SlideShare a Scribd company logo
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
27 
บทที่ 4 
การค้นหาข้อมูลจาก INTERNET 
เนื่องด้วยระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมีความกว้างใหญ่มาก สามารถที่จะเข้าถึงและเรียกใช้ 
ทรัพยากรต่าง ๆ ได้จากทั่วทุกแห่งที่มีเครือข่ายไปถึง ถ้าจะนำมาเปรียบเทียบกับระบบกระจายเสียง 
ของวิทยุ หรือโทรทัศน์ก็จะเปรียบเสมือนสถานีวิทยุหรือโทรทัศน์ที่มีจำนวนช่องไม่จำกัด เหตุนี้เองทำ 
ให้ปริมาณสารสนเทศที่มีอยู่ภายในอินเตอร์เน็ตมีมากมาย และเหตุจากความมากมายและความมี 
อิสระเสรีในการนำเสนอข่าวสารทำให้ ใครก็ตามสามารถจะนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศใด ๆ ใน 
อินเตอร์เน็ตได้อย่างไม่ยากเย็นนักจนทำให้ภายในอินเตอร์เน็ตนั้นไม่สามารถจำแนกประเภทของ 
ข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศใด ๆ ได้อยู่กระจัดกระจายทั่ว ๆ ไปโดยไร้ระยะทางขวางกั้น เปรียบได้ 
กับสังคมมนุษย์ปัจจุบันที่ต่างคนต่างนำเสนอข่าวสารต่าง ๆ ออกมาไม่มีการจัดระเบียบ แต่ในโลกแห่ง 
ความจริงนั้นปริมาณข้อมูลหรือสารสนเทศนั้นจะถูกจำกัดโดยระยะทางเป็นสำคัญ แต่ในโลกความจริง 
นั้น ถ้าหากมองไปที่หน่วยงานที่แคบลงเช่นมหาวิทยาลัย, หน่วยงานราชการ, โรงพยาบาล, โรงเรียน 
จะพบว่าแต่ละหน่วยงานนั้นได้มีระเบียบควบคุมการนำเสนอข่าวสารอยู่ทำให้สามารถจำกัดปริมาณ 
ข้อมูลได้ ในโลกของอินเตอร์เน็ตก็เช่นกันถ้าเข้าไปตามหน่วยงานที่เป็นทางการเช่นมหาวิทยาลัย, 
โรงพยาบาล, หน่วยงานของรัฐบาล ก็จะทำให้ได้ข้อมูลและสารสนเทศที่ค่อนข้างจะมีรูปแบบ สามารถ 
นำไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายกว่า แต่การจะเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ก็ยังถูกจำกัด เนื่องจากความไม่รู้จัก URL 
(Uniform Resource Locator) ตัวอย่างง่าย ๆ ถ้าให้นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เพิ่งมาเมืองไทยเป็น 
ครั้งแรกเดินทางไปยังวัดพระแก้วโดยเป็นผู้บอกทางแท๊กซี่ที่ไม่รู้ทางเช่นกัน จะมีทางไปถึงจุดหมายได้ 
อย่างไร ? ในอินเตอร์เน็ตนั้นการเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายและค้นหาสิ่งที่ต้องการจะมีเครื่องมือและวิธี 
ช่วยเหลือหลาย ๆ วิธีด้วยกันดังนี้ (ก่อนจะถึงส่วนถัดไปผู้เรียนควรจะเข้าใจความหมายของคำต่อไปนี้ 
ก่อน : Web browser, Domain name, URL, Homepage, Website, www, Hypertext) จาก 
เนื้อหาข้างต้นก่อน 
การค้นหาโดยใช้ Search Engine : Search Engine คือรูปแบบการให้บริการค้นหาข้อมูล, 
สารสนเทศโดยอาศัยโปรแกรมค้นหาที่ผู้ให้บริการเตรียมไว้ รูปแบบการให้บริการในปัจจุบัน (พ.ศ. 
