมโครเวฟในการหาปริ ม าณเนื้ อ ยางแห้ ง อย่ า งที่ ชาวบ้านทั่วไปเข้าใจว่าเป็นการหาค่า DRC แต่จริงๆ แล้ ว ยางที่ ผ่ า นการอบจากไมโครเวฟจะเป็ น ยางแห้ ง ที่ มี ก ารระเหยน้ ำ ออกไปเท่ า นั้ น ค่ า ที่ ไ ด้ จึ ง เป็ น ค่ า ปริ ม าณของแข็ ง ทั้ ง หมด ผู้ รั บ ซื้ อ ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ น้ ำ หนั ก น้ำยางที่ 8.00 กรัม – 8.50 กรัม หรือ 0.80 กรัม – 0.85 กรั ม ทำให้ ค่ า ที่ ค ำนวณได้ มี ค วามแตกต่ า งจากวิ ธี มาตรฐานในห้องปฏิบัติการเฉลี่ย 2% - 3% ทำให้เมื่อ นำน้ำยางสดไปจำหน่ายเกษตรกรจะขาดทุน 2 - 3 เท่า ของราคายางต่อน้ำหนักยาง 1 กิโลกรัมเสมอ อย่างไร ก็ ต ามหากจะใช้ ไ มโครเวฟในการหา DRC ควรใช้ น้ ำ หนั ก ของน้ ำ ยางสดที่ 9.00 กรั ม จะให้ ค่ า ที่ ไ ด้ ใกล้เคียงกับ DRC ตามมาตรฐานที่สุด ยางแห้ง ยางแห้งเป็นยางที่จับตัวแล้วอยู่ในรูปยางก้อนถ้วย ยางก้อน ยางก้นถ้วย เศษยางตามรอยกรีด ยางคัตติ้ง ยางเครพ มีทั้งเป็นยางที่สะอาดและมีสิ่งสกปรกปะปน เช่น ดิน ทราย เปลือกไม้ เป็นต้น ยางแห้งเหล่านี้เป็น วั ต ถุ ดิ บ ขั้ น ต้ น ในการนำไปแปรรู ป เป็ น ยางเครพ หรื อ ยางแท่งเกรด STR 10 และ STR 20 ยางแห้งที่ขาย ได้ ร าคาดี จ ะเป็ น ยางที่ ส ะอาดไม่ มี สิ่ ง ปลอมปนใดๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น ดิ น ทราย เปลื อ กไม้ เป็ น ต้ น หากมี ก าร ปะปนแล้ ว มองเห็ น เด่ น ชั ด ทางโรงงานจะหั ก ราคา กิโลกรัมละ 5 – 10 บาท แต่ถ้าเป็นสารปลอมปนชนิด ที่ร้ายแรง เช่น ยางตาย ซึ่งเป็นยางที่ผสมสารเคมีและ ผ่ า นความร้ อ นแล้ ว เช่ น ถุ ง มื อ ยาง ท่ อ ยาง เป็ น ต้ น เป็ น สิ่ ง ปลอมปนที่ ถื อ ว่ า ร้ า ยแรงเนื่ อ งจากทำความ เสียหายให้กับผลิตภัณฑ์ ทางโรงงานจะกำหนดเรี ย ก ค่าเสียหายชิ้นละไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท และมีมาตรการในการไม่รับซื้อจากเกษตรกรรายนี้อีก ยางแห้ง ที่ ส ะอาดในการผลิ ต ยางแท่ ง จะได้ ย าง แท่ ง เกรดสู ง คื อ STR 10 ซึ่ ง ใช้ แ รงงาน น้ ำ และใช้ เครื่ อ งจั ก รหลั ก เช่ น prebreaker, creper และ
  • 7. 5 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 shredder ไม่ เ กิ น 15 ตั ว ทำให้ ป ระหยั ด ทั้ ง แรงงาน น้ำและพลังงานที่ใช้ หากเป็นยางแห้งที่สกปรกจะต้อง มีวิธีการจัดการที่ยุ่งยากขึ้น ใช้พื้นที่ในการดำเนินงาน มากขึ้น ใช้น้ำ และพลังงานมากกว่าเท่าตัว โดยเฉพาะ เครื่ อ งจั ก รที่ ต้ อ งใช้ จ ำนวนมากขึ้ น ไม่ ต่ ำ กว่ า 22 ตั ว อีกทั้งได้ยางที่มีคุณภาพต่ำกว่าคือเป็นยางแท่ง STR 20 ซึ่ ง ในกระบวนการผลิ ต จะต้ อ งใช้ ย างที่ มี คุ ณ ภาพดี ผสมเพื่อให้ได้ยางที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานนั่นหมายถึง ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก ครั้ ง โรงงานที่ ผ ลิ ต ยางที่ มี คุณภาพต่ำจะมีของเสียในปริมาณมากขึ้นเช่น เศษดิน ทราย เปลือกไม้ ยังต้องหาที่ฝังกลบ ส่วนน้ำเสียที่เกิด ขึ้นจากการผลิตจะมีค่าปริมาณสิ่งสกปรกมากกว่ายาง ที่ ส ะอาดกว่ า 3 เท่ า ตั ว ต้ อ งใช้ พื้ น ที่ ก ารบำบั ด มาก กว่ า วั ต ถุ ดิ บ ยางที่ มี ค วามสะอาด รวมทั้ ง กลิ่ น เหม็ น ที่ เกิดขึ้นยังรุนแรงมากกว่ายางที่สะอาดกว่า จำเป็นต้อง หาวิ ธี ก ารจั ด การของเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น นอกจากนี้ ส่ ง ผล ให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัว สารเคมี สารเคมี เ ป็ น ตั ว ที่ ส ำคั ญ ที่ ช่ ว ยให้ ผ ลการแปรรู ป เป็นยางดิบชนิดต่างๆ มีคุณภาพตามมาตรฐาน การใช้ สารเคมีที่ถูกต้อง และที่สำคัญใช้เท่าที่จำเป็นในปริมาณ ที่ เ หมาะสม จะเป็ น สิ่ ง ที่ ช่ ว ยให้ ย างดิ บ มี คุ ณ ภาพตรง ตามความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ หากใช้ ใ นปริ ม าณที่ น้ อ ย เกินไปจะทำให้คุณภาพของวัตถุยางเสียได้ สารเคมีที่ ใช้มีทั้งสารรักษาสภาพน้ำยางและสารจับตัวยาง สาร รักษาสภาพน้ำยางควรใช้ให้ตรงตามการแปรรูปยางดิบ ชนิ ด นั้ น ๆ เช่ น น้ ำ ยางสดที่ น ำไปผลิ ต เป็ น ยางแผ่ น รมควัน หรือยางแผ่นอบแห้ง ควรใช้สารรักษาสภาพที่ เป็ น โซเดี ย มซั ล ไฟท์ ในอั ต รา 0.05% ต่ อ น้ ำ ยางสด หมายความว่ า น้ ำ ยางสด 100 กิ โ ลกรั ม ใช้ โ ซเดี ย ม ซัลไฟท์ 50 กรัม แต่ถ้าใส่น้อยเกินไปอาจไม่สามารถ รั ก ษาสภาพน้ ำ ยางได้ น้ ำ ยางอาจจั บ ตั ว เป็ น เม็ ด หรื อ เป็นก้อนได้ เมื่อนำไปผลิตเป็นยางแผ่นจะทำให้ผิวไม่ สม่ำเสมอ มีฟองอากาศ แผ่นยางด่าง – ดำ จากการที่ จับตัวยางที่เริ่มเสียสภาพเร็วกว่ายางปกติ และที่สำคัญ เมื่อจำหน่ายก็จะได้ราคาที่ต่ำลง แต่หากใส่มากเกินไป ทำให้ยางเหนียวมีสีคล้ำ ผิวยางลื่น นอกจากคุณภาพ ของยางแผ่นไม่ดีพอแล้ว เมื่อนำไปจำหน่ายจะได้ราคา ที่ ล ดลงกว่ า ยางที่ มี คุ ณ ภาพดี ก ว่ า เกื อ บกิ โ ลกรั ม ละ 1 บาท อี ก ทั้ ง ทำให้ ต้ น ทุ น ของการใช้ ส ารเคมี เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก สำหรั บ ต้ น ทุ น ของโซเดี ย มซั ล ไฟท์ ต่ อ น้ ำ ยางสด 100 กิโลกรัมเท่ากับ 1.80 บาท ทำยางได้ประมาณ 30 แผ่ น หรื อ ยางแผ่ น 1 กิ โ ลกรั ม มี ต้ น ทุ น การใช้ ส าร รักษาสภาพ 0.06 บาท ซึ่งหากคำนวณแล้วหากยาง แผ่ น ที่ ผ ลิ ต ตรงตามมาตรฐานและคุ ณ ภาพพอจะได้ ราคาที่ สู ง กว่ า ท้ อ งตลาดทั่ ว ไปกิ โ ลกรั ม ละ 1 บาท ดังนั้น เมื่อหักต้นทุนแล้วจะมีผลกำไรอยู่ที่กิโลกรัมละ 0.94 บาท ถ้ า หากใช้ ต ามอั ต ราคำแนะนำข้ า งต้ น จะ ทำให้ ย างแผ่ น ที่ ผ ลิ ต ได้ สี ส วย แผ่ น ไม่ เ หนี ย วอี ก ทั้ ง จำหน่ า ยได้ ใ นราคาเที ย บเท่ า ยางแผ่ น คุ ณ ภาพดี อย่ า งไรก็ ต าม หากเป็ น ไปได้ ใ นการแปรรู ป ควรเป็ น น้ ำ ยางที่ มี ค วามสดมากที่ สุ ด ถ้ า เป็ น ระดั บ โรงงาน อุตสาหกรรมก็ควรใช้สารรักษาสภาพตามความจำเป็น และเหมาะสม ในการรั ก ษาสภาพน้ ำ ยางสดที่ น ำไปผลิ ต เป็ น น้ำยางข้น จะใช้แอมโมเนีย (NH3) ซึ่งอยู่ในรูปก๊าช เป็น สารเคมีที่แนะนำ เติมในรูปสารละลายในอัตรา 0.01 – 0.05% ต่อน้ำหนักน้ำยางสด ก่อนปั่นน้ำยางควรเติม NH 3 ลงไปอยู่ ที่ ร ะดั บ ไม่ เ กิ น 0.4% ซึ่ ง หากเติ ม ใน ปริ ม าณมากเกิ น ไปจะทำให้ สิ้ น เปลื อ งและข้ อ กำหนด ตามมาตรฐานสำหรั บ NH 3 ในน้ ำ ยางข้ น ชนิ ด แอมโมเนี ย ต่ ำ (LA) อยู่ ที่ ร ะดั บ ไม่ เ กิ น 0.29% และ น้ำยางข้นชนิดแอมโมเนียสูง (HA) อยู่ที่ระดับไม่ต่ำกว่า 0.60% ในการปั่ น น้ ำ ยางข้ น หากมี ก ารใช้ แ อมโมเนี ย มากเกิ น ไปจะส่ ง ผลให้ ต กค้ า งอยู่ ใ นหางน้ ำ ยางใน ปริ ม าณสู ง และจะสิ้ น เปลื อ งกรดที่ ใ ช้ ใ นการจั บ ตั ว เนื้ อ ยางซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต ยางสกิ ม สู ง ขึ้ น สำหรับยางแท่งเกรด STR XL และ STR 5L แนะนำ ให้ใช้ NH3 ในอัตรา 0.05% ร่วมกับกรดบอริกในอัตรา 0.05% สามารถรั ก ษาสภาพน้ ำ ยางสดได้ น านถึ ง 40 ชั่วโมง หากใช้ NH3 ผลิตยางแผ่นจะทำให้ยางแผ่นสี คล้ ำ และเหนี ย วได้ เมื่ อ นำไปจำหน่ า ยอาจได้ ร าคาที่ ต่ ำ กว่ า ยางแผ่ น ที่ ใ ช้ โ ซเดี ย มซั ล ไฟท์ เ ป็ น สารรั ก ษา สภาพน้ำยาง สารเคมีสำหรับจับตัวยางตามคำแนะนำคือ กรด
  • 8. 6 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ฟอร์มิค เนื่องจากเป็นสารอินทรีย์ระเหยได้ง่าย ไม่ส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและไม่ตกค้างในยางหากใช้ใน อั ต ราที่ แ นะนำ กรดฟอร์ มิ ค ถ้ า ใช้ จั บ ตั ว ยางภายใน วันเดียวแล้วรีดแผ่น ให้ใช้ในอัตรา 0.6% ต่อน้ำหนัก ยางแห้ง จะมีต้นทุนการทำแผ่นกิโลกรัมละ 0.31 บาท แต่ถ้าหากจะรีดยางในวันรุ่งขึ้นให้ใช้ในอัตรา 0.4% ต่อ น้ ำ หนั ก ยางแห้ ง จะมี ต้ น ทุ น การทำแผ่ น กิ โ ลกรั ม ละ 0.21 บาท สามารถลดต้นทุนไปได้ 0.10 บาท ดังนั้น หากทำยางแผ่นได้วันละ 1,000 กิโลกรัม จะสามารถ ประหยัดกรดไปได้วันละ 100 บาท หรือเดือนละ 3,000 บาท ปีละ 36,000 บาท การทำยางแผ่นโดยรีดในวันรุ่ง ขึ้น นอกจากจะลดต้นทุนการใช้กรดแล้ว ยังทำให้แผ่น ยางมี คุ ณ ภาพดี ก ว่ า รี ด ภายในวั น เดี ย วกั น ส่ ว นใหญ่ เกษตรกรใช้กรดซัลฟูริกในการทำยางแผ่น เนื่องจากมี ต้นทุนต่ำกว่าและมักรีบเร่งในการจับตัว ยางแผ่นดิบ ที่ได้จึงมีความยืดหยุ่นน้อยกว่ายางแผ่นที่จับตัวในวัน รุ่งขึ้น กรดซัลฟูริกมีต้นทุนเฉลี่ยกิโลกรัมละ 0.16 บาท แต่ มี ข้ อ เสี ย ตรงที่ ย างแผ่ น มี สี ค ล้ ำ หากใช้ ม ากเกิ น ไป จะทำให้ ย างแผ่ น เหนี ย ว แห้ ง ช้ า โอกาสยางขึ้ น รามี มากกว่ า การใช้ ก รดฟอร์ มิ ค โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ เกษตรกรนำยางไปตากแดดยิ่งทำให้ยางเสียคุณภาพ จะจำหน่ายได้ในราคาของยางคุณภาพคละ ซึ่งมีราคา ที่ต่ำกว่ายางที่มีคุณภาพดีกิโลกรัมละ 1.20 บาท นอก จากนี้ น้ำเสียจากการใช้กรดซัลฟูริกที่มีซัลเฟตตกค้าง เมื่อทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ในน้ำจะตกตะกอนของ ซั ล ไฟด์ ที่ มี สี ด