SlideShare a Scribd company logo
การอพยพของมนุษย์ทั่วโลก(3)
อาจารย์ยศพรธ์ วรรชนะ
ภาควิชาภูมิศาสตร์ โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
pwanchana@hotmail.com
บทที่ 2
การอพยพระยะแรก
การอพยพของมนุษย์ระยะแรก แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
1. ช่วงเวลา 1,000,000 ปี – 500,000 ปี (B.C.) เป็นช่วงที่มนุษย์ยุคหิน (Paleolithic
Man) เริ่มอพยพจากแหล่งกาเนิดไปครอบครองดินแดนทางตะวันออกและ
ตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ อินเดีย จีน และชวา
จากเส้นทางอพยพนี้เราจะเห็นว่า มนุษย์ในยุคนี้ได้อพยพจากเขตทีมีอากาศร้อน
ชื้นไปยังเขตกึ่งแห้งแล้ง/ ทุ่งหญ้า เขตทะเลทรายทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีป
เอเชีย และเขตอบอุ่นของจีน
ศุทธินี ทองสะอาด(2524 : 73-74)
การอพยพระยะแรก
2. ช่วงเวลา 500,000 ปี – 20,000 ปี (B.C.) มนุษย์ได้กระจายอยู่ทั่วทวีปแอฟริกา
และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้อพยพเข้าไปในทวีปออสเตรเลียและผ่าน
สะพานดิน (Land Bridge) ที่ช่องแคบเบริ่งเข้าไปในทวีปอเมริกาเหนือ
ในยุคระหว่างธารน้าแข็ง (Interglacial Periods) มนุษย์ได้พยายามอพยพเข้ามา
บริเวณตอนกลางของทีปเอเชียและยุโรป แต่พอเข้าสู่ยุคน้าแข็งเกิดภาวะขาด
แคลนเครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และเครื่องมือเครื่องใช้ จึงได้อพยพลงมาทางใต้
สิ้นสุดยุคน้าแข็งจึงได้อพยพไปในดินแดนทางเหนืออีกครั้งหนึ่ง และได้พัฒนา
เครื่องมือเครื่องใช้ให้เหมาะสมกับอากาศที่หนาวเย็น โดยทามาจากไม้ หิน กระดูก
สัตว์ เขาสัตว์ อาวุธใหม่ที่ผลิตได้ คือ ฉมวกและหอก
ศุทธินี ทองสะอาด(2524 : 73-74)
การอพยพระยะแรก
3. ช่วงเวลา 20,000 ปี – 5,000 ปี (B.C.) หลังสิ้นสุดยุคน้าแข็งมนุษย์ส่วนใหญ่ได้
อพยพไปยังบริเวณที่ราบภาคเหนือของยุโรป เนื่องจากภูมิประเทศเป็นที่ราบ
เหมาะแก่การล่าสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งช้างแมมมอธ (Mammoth) ม้า สิงโต และ
หมี นอกจากนี้สภาพอากาศเย็นยังช่วยให้มนุษย์สามารถเก็บรักษาเนื้อสัตว์ไว้ได้
หลายวัน
ยุคนี้มนุษย์ได้เพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงได้อพยพขึ้นไปอยู่ในคาบสมุทร
สแกนดิเนเวีย ไซบีเรีย และทวีปอเมริกาเหนือ
ตอนปลายของยุคนี้มนุษย์เริ่มใช้เรือในการเดินทางระยะสั้นๆ เช่น จากเอเชียไปยัง
ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ เกาะครีต เกาะไซปรัส เป็นต้น
ศุทธินี ทองสะอาด(2524 : 73-74)
การอพยพระยะแรก
Source: http://www.familytreedna.com/public/I1d/default.aspx?section=results
การอพยพระยะแรก
The refugia of
Iberia(R1b), the
Balkans(I) and
Ukraine(R1a)
allow people to
‘wait out’ the
worst of the ice-
age.”
Source: http://www.familytreedna.com/public/I1d/default.aspx?section=results
การอพยพระยะแรก
4. ระยะ 5,000 ปี (B.C.) – ค.ศ.1500 มนุษย์มีการอพยพในทุกทวีป เดินทางเป็นกลุ่ม
เล็กๆ ใช้เรือในการเดินทางข้ามสมุทร จึงทาให้ค้นพบหมู่เกาะต่างๆ เช่น นิวซีแลนด์
ฮาวาย เป็นต้น