2544) มักจะติดต่อกับผู้ใช้ผ่าน Web browser ในรูปแบบของ Hypertext เป็นหลัก ลักษณะข้อมูล 
และสารสนเทศที่สามารถค้นหาได้จะมีตั้งแต่ เรื่องทั่ว ๆ ไป, รูปภาพ, วีดีโอ, เพลง, ข่าว, เรื่องเฉพาะ 
กลุ่ม โดยอาศัยฐานข้อมูล (Database) ที่ผู้ให้บริการจัดเตรียมไว้แต่ก็ยังมี Search Engine บางชนิดที่ 
ไม่จำเป็นต้องใช้ฐานข้อมูลด้วย ถ้าจัดแบ่ง Search Engine ตามขนาดฐานข้อมูล, รูปแบบการค้นหา, 
และขอบเขตการค้นหาจะแบ่งได้ดังนี้ 
1 . Search Engine : จะทำงานรวบรวมข้อมูลหน้าเวปไซต์ต่าง ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาใน 
อินเตอร์เน็ตเข้าไว้ในฐานข้อมูล โดยข้อมูลส่วนใหญ่ที่เก็บจะเป็นคำสำคัญ (เนื่องจากไม่สามารถระบุได้ 
ว่าเป็นสารสนเทศชนิดใด) ผู้ใช้บริการก็จะเข้ามาสืบค้นข้อมูลผ่านหน้าจอให้บริการ เมื่อพบก็จะคืน 
รายการเป็นดัชนีให้ผู้ใช้บริการทราบและสามารถเชื่อมโยงไปยังเวปไซต์ที่เกี่ยวข้องได้ เช่น 
www.Altavista.com, www.google.com เป็นต้น 
2. Web Directory : จะให้บริการคล้ายกับสมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง คือจะให้ผู้ที่ต้องการ 
เผยแพร่ข้อมูลนำข้อมูลที่ต้องการเผยแพร่มาลงไว้ตามหมวดหมู่ที่กำหนด การค้นหาก็จะสามารถทำได้ 
แบบเป็นหมวดหมู่ทำได้เร็วขึ้น ตัวอย่างเช่น www.yahoo.com เป็นต้น
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
28 
3. Hybrid Search Engine : เป็นเครื่องมือค้นหาที่เป็นลูกผสมระหว่าง Search Engine กับ 
Web Directory ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่หลากหลายมากขึ้น 
4. META Search Engine : เป็น Search Engine ชนิดหนึ่งที่ไม่มีฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง 
แต่จะเป็นผู้ที่ส่งข้อความที่ต้องการค้นหาไปยัง Search Engine ตัวอื่นหลาย ๆ ตัวพร้อมกันแล้วนำ 
ผลลัพธ์ที่ได้มาสรุปให้มีความกระชับทำให้ได้ผลลัพธ์ที่หลากหลาย โดยไม่จำเป็นจะต้องไปเสียเวลา 
ค้นหาตาม Search Engine ทีละตัว เช่น www.ask.com 
5. Specific Task Search Engine : เป็นซอฟต์แวร์หรือบริการที่ให้บริการค้นหาข้อมูล 
เฉพาะประเภทที่อยู่ในสภาวะจำกัดเท่านั้น เช่น www.amazon.com จะมีเครื่องมือสืบค้นหาหนังสือ 
หรือสินค้าที่สามารถค้นหาได้เฉพาะในร้านของตนเองเท่านั้น, napster เป็นซอฟต์แวร์ที่ให้บริการ 
ค้นหาเพลง เฉพาะผู้ที่สมัครเป็นสมาชิกเท่านั้น, www.dejanews.com เป็นบริการค้นหาสารสนเทศ 
จาก Newsgroups เท่านั้น 
Search Engine ที่สามารถใช้บริการได้ 
สำหรับภาษาอังกฤษจะมี Search Engine อยู่หลาย ๆ ตัวด้วยกันแต่ตัวก็จะให้ผลลัพธ์ในการ 
ค้นหาแตกต่างกันเพราะฉะนั้นถ้าหากผลการค้นหาไม่ตรงความต้องการก็ลองเปลี่ยนเครื่องมือค้นหาดู 
โดย Search Engine ที่ได้รับความนิยมมีดังนี้ 
ตารางที่ 1 แสดงรายชื่อ Search Engine 
Search Engine Web Directory Meta Search 
http://www.altavista.com 
http://www.yahoo.com 
http://www.alltheweb.com 
http://www.about.com 
http://www.google.com 
http://www.looksmart.com 
http://www.hotbot.com 
http://www.northernlight.com 
http://www.iwon.com 
http://www.excite.com 
http://www.goto.com 
http://www.ask.com 
http://www.lycos.com 
http://www.msn.com 