ำ และทำให้ ย ากต่ อ การบำบั ด กรด ซัลฟูริกเป็นกรดแก่ เมื่อนำไปผสมกับน้ำจะเกิดปฏิกิริยา รุนแรง มีกลิ่นเหม็นแสบจมูก ซึ่งถ้าจะคิดต้นทุนในการ ใช้กรดซัลฟูริกในการทำยางซึ่งมีราคาถูกกว่ากรดฟอร์มิค ก็ จ ริ ง แต่ ห ากจะคิ ด ความเสี่ ย งของมลภาวะและการ จัดการน้ำเสียที่เกิดขึ้น จะทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นได้ น้ำ น้ ำ เป็ น ส่ ว นประกอบหลั ก ในการแปรรู ป ยางดิ บ น้ ำ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการแปรรู ป มี 2 ส่ ว น คื อ น้ ำ ล้ า งใน โรงงานและน้ำในกระบวนการผลิต น้ำล้างในโรงงาน เป็นน้ำที่ใช้ล้างวัสดุอุปกรณ์ ล้างเครื่องมือ ส่วนน้ำใน กระบวนการผลิ ต ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น น้ ำ ที่ ใ ช้ ใ นการผสม ยางเพื่อทำการเจือจางและการล้างยางให้มีความสะอาด การใช้ น้ ำ อย่ า งประหยั ด อาจทำให้ ไ ด้ ย างที่ ไ ม่ ส ะอาด ในทางกลั บ กั น ถ้ า หากใช้ น้ ำ ที่ ฟุ่ ม เฟื อ ยจะส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต สู ง ขึ้ น ได้ น้ ำ ที่ ใ ช้ อ ย่ า งเหมาะสมจะส่ ง ผลต่อคุณภาพยางที่ดีด้วย อย่างไรก็ตาม น้ำเป็นต้นทุน อย่างหนึ่งที่มีความสำคัญ บางครั้งอาจต้องลงทุนสร้าง ถังตกตะกอนเพื่อที่จะได้น้ำสะอาด แนวทางการลดต้น ทุนจะต้องไม่ใช้น้ำมากเกินไป ให้ใช้ในปริมาณที่เหมาะ สมกั บ กระบวนการผลิ ต นั้ น ๆ น้ ำ ที่ ใ ช้ ใ นกระบวนการ ผลิ ต ยางแผ่ น ดิ บ ยางแผ่ น รมควั น น้ ำ ยางข้ น และ ยางแท่ง มีปริมาณการใช้น้ำเฉลี่ย 2, 3, 4 และ 16 ลบ.ม. ต่อกำลังการผลิตยาง 1 ตัน สำหรับยางแท่ง STR 10 และ STR 20 จะมี ป ริ ม าณการใช้ น้ ำ ที่ แตกต่างกัน ยางแท่ง STR 10 เป็นยางที่สะอาดกว่า มี ป ริ ม าณการใช้ น้ ำ เฉลี่ ย 10 ลบ.ม./ยางแท่ ง 1 ตั น ในขณะที่ ย างแท่ ง STR 20 จะมี ป ริ ม าณการใช้ น้ ำ เฉลี่ย 18 ลบ.ม./ยางแท่ง 1 ตัน เป็นต้น (ปรีดิ์เปรม, 2545) สำหรับแนวทางการใช้น้ำในโรงงานน้ำยางข้น และยางแท่ง STR กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ศึกษา ในหลั ก ปฏิ บั ติ เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ส ะอาดสำหรั บ อุ ต สาหกรรมรายสาขายางพารา ซึ่ ง สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางในการลดต้นทุนได้ (ภาคผนวกที่ 1-7) สำหรั บ โรงงานยางแท่ ง จากข้ อ มู ล ของกรม โรงงานปี 2544 พบว่า มีการใช้น้ำมักนำมาจากแหล่ง ธรรมชาติ เช่น คลอง แม่น้ำ หนอง บึง เป็นต้น โรงงาน ส่ ว นใหญ่ จึ ง ต้ อ งวางแผนการใช้ น้ ำ เพื่ อ ลดต้ น ทุ น การ ผลิตเพื่อที่จะได้น้ำที่สะอาด ส่วนค่าใช้จ่ายที่ยังคงมีอยู่ คือการปรับสภาพน้ำให้เหมาะแก่การใช้งาน และต้นทุน ค่าก่อสร้างการเดินระบบขนถ่ายน้ำเข้าสู่ระบบเท่านั้น โรงงานบางแห่งมีแหล่งที่ตั้งไม่เอื้อต่อการจัดหาแหล่ง น้ำธรรมชาติมาใช้จึงต้องหาน้ำดิบจากการประปาส่วน ภูมิภาคหรือบ่อน้ำบาดาลซึ่งมีต้นทุนของทรัพยากรน้ำ ที่ ค่ อ นข้ า งสู ง ทำให้ โ รงงานสู ญ เสี ย ศั ก ยภาพการ แข่งขันกับโรงงานคู่แข่งที่มีต้นทุนทรัพยากรน้ำต่ำกว่า การปรับปรุงคุณภาพน้ำที่ใช้แล้วเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ จึงมีความจำเป็น อนึ่ง น้ำบาดาลมีทั้งน้ำบาดาลบ่อตื้น และบ่ อ ลึ ก น้ ำ บาดาลบ่ อ ลึ ก และขนาดใหญ่ มี ต้ น ทุ น การดำเนิ น การค่ อ นข้ า งสู ง ส่ ว นน้ ำ บาดาลบ่ อ ตื้ น มี
  • 9. 7 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ต้นทุนต่ำกว่าแต่ไม่เป็นที่นิยมเนื่องจากไม่สามารถนำ น้ ำ มาใช้ ใ นโรงงานได้ อ ย่ า งเพี ย งพออี ก ทั้ ง น้ ำ บาดาล บ่ อ ตื้ น มี ค่ า ใช้ จ่ า ยในการปรั บ สภาพน้ ำ ซึ่ ง มี ป ริ ม าณ แร่ธาตุอยู่มาก พลังงาน พลั ง งานเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ ในการแปรรู ป ยางทุ ก ชนิด มี การใช้พลัง งานจากกระแสไฟฟ้าและพลังงาน จากน้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ในการแปรรู ป ยางแท่ ง และน้ ำ ยางข้ น ส่ ว นการผลิ ต ยางแผ่ น รมควั น จะใช้ พ ลั ง งาน ความร้อนจากการเผาไหม้ไม้ฟืน กระแสไฟฟ้า ค่ า กระแสไฟฟ้ า เป็ น ต้ น ทุ น สำคั ญ เนื่ อ งจาก กระแสไฟฟ้าใช้ในการขับเคลื่อนเครื่องจักรทุกชนิดใน กระบวนการผลิต การผลิตยางแท่งแยกเป็น 2 ประเภท คือ ยางแท่งที่ใช้น้ำยางสดเป็นวัตถุดิบ จะใช้เครื่องจักร ในการผลิต 5 ชุด เช่น crusher 1 ชุด creper 3 ชุด shredder 1 ชุด ยังมีในส่วนของเตาอบ และเครื่องอัด แท่ ง ที่ ต้ อ งใช้ ก ระแสไฟฟ้ า น้ ำ ยางสดเป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ สะอาด มีสิ่งสกปรกและสิ่งปลอมปนน้อย เครื่องจักร เพียง 5 ชุดดังกล่าว สามารถผลิตได้ยางแท่งเกรด STR XL และ STR 5L ได้ แต่การผลิตยางแท่ง STR 20 คุณภาพของวัตถุดิบจะเป็นตัวกำหนดชนิดและจำนวน เครื่ อ งจั ก ร วั ต ถุ ดิ บ ยางที่ มี คุ ณ ภาพต่ ำ เช่ น ยางแผ่ น รมควั น ที่ ไ ม่ ส ามารถจั ด ชั้ น ได้ ยางก้ น ถ้ ว ย เศษยาง ตามรอยกรี ด เศษยางที่ ต กตามพื้ น ยางก้ อ นถ้ ว ยปน ขี้ เ ปลื อ ก ยางเหล่ า นี้ เ ป็ น ยางที่ มี สิ่ ง ปลอมปนและ สกปรกมากจึ ง ต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งจั ก รที่ มี ก ำลั ง แรงสู ง มี ประสิ ท ธิ ภ าพในการตั ด บด ฉี ก และเฉื อ นสู ง และมี จำนวนเครื่องมากขึ้นจนทำให้วัตถุดิบที่สกปรกมีความ สะอาดและมีคุณภาพดีขึ้นได้ แต่ทำให้ต้นทุนการผลิต สู ง ขึ้ น การเลื อ กใช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพดี แ ละมี ส มบั ติ ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น เช่ น ยางก้ อ นถ้ ว ยคุ ณ ภาพดี การใช้ เครื่ อ งจั ก รในกระบวนการผลิ ต ก็ ใ ช้ จ ำนวนลดลง ใน กระบวนการผลิตสามารถลดเครื่องจักรที่มีกำลังสูง เช่น slab cutter, prebreaker และ creper ลงได้ประมาณ 5 ชุ ด คิ ด เป็ น กำลั ง ม้ า ประมาณ 1,675 – 1,000 = 675 HP (462,520 วัตต์) ตามตารางที่ 2 สำหรั บ โรงงานน้ ำ ยางข้ น แนวทางในการลด ต้นทุนการใช้ไฟฟ้าของเครื่องปั่นน้ำยางโดยการติดตั้ง inverter เข้ า กั บ เครื่ อ งปั่ น แยกที่ ใ ช้ ร ะบบเกี ย ร์ แ ละ ตารางที่ 2 ชนิดของวัตถุดิบกับจำนวนแรงม้าของเครื่องจักรที่จำเป็นต้องใช้ ในกระบวนการผลิตยางแท่ง วัตถุดิบ Slab cutter 125 HP Prebreaker 250 HP น้ำยางสด 1/ - - เศษยางคละ 2/ x 2 x 2 = 250 = 500 3/ ยางก้อนถ้วย x 1 x 1 คุณภาพดี = 125 = 250 หมายเหตุ Creper 75 HP x 3 x1 = 225 = 50 x 9 - = 675 x 1 - = 375 เครื่องจักรหลักในกระบวนการผลิตยางแท่ง STR XL และ STR 5L เฉพาะจักรหลักในกระบวนการผลิตยางแท่ง STR 20 3/ เฉพาะจักรหลักในกระบวนการผลิตยางแท่ง STR 10 1/ 2/ crusher 50 HP Shredder 125 HP x 1 = 125 x 2 = 250 x 2 = 250 รวม (HP) 400 1,675 1,000
  • 10. 8 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 คลั ช ซึ่ ง ในการเปิ ด เครื่ อ งปั่ น ครั้ ง แรกจะสู ญ เสี ย พลั ง งานค่ อ นข้ า งมากอั น เนื่ อ งจากแรงเสี ย ดทานหน้าคลัช ซึ่ ง inverter จะทำหน้ า ที่ ค่ อ ยๆ จ่ า ยกระแสไฟฟ้ า ให้ เ ครื่ อ ง ทำให้ เ ครื่ อ งเริ่ ม หมุ น จนกระทั่ ง ได้ ร อบที่ ต้ อ งการโดยที่ ไ ม่ เ สี ย พลั ง งานจากแรงเสี ย ดทาน ดังกล่าว ทำให้ประหยัดพลังงานลงได้มาก น้ำมันเชื้อเพลิง ใช้ ใ นการเผาไหม้ เ พื่ อ นำความร้ อ นจากการเผา ไหม้ ท ำให้ ย างแห้ ง การแปรรู ป ยางดิ บ ที่ ใ ช้ ค วามร้ อ น ทำให้ ย างแห้ ง โดยไม่ ใ ช้ ค วั น ได้ แ ก่ ยางแท่ ง และยาง แผ่นอบแห้ง ดังนั้น เชื้อเพลิงที่เผาไหม้จะต้องมีคุณภาพ สูง ในอดีตที่ใช้กันทั่วไปได้แก่ น้ำมันดีเซล เนื่องจากมี ราคาต่ ำ กว่ า น้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ชนิ ด อื่ น แต่ จ ากสภาวะ น้ ำ มั น ราคาแพงขึ้ น ทำให้ ต้ น ทุ น การผลิ ต สู ง ขึ้ น จึ ง มี การปรั บ เปลี่ ย นเชื้ อ เพลิ ง จากน้ ำ มั น ดี เ ซลเป็ น แก๊ ส ธรรมชาติ แ ทน ซึ่ ง ปั จ จุ บั น โรงงานยางแท่ ง ได้ ใ ช้ แ ก๊ ส ธรรมชาติ LPG เป็นเชื้อเพลิงแล้วประมาณร้อยละ 90 เชื้ อ เพลิ ง ในกระบวนการผลิ ต ยางแท่ ง สำหรั บ กระบวนการผลิตที่ใช้เชื้อเพลิงเป็นน้ำมันดีเซลในการ อบยางแท่ ง นั้ น ขั้ น ตอนก่ อ นการอบยางจะต้ อ งทำ ให้ยางเป็นเม็ดเล็กๆ ก่อน จากนั้นเมื่อยางผ่านเข้าไป ในเตาอบน้ ำ มั น ดี เ ซลจะถู ก พ่ น ออกมาเป็ น ฝอย และ เกิดการเผาไหม้ในห้องเผา ความร้อนจากการเผาไหม้ จะถู ก ดู ด แล้ ว พ่ น ผ่ า นเม็ ด ยางที่ บ รรจุ ใ นกระบะที่ บุ ด้วยตะแกรงสแตนเลสอยู่ด้านล่าง ความร้อนจะทำให้ ความชื้ น ในยางระเหยออกไป ลั ก ษณะดั ง กล่ า วจะ ดำเนิ น ไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ งภายในอุ โ มงค์ โ ดยใช้ เ วลา ประมาณ 3 – 4 ชั่ ว โมงที่ อุ ณ หภู มิ 100oC – 120 oC จะทำให้ ย าง 3,000 กิ โ ลกรั ม แห้ ง ภายใน 1 ชั่ ว โมง โดยมี อั ต ราการแลกเปลี่ ย นพลั ง งานจากน้ ำ มั น ดี เ ซล 1 ลิตร ต่อเนื้อยางแห้ง 28.67 กิโลกรัม หรือ 1.06 บาท ต่ อ กิ โ ลกรั ม ยางแห้ ง ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น เป็ น การผลิ ต ที่ มี ต้นทุนค่อนข้างสูง เมื่อมีการพัฒนานำก๊าซ LPG มาเป็น เชื้อเพลิงในการเผาไหม้แทนน้ำมันดีเซล โดยการปรับ เปลี่ยนระบบบางอย่าง พบว่าก๊าซ LPG 42.98 กิโลกรัม สามารถอบยางได้ 1,000 กิโลกรัม คิดเป็นค่าก๊าซ 0.69 บาท ต่อยาง 1 กิโลกรัม หรือลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงลง ได้ 0.37 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งเชื้อเพลิงทั้ง 2 ชนิดนี้ใช้ ในอุ ต สาหกรรมยางแท่ ง STR หรื อ ยางแท่ ง ชนิ ด อื่ น ๆ ในส่วนของโรงงานแปรรูปน้ำยางข้นไม่ได้ใช้เชื้อเพลิง ในการแปรรู ป เพราะใช้ วิ ธี ปั่ น แยกด้ ว ยเครื่ อ งปั่ น ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการใช้เชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ ในการแปรรูปยางดิบแต่ละชนิด ชนิดของ เชื้อเพลิง ราคาจำหน่าย บาท/กก. ปริมาณที่ใช้ กก./ตัน (DRC) ค่าใช้จ่าย บาท/กก. ชนิดของ ยางแปรรูป LPG 16.00 42.98 0.69 STR, BLOCK Diesel 30.33 34.88 1.06 STR, BLOCK ฟืน 1.00 750 0.90 RSS Solar* - - - ADS, Crepe chamber Solar cell - - - หมายเหตุ * การอบยางด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ใช้ความร้อนมากกว่า 1,000 เมกกะจูล/ตัน สามารถประหยัดเงินได้ประมาณ 1,000 บาท/ตัน ที่มา : จักรี เลื่อนราม (2556) การศึกษาการใช้พลังงานในการแปรรูปยางดิบชนิดต่าง ๆ
  • 11. 9 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ยกเว้ น ในส่ ว นของการผลิ ต ยางแท่ ง จากหางน้ ำ ยาง (skim block) มีการใช้เชื้อเพลิงในเตาอบเช่นเดียวกับ การอบยางแท่งทั่ว ๆ ไป เชื้ อ เพลิ ง ในกระบวนการผลิ ต ยางแผ่ น รมควั น ในการผลิตยางแผ่นรมควันจะใช้ไม้ฟืนในการเผาไหม้ เพื่อใช้ความร้อนและควัน ฟืนที่ใช้ได้จากไม้ชนิดใดก็ได้ ส่วนมากมักเป็นไม้ฟืนจากไม้ยางพาราที่ได้จากการล้ม ไม้ที่เป็นยางแก่ไม่สามารถให้ผลผลิตน้ำยางได้ หรือเป็น ไม้ตามโครงการปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี เนื่องจากไม้ ยางพาราในปั จ จุ บั น หายากและมี ร าคาค่ อ นข้ า งสู ง กิโลกรัมละ 0.80 - 1.00 บาท ทำให้ต้นทุนการรมควัน อยู่ที่ประมาณ 0.90 บาทต่อยางแห้ง 1 กิโลกรัม ซึ่งใน อนาคตคาดว่าไม้ฟืนจะมีราคาเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเป็นปัญหา อุ ต สาหกรรมการแปรรู ป ยางแผ่ น รมควั น จึ ง ทำให้ หลายโรงงานใช้ ไ ม้ อื่ น ที่ ห าง่ า ยในพื้ น ที่ เช่ น ไม้ เ งาะ ไม้เทียม เป็นต้น ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้ส่วนหนึ่ง ยกเว้นไม้ที่เผาไหม้แล้วมีคราบน้ำมันจะไม่นำมารมควัน ยางเพราะทำให้แผ่นยางมีคราบน้ำมันเกาะ แต่ในการ รมควันยางไม้จากต้นยางพาราจะให้พลังงานความร้อน และอัตราการเผาไม้ที่เหมาะสมที่สุด บางครั้งการซื้อไม้ ชนิดอื่นมารมควันนอกจากจะไม่สามารถรมควันได้อย่าง มีประสิทธิภาพดีแล้วยังส่งผลให้ต้นทุนการรมควันสูงขึ้น อีกด้วย การรมควันจะใช้อุณหภูมิต่ำกว่าการอบยางแท่ง โดยใช้อุณหภูมิประมาณ 50oC – 65oC เวลาประมาณ 3 – 4 วัน ในการทำให้ยางแห้งคิดเป็นปริมาณไม้ฟืน 750 กิโลกรัมต่อการทำให้ยางแห้ง 1,000 กิโลกรัม แต่ ทั้งนี้การใช้ไม้ฟืนที่ประหยัดต้นทุนที่สุด กรรมวิธีการผลิต ยางแผ่นดิบก่อนรมควันจะต้องได้มาตรฐานเช่นกัน เช่น ความหนาของแผ่นไม่หนาเกินไป หากมีความหนามาก กว่า 3.8 มิลลิเมตร จะต้องใช้ระยะเวลาการรมควันที่นาน ขึ้ น ความชื้ น ของยางแผ่ น ก่ อ นรมควั น ก็ เ ช่ น กั น หากมี ปริมาณความชื้นเกินกว่า 25% จะต้องใช้ระยะเวลาที่ นานกว่าการผึ่งยางให้สะเด็ดน้ำและทิ้งไว้ประมาณ 5 ชั่ ว โมงเพื่ อ ให้ ค วามชื้ น ลดลงเหลื อ ประมาณ 20% อีกทั้งในห้องรมควันหากไม่มีปล่องระบายความชื้นจะ ทำให้ น้ ำ ที่ อ ยู่ ใ นแผ่ น ยางระเหยออกไปได้ ย ากทำให้ สิ้นเปลืองไม้ฟืน นอกจากนี้ วิธีการที่จะลดต้นทุนการ รมควันทำได้โดยใช้พลังงานทดแทนที่เป็นพลังงานจาก ธรรมชาติ ใ นการอบยางให้ แ ห้ ง โดยการนำความร้ อ น จากแสงอาทิ ต ย์ ม าผ่ า นตั ว กลางที่ ส ามารถเก็ บ ความ ร้ อ นแล้ ว กระจายความร้ อ นเข้ า สู่ ตั ว โรงอบเพื่ อ ทำให้ ยางแห้ง เช่น โรงอบพลังงานแสงอาทิตย์ ยางแผ่นอบ แห้งที่ผลิตได้มีคุณภาพดี สีสวย ไม่ขึ้นรา ราคาจำหน่าย ได้สูงกว่ายางแผ่นรมควันกิโลกรัมละ 2 บาท นอกจากนี้ หากจะนำไปผลิ ต เป็ น ยางแผ่ น รมควั น สามารถลด ต้นทุนการผลิตลงได้ 3 เท่า สำหรับพลังงานจากแสง อาทิตย์ซึ่งมีการใช้ในรูปของแผงโซล่าเซลที่ใช้พลังงาน ความร้ อ นเก็ บ ไว้ ใ นแบตเตอรี่ แ ล้ ว นำมาเปลี่ ย นเป็ น กระแสไฟเพื่ อ ใช้ แนวทางนี้ ยั ง ไม่ ไ ด้ น ำมาใช้ ใ นการ แปรรู ป ยางจึ ง ควรมี ก ารศึ ก ษาเพื่ อ นำมาใช้ ใ นเชิ ง อุตสาหกรรมให้มากขึ้น สรุป การดำเนินการทางธุรกิจหรือการผลิตยางดิบให้มี คุณภาพมาตรฐานย่อมต้องมีการลงทุนในครั้งแรกเพื่อ หวั ง ผลกำไรและลดต้ น ทุ น การผลิ ต ในระยะต่ อ มา น้ ำ ยางสดนำไปแปรรู ป ได้ เ ป็ น ยางดิ บ ขั้ น กลางทั้ ง ใน รู ป น้ ำ ยางและยางแห้ ง การผลิ ต ยางที่ ไ ด้ คุ ณ ภาพ ตามมาตรฐานจะต้ อ งเป็ น น้ ำ ยางที่ ส ด สะอาด ปราศจากสิ่ ง เจื อ ปนใดๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น การเติ ม น้ ำ เปลือกไม้ ดิน เชือกฟาง หรือสิ่งปลอมปนที่ส่งกระทบ ต่ อ คุ ณ ภาพยางรวมทั้ ง ยางตายที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสี ย หายต่ อ การนำยางไปขึ้ น รู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ก าร ใช้สารเคมีที่เหมาะสมตามชนิดการแปรรูปเป็นยางดิบ นั้ น ๆ ส่ ว นการใช้ น้ ำ พลั ง งาน เป็ น ปั จ จั ย พื้ น ฐานใน การแปรรู ป ยางที่ ต้ อ งใช้ อ ย่ า งประหยั ด และเหมาะสม สำหรั บ การบริ ห ารจั ด การ แรงงาน การบำรุ ง รั ก ษา และระบบโลจิสติกส์ ผู้ผลิตย่อมต้องศึกษาหาแนวทาง ในการลดต้นทุนการผลิต การลดปริมาณของเสีย ลด ปริ ม าณมลภาวะที่ เ กิ ด ขึ้ น จากกระบวนการผลิ ต รวม ทั้ ง การจั ด การทรั พ ยากรอย่ า งคุ้ ม ค่ า ย่ อ มทำให้ ผู้ ประกอบการสามารถลดต้ น ทุ น การผลิ ต ได้ อ ย่ า ง แน่นอน บรรณานุกรม กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม. 2544. หลั ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ
  • 12. 10 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ป้ อ งกั น มลพิ ษ (เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ส ะอาด) สำหรั บ อุ ต สาหกรรมรายสาขาอุ ต สาหกรรม น้ ำ ยางข้ น อุ ต สาหกรรมยางแท่ ง มาตรฐาน เอสที อ าร์ 20. กรมโรงงาน กระทรวงอุ ต สาห กรรม. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. 2554. หลักปฏิบัติเทคโนโลยี การผลิ ต ที่ ส ะอาด (การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ ผลิ ต และการป้ อ งกั น มลพิ ษ ) ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง อุ ต สาหกรรมรายสาขายางพารา. กรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม. จั ก รี เลื่ อ นราม. 2556. การศึ ก ษาการใช้ พ ลั ง งานใน การแปรรู ป ยางดิ บ ชนิ ด ต่ า งๆ. เอกสารตี พิ ม พ์ งานวิจัยแปรรูปยางดิบ กลุ่มวิจัย ศูนย์วิจัยและ พั ฒ นาการเกษตรสงขลา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ปรี ดิ์ เ ปรม ทั ศ นกุ ล . 2545. การวิ เ คราะห์ น้ ำ เสี ย จาก โรงงานอุ ต สาหกรรมยางดิ บ . รายงานผลงาน ฉบั บ เต็ ม กลุ่ ม วิ จั ย การแปรรู ป และทดสอบยาง ศูนย์วิจัยยางสงขลา สำนักวิจัยและพัฒนาการ เกษตร เขตที่ 8 จั ง หวั ด สงขลา กรมวิ ช าการ เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ภาคผนวกที่ 1 ค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมน้ำยางข้น ปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิต ค่า ต่ำสุด ค่า สูงสุด ค่า มัธยฐาน การสูญเสียเนื้อยาง (ร้อยละของเนื้อยางแห้งในน้ำยางสด) 1.13 6.55 1.85 การใช้แอมโมเนีย (กก./ตันน้ำยางข้น) HA 11.52 22.83 18.05 MA 13.01 16.73 15.65 LA 7.23 7.50 7.37 การใช้ DAP (กก./ตันน้ำยางข้น) 1.35 3.39 2.22 การใช้กรดซัลฟูริก (กก./ตันเนื้อยางแห้งในหางน้ำยาง) 171.30 327.00 225.00 การใช้น้ำรวม (ลบ.ม./ตันน้ำยางข้น) 0.85 2.89 2.50 การใช้น้ำส่วนการผลิตน้ำยางข้น (ลบ.ม./ตันน้ำยางข้น) 0.62 2.42 1.61 การใช้ไฟฟ้ารวม (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น) 70.94 148.53 82.45 การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตน้ำยางข้น 29.78 95.56 63.98 (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น) การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตยางสกิม 193.07 404.15 279.38 (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางสกิม) การใช้น้ำมันดีเซลในการผลิตยางสกิมบล็อค 28.00 45.00 31.00 (ลิตร/ตันยางสกิมบล็อค) ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย (กก. BOD/ตันน้ำยางข้น) 3.59 38.00 24.08 ค่าเฉลี่ย ± SD* 2.38 ± 1.63 18.35 ± 3.82 15.13 ± 1.56 7.37 ± 0.14 2.16 ± 0.64 239.26 ± 53.00 2.55 ± 0.95 1.60 ± 0.65 94.94 ± 23.73 61.29 ± 18.21 277.20 ± 62.81 34.67 ± 7.41 19.66 ± 7.53 หมายเหตุ *SD หมายถึง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานน้ำยางข้นที่เข้าร่วมโครงการฯ ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
  • 13. 11 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ภาคผนวกที่ 2 ค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐานเอสทีอาร์ 20 ค่า ต่ำสุด ปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิต การสูญเสียเนื้อยาง (ร้อยละของวัตถุดิบ) การใช้น้ำสะอาด (ลบ.ม./ตันยางแท่ง) การใช้น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้ว (ลบ.ม./ตันยางแท่ง) การใช้ไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันยางแท่ง) การใช้น้ำมันดีเซล (ลิตร/ตันยางแท่ง) การใช้ก๊าซ LPG (กก./ตันยางแท่ง)** ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย (กก. BOD/ตันยางแท่ง) ค่า สูงสุด 0.74 8.32 0.43 5.00 11.62 20.15 149.17 207.08 25.00 36.73 - - 7.70 23.08 ค่า มัธยฐาน ค่าเฉลี่ย ± SD* 1.70 2.81 14.11 186.63 28.00 - 11.91 3.11 ± 3.08 2.76 ± 1.63 15.00 ± 3.35 182.38 ± 21.96 29.43 ± 4.48 42.98 11.91 ± 8.73 หมายเหตุ *SD หมายถึง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานยางแท่งมาตรฐานเอสทีอาร์ 20 ที่เข้าร่วมโครงการฯ **ข้อมูลการใช้ก๊าซ LPG เป็นข้อมูลที่ได้จากโรงงานจำนวน 1 แห่งเท่านั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการกำหนดค่า ปัจจัยหลักที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตได้ ใช้เป็นเพียงตัวอย่างที่ชี้วัดประสิทธิภาพการผลิตเท่านั้น ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554 ภาคผนวกที่ 3 เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐานเอสทีอาร์ 20 เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิต 1. การสูญเสียเนื้อยาง 0.90 2. การใช้น้ำ 2.1 การใช้น้ำสะอาด 3.00 2.2 การใช้น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้ว 14.00 3. การใช้ไฟฟ้า 185.00 4. การใช้เชื้อเพลิง 4.1 การใช้น้ำมันดีเซล 28.00 4.2 การใช้ก๊าช LPG* 30.00 5. ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย** 5.00 หน่วย %ของวัตถุดิบ ลูกบาศก์เมตร/ตันยางแท่ง ลูกบาศก์เมตร/ตันยางแท่ง กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันยางแท่ง ลิตร/ตันยางแท่ง กิโลกรัม/ตันยางแท่ง กิโลกรัม BOD/ตันยางแท่ง หมายเหตุ * และ ** เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งกำหนดจากค่ามัธยฐานของข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสำรวจการ ใช้ทรัพยากรในการผลิตของโรงงานผลิตยางแท่งมาตรฐาน เอสทีอาร์ 20 จำนวน 5 โรงงาน ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
  • 14. 12 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ภาคผนวกที่ 4 เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตสำหรับอุตสาหกรรมน้ำยางข้น เกณฑ์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิต หน่วย 1. การสูญเสียเนื้อยาง 1.60 %เนื้อยางแห้งในน้ำยางสด 2. การใช้สารเคมี 2.1 การใช้แอมโมเนีย 2.1.1 ผลิต HA 18.00 กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น 2.1.2 ผลิต MA 15.00 กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น 2.1.3 ผลิต LA 7.50 กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น 2.2 การใช้ DAP 2.00 กิโลกรัม/ตันน้ำยางข้น 2.3 การใช้กรดซัลฟูริก 200.00 กิโลกรัม/ตันเนื้อยางแห้งในหางน้ำยาง 3. การใช้น้ำ 3.1 การใช้น้ำรวม 2.50 ลูกบาศก์เมตร/ตันน้ำยางข้น 3.2 การใช้น้ำส่วนการผลิตน้ำยางข้น 1.60 ลูกบาศก์เมตร/ตันน้ำยางข้น 4. การใช้ไฟฟ้า 4.1 การใช้ไฟฟ้ารวม 80.00 (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น) 4.2 การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตน้ำยางข้น 61.00 (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางข้น) 4.3 การใช้ไฟฟ้าส่วนการผลิตยางสกิม 240.00 (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ตันน้ำยางสกิม) 5. การใช้น้ำมันดีเซลในการผลิตยางสกิมบล็อค 31.00 ลิตร/ตันยางสกิมบล็อค 6. ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย 24.00 กิโลกรัม BOD/ตันน้ำยางข้น ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
  • 15. 13 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ภาคผนวกที่ 5 วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐาน เอสทีอาร์ 20 วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ ประเด็นที่เกี่ยวข้อง กำลังการผลิต (ตัน/วัน) 1. การติดตั้งตะแกรงรองรับเศษยางที่หล่นจาก - การสูญเสียเนื้อยาง 134 ขั้นตอนการลำเลียง 2. การปรับระบบการใช้น้ำในการล้างเศษยาง - การใช้น้ำ 240 3. การใช้ก๊าซ LPG เป็นเชื้อเพลิงในการ - การใช้เชื้อเพลิง 135 อบยางแท่งทดแทนการใช้น้ำมันดีเซล 4. การติดตั้งมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง - การใช้ไฟฟ้า 260 5. การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ - การใช้ไฟฟ้า 240 ต้นทุนดำเนินการ (บาท) 100,000 (5 ชุด) 60,000 1,000,000 (4 หัวเผา) 100,000 250,000 ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554 ภาคผนวกที่ 5 (ต่อ) วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษสำหรับอุตสาหกรรมยางแท่งมาตรฐาน เอสทีอาร์ 20 วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ ผลประโยชน์ทาง ระยะเวลา เศรษฐศาสตร์ คืนทุน (บาท/ปี) ประโยชน์ด้าน สิ่งแวดล้อม 1. การติดตั้งตะแกรงรองรับเศษยางที่หล่นจาก 226,270 5.30 เดือน - ลดภาระระบบบำบัดน้ำเสีย ขั้นตอนการลำเลียง 2. การปรับระบบการใช้น้ำในการล้างเศษยาง 38,365 1.56 ปี - ลดภาระระบบบำบัดน้ำเสีย 3. การใช้ก๊าซ LPG เป็นเชื้อเพลิงในการ 5,484,285 2.19 เดือน - ลดมลพิษทางอากาศ อบยางแท่งทดแทนการใช้น้ำมันดีเซล 4. การติดตั้งมอเตอร์ประสิทธิภาพสูง 29,737 3.36 ปี - ลดการใช้ทรัพยากรในขั้นตอน การผลิตไฟฟ้า 5. การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ 100,488 2.49 ปี - ลดการใช้ทรัพยากรในขั้นตอน การผลิตไฟฟ้า ที่มา : หลักปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554
  • 16. 14 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 15 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 ภาคผนวกที่ 6 วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษสำหรับอุตสาหกรรมน้ำยางข้น วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ ประเด็นที่เกี่ยวข้อง กำลังการผลิต (ตัน/วัน) 1. การติดตั้งตะแกรงกรองสิ่งสกปรก - การสูญเสียเนื้อยาง 23 ในบ่อรับน้ำยางสด แทนการติดตั้ง - การใช้น้ำ ในรางรับน้ำยางสด - ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย 2. การใช้ภาชนะรองรับเพื่อรวบรวม - การสูญเสียเนื้อยาง 23 น้ำค้างโบลว์ เพื่อผลิตยางสกิม - การใช้กรดซัลฟูริก - ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย 3. การใช้ Cat-Polymer ในบ่อดักยางทดแทน - การสูญเสียเนื้อยาง 5 การเติมกรดซัลฟูริก - การใช้กรดซัลฟูริก (ยางสกิมเครพ) - ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย 4. การใช้ท่อกระจายแอมโมเนียแทนท่อปลายเปิด - การใช้แอมโมเนีย 15 ในบ่อเก็บน้ำยางสด 5. การติดตั้งระบบการนำแอมโมเนียกลับมา - การใช้แอมโมเนีย 150 ใช้ประโยชน์ 6. การติดตั้งอุโมงลมระเหยแอมโมเนีย - การใช้กรดซัลฟูริก 110 ในหางน้ำยาง 7. การใช้ Blower ดูดแอมโมเนีย (เพื่อนำไป - การใช้น้ำ 30 บำบัดด้วย wet scrubber) ก่อนลงไปเก็บ - ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย เศษขี้แป้งและกวาดแห้งด้วยใบยางรีดน้ำ 8. การใช้น้ำล้างแผ่นดิสก์ผ่านฝักบัวโดยใช้วาล์ว - การใช้น้ำ 50 เปิด-ปิดแบบเข่ากระทุ้ง - ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย 9. การใช้เครื่องล้างแผ่นดิสก์ - การใช้น้ำ 45 - การสูญเสียเนื้อยาง - ภาระระบบบำบัดน้ำเสีย 10. การติดตั้งอินเวอร์เตอร์กับมอเตอร์ - การใช้ไฟ 55 ของเครื่องปั่นแยก - การใช้น้ำ 11. การใช้ก๊าซ LPG เป็นเชื้อเพลิงในการอบยาง - การใช้เชื้อเพลิง 40 สกิมบล็อคทดแทนการใช้น้ำมันดีเซล (ยางสกิมบล็อค) ที่มา : หลักปฎิบัติเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษ) ปี 2554 ต้นทุนดำเนินการ (บาท) 50,000 (5 ชุด) 90,000 (2 ชุด) 88,500 56,000 (7 ชุด) 131,000 146,000 60,000 48,000 (3 ชุด) 104,000 90,000 500,000 (2 หัวเผา)