จุดมุ่งหมายในการเดินทาง คือ แสวงหาแหล่งที่อยู่อาศัย ที่ดินอุดมสมบูรณ์
(การเกษตรกรรมเริ่มแพร่หลาย) ดังนั้น บริเวณที่มีดินอุดมสมบูรณ์จึงมักถูกรุกราน
เช่น ชาวเยอรมันอพยพเข้าครอบครองลุ่มน้าไรน์ พวกรัสเซียเข้าครอบครองเมือง
นอฟโกรอด (Novgorod) เมืองมอสควา (Moskva) เป็นต้น แต่ยังไม่มีชาวผิวขาว
เข้าไปตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริกาเหนือ
ศุทธินี ทองสะอาด(2524 : 73-74)
การอพยพระยะแรก
Source: http://matrix.msu.edu/hst/guide/history140r/unit2/mod/module02.php
การอพยพระยะแรก
Source: http://www.familytreedna.com/public/I1d/default.aspx?section=results
การอพยพระยะแรก
Source: http://newswatch.nationalgeographic.com/2011/11/03/modern-humans-wandered-out-of-africa-via-arabia/
การอพยพระยะแรก
Source: http://abagond.wordpress.com/2011/02/18/human-migrations/
การอพยพระยะหลัง
การอพยพของมนุษย์ระยะหลัง (ค.ศ. 1500-ปัจจุบัน) มีการค้นพบโลกใหม่ (New
World) ทาให้รูปแบบการอพยพเปลี่ยนแปลงไป เกิดการอพยพอย่างช้าๆ และกระจาย
ไปทั่วโลกโดยความสมัครใจของมนุษย์ มีการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโลกใหม่ทั้งในรูป
ของการบอกเล่าและพิมพ์เป็นแผนที่ (Map) ปรับปรุงการขนส่งและเส้นทางคมนาคม
ขนส่งทางทะเล ดังนั้น คนที่จะอพยพจึงสามารถวางแผนและคาดการณ์ล่วงหน้า
การอพยพยังมีสาเหตุมาจากสงครามและการถูกรุกรานจากผู้อื่น เช่น การอพยพของ
ชาวโปแลนด์และชาวเยอรมัน ในระยะใกล้สงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากนั้น ยังมีสาเหตุ
มาจากการอพยพของแรงงาน เช่น แรงงานจากเม็กซิโกไปอเมริกาเพื่อการค้า เป็นต้น
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพของประชากรจากทวีปยุโรปไปทวีปอเมริกา
ประชากรประมาณ 65 ล้านคน อพยพจากยุโรปไปอเมริกา โดย 45 ล้านคน อพยพ
ไปอยู่ในอเมริกาเหนือ ส่วนอีก 20 ล้านคน อพยพไปอยู่ในอเมริกาใต้ ประชากรที่
อพยพไปอยู่ในอเมริกาเหนือส่วนใหญ่มาจากยุโรปเหนือ ยุโรปใต้โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง อิตาลี นอกจากนั้นยังมีพวกที่อพยพมาจากอังกฤษ เยอรมัน สเปน โปรตุเกส
ออสเตรีย ฮังการี และรัสเซีย
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพของประชากรจากทวีปยุโรปไปทวีปแอฟริกา
ประชากรประมาณ 17 ล้านคน ได้อพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทวีปแอฟริกาปะปน
กับชาวพื้นเมือง นอกจากนั้นยังอาศัยอยู่ตามหมู่เกาะต่างๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก
ทวีปแอฟริกาเป็นอาณานิคมขนาดใหญ่ของของประเทศในทวีปยุโรป เช่น สเปน
ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพของประชากรจากประเทศจีน
ชาวจีนประมาณ 10 ล้านคน อพยพไปยังประเทศต่างๆ ส่วนใหญ่อพยพไปยัง
ประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า ไทย และกัมพูชา มากกว่าอพยพไปยังทวีป
อเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกาและทวีปยุโรป ชาวจีนส่วนใหญ่จะ
อพยพอยู่ภายในประเทศมากกว่าออกนอกประเทศ เช่น อพยพจากภาคเหนือและ
ภาคกลางของจีนไปยังแมนจูเรีย ซึ่งเป็นการอพยพจากบริเวณที่มีประชากร
หนาแน่นไปยังบริเวณที่มีประชากรเบาบาง แต่ในปัจจุบัน แมนจูเรียมีประชากร
หนาแน่นมาก
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพของประชากรจากประเทศอินเดีย
ชาวอินเดียมีการอพยพน้อย มีประชากรประมาณ 4 ล้านคน อพยพไป
ยังปากีสถานไปสู่พม่า อินโดนีเซีย มลายูศรีลังกา แอฟริกาตะวันออก
และเกาะฟิจิ เมื่อมีการแยกปากีสถานออกจากอินเดียทาให้มีการ
แบ่งแยกผู้คนระหว่างอินเดียกับปากีสถานจานวนมาก
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพของชาวยิวไปสู่ประเทศอิสราเอล
ชาวยิวได้เริ่มอพยพไปยังประเทศอิสราเอลในระยะสงครามโลกครั้งที่ 2 และมีการ
อพยพเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ในปี พ.ศ. 2492 มีชาวยิวประมาณ 240,000 คน อพยพจากทวีปยุโรป ประเทศ
สหรัฐอเมริกา และดินแดนอาหรับกลับสู่ถิ่นเดิมของตน ชาวยิวที่อพยพมาจาก
ยุโรปจะตั้งถิ่นฐานในเมือง ประกอบอาชีพค้าขาย ช่างฝีมือ และศิลปิน
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพภายในทวีปยุโรป
การอพยพในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 มีสาเหตุมาจาก
- การอพยพแบบบังคับให้ไป (Force Migration)
- ความต้องการหนีจากเขตสงคราม
- เพื่อหางานทา
ส่วนการอพยพช่วงหลังสงครามโลก เป็นการอพยพเพื่อแลกเปลี่ยนพลเมือง ซึ่ง
เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงพรมแดน
ในระยะหลังปี พ.ศ. 2492 เป็นการอพยพโดยสมัครใจ คือ การอพยพจากเยอรมนี
ตะวันออกไปยังเยอรมนีตะวันตก ซึ่งเป็นการอพยพที่ถูกต้องตามกฎหมาย
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพภายในทวีปแอฟริกา
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504 ชาวแอฟริกาประมาณ 650,000 คน อพยพจากถิ่นที่อยู่อาศัย
เดิมไปยังประเทศใกล้เคียง โดยมีสาเหตุมาจาก ความแตกต่างด้านเผ่าพันธุ์ สังคม
การปกครอง ระบบอาณานิคม เช่น
- ประเทศคองโก มีคนอพยพมาจากประเทศอังโกลา รวันดา ซูดาน
- ประเทศบุรุนดี คนอพยพมาจากประเทศรวันดา คองโก
- สาธารณรัฐแอฟริกากลาง คนอพยพมาจากประเทศซูดาน คองโก
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
การอพยพภายในทวีปอเมริกา
ส่วนใหญ่เป็นการอพยพภายในประเทศ โดยอพยพจากชายฝั่งมหาสมุทร
แอตแลนติกไปทางภาคตะวันตกของทวีป สหรัฐอเมริกาและแคนาดาจะมีคนอพยพ
ไปทางตะวันตกอยู่ตลอดเวลา บางพวกมาจากยุโรปแล้วจึงอพยพไปทางตะวันตก
โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนการอพยพ
ช่วงก่อนสงครามกลางเมือง-ช่วงเกิดสงครามกลางเมือง มีการอพยพของพวกทาส
จากทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาขึ้นไปทางเหนือ จึงทาให้มีชาวนิโกร
อาศัยอยู่มากในรัฐนิวยอร์ก อิลลินอยส์ แคลิฟอร์เนีย มิสซิสซิปปี้แคโรไลนา จอร์เจีย
หลุยเซียน่า และแอลาบามา
นอกจากนี้ยังมีการอพยพตามฤดูกาลของการเก็บเกี่ยว เช่น อพยพจากรัฐเท็กซัสไป
รับจ้างในประเทศแคนาดา เป็นต้น
เรณู หอมหวน (2537 : 32-36)
การอพยพระยะหลัง
Source: http://www.mitchellteachers.org/WorldHistory/AncientAmericas/images/mappingamericas/MigrationRoutesTrans.jpg
ผลของการอพยพมนุษย์ทั่วโลก
1. เกิดลักษณะรูปร่างทางกายภาพของมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการดัดแปลงให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมใหม่ๆ และการปะปนทางเชื้อชาติ จนเกิดกลุ่มเชื้อชาติย่อยๆ
มากมาย
2. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของแต่ละกลุ่ม การอพยพไปตั้งชุมชนใหม่ส่งผลต่อ
ความอดทน เข้มแข็ง ต่อการสร้างชุมชน
3. เกิดการปะปนผสมกันทางเชื้อชาติ เกิดกลุ่มชนใหม่ ก่อให้เกิดการรังเกียจผิวหรือ
เชื้อชาติ (Race Prejudice) ทาให้บางพวกต้องแยกตัวออกไม่ปะปนกับผู้อื่น เพื่อ
รักษาเชื้อชาติตนให้บริสุทธิ์ (Race Purity)
เรณู หอมหวน (2537: 36-37)
ผลของการอพยพมนุษย์ทั่วโลก
4. การแพร่กระจายของมนุษย์ ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายพืชพรรณและสัตว์ประจาถิ่น
ไปยังภูมิภาคต่างๆ ของโลก เกิดการแพร่กระจายทางเทคโนโลยี ปรัชญา ศาสนา
5. การอพยพของประชากร ก่อให้เกิดอาณานิคมในบริเวณต่างๆ ของโลก โดยอาณา
นิคมเหล่านี้ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมรวมทั้งอุตสาหกรรมมากกว่าใน
บริเวณอื่นๆ
- อาณานิคมของฝรั่งเศสในแคนาดาตะวันออก
- อาณานิคมของอังกฤษในแคนาดาตะวันตกและสหรัฐอเมริกา
- อาณานิคมของสเปนในอาร์เจนตินา
- อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ในชวา
- อาณานิคมของญี่ปุ่นในฮาวาย
- อาณานิคมของจีนในมาเลเซีย
เรณู หอมหวน (2537: 36-37)
แบบฝึกหัด
1. การอพยพของมนุษย์ไปสู่ดินแดนต่างๆ ทั่วโลก ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมอย่างไร ?
2. การอพยพของมนุษย์ในระยะหลัง (ค.ศ. 1500-ปัจจุบัน) มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของประชากรโลกอย่างไร ?
3. เพราะเหตุใดทวีปอเมริกาเหนือจึงมีมนุษย์อพยพไปอยู่เป็นจานวนมาก ?

More Related Content

What's hot

ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Toey Songwatcharachai
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Pannaray Kaewmarueang
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
Patzuri Orz
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee
 
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
Padvee Academy
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
krupeem
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
Hahah Cake
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 

What's hot (20)

ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 

More from Nakhon Pathom Rajabhat University

การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพการดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from Nakhon Pathom Rajabhat University (10)

การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพการดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
 
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
 

แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)