--- ภาษาไทย --- 
http://www.go-thai.com 
http://www.thaiseek.com 
http://hotsearch.bdg.co.th 
http://www.cgitop.com 
http://www.catcha.co.th 
http://search.ku.ac.th 
http://www.dogpile.com 
http://www.infospace.com 
http://www.mamma.com 
http://www.metacrawler.com
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
29 
แนวทางการสืบค้นสารสนเทศจากระบบอินเตอร์เน็ตจากบริการต่าง ๆ 
1. การ Surfing เป็นการเปิดเว็บไซต์ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการค้นหาแล้วอาศัยการรวบรวม 
ข้อมูลทีละเล็กละน้อยสืบเสาะไปเรื่อย ๆ ผ่านไปทีละเว็บจนกระทั่งได้สิ่งที่ต้องการ การใช้วิธีนี้มักจะ 
เริ่มต้นจาก Portal web หรือ Web Directory หรือที่เรียกว่า “รวมลิ้งค์” แล้วจึงไปขยายผลโดยเข้า 
ไปหาข้อมูลทีละแห่ง ไปเรื่อย ๆ แต่วิธีการนี้จะค่อนข้างเสียเวลาและไม่มีความแน่นอนว่าจะได้ข้อมูล, 
สารสนเทศที่ต้องการจริง ๆ 
2. ถามจากผู้รู้ หรือผู้ใช้คนอื่น ๆ เนื่องจากภายในอินเตอร์เน็ตจะมีสังคมอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถ 
แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นกันบนกระดานข่าว (Bulletin board) ที่ผู้ใช้สามารถเข้าไปแสดง 
ความคิดเห็น, ตั้งคำถาม, ตอบคำถาม ซึ่งมีชื่อเรียกได้หลาย ๆ ชื่อได้แก่ Usenet, Newsgroups, 
Webbord, Chat เป็นต้น หรือแม้แต่การส่ง e-mail ไปถามอาจารย์ผู้รู้ทางด้านนี้โดยตรงเลย ก็ได้ ใน 
กระดานข่าวจะมีการแบ่งแยกเรื่องที่สนทนากันออกเป็นหมวดหมู่ทำให้สามารถจำกัดการสืบค้นให้ตรง 
กับเรื่องที่ต้องการได้ง่ายขึ้น บางแห่งก็จำเป็นจะต้องสมัครสมาชิกก่อนเพื่อเป็นการกรองข้อมูลที่จะลง 
ก่อนอีกด้วย 
ย้อนไปหาคำถามชาวต่างชาติที่จะเดินทางไปสนามหลวงอีกครั้ง ถ้าหาก 
ใช้การแก้ปัญหาแบบที่ 1 ก็จะเหมือนนักท่องเที่ยวท่านนั้นเดินเข้าไปในร้านหนังสือแล้วหยิบ 
หนังสือนำเที่ยวประเทศไทยขึ้นมาฉบับหนึ่งภายในย่อมจะมีเรื่องที่เกี่ยวข้องสามารถไปถึงที่หมายได้ 
รวดเร็ว 
ใช้การแก้ปัญหาแบบที่ 2 แบบนี้นักท่องเที่ยวคนนี้คงจะมีเวลาว่างมาก เที่ยวค้นคว้าเรื่องราวจากที่ 
ต่าง ๆ ไปเรื่อย ๆ จนรู้จักกว่าจะเจอสนามหลวงก็คงจะได้เรียนรู้ วัฒนธรรมประเพณีไทย, การ 
คมนาคมแบบต่าง ๆ, นิสัยชาวไทย ฯลฯ อีกมากทีเดียว 
ใช้การแก้ปัญหาแบบที่ 3 แบบนี้ก็คล้าย ๆ กับนักท่องเที่ยวคนนี้ถามตำรวจท่องเที่ยวหรือจ้าง 
มัคคุเทศก์สักคนเพื่อนำทางไปยังจุดหมาย รวดเร็วตรงประเด็นที่ต้องการแน่นอน (ถ้าไม่โดนหลอก 
เสียก่อน) 
ดังนั้นการค้นหาเส้นทางก็แล้วแต่ความสามารถ, เวลาแต่ละคนแต่ไม่ว่าทางไหนก็พาไปสู่ 
จุดหมายได้เช่นกัน
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
30 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศโดยใช้ Search Engine 
1. อย่าค้นหาด้วย Search Engine เดียวเพราะว่าไม่มี Search Engine ใดที่จะมีฐานข้อมูลของทุก 
เว็บไซต์ทั่วโลก ดังนั้นถ้าค้นไม่เจอข้อมูลที่ต้องการให้ลองไปค้นหาที่ Search Engine อื่น [1] 
2. อ่านวิธีการค้นหา เพราะว่า Search Engine แต่ละตัวจะมีวิธีการค้นหาไม่เหมือนกันยิ่งเป็นการ 
ค้นหาแบบเฉพาะทางหรือแบบที่มีคำสั่งพิเศษด้วยแล้ว ถ้าสามารถอ่านวิธีการค้นหาได้ก็จะ 
สามารถช่วยค้นหาได้เร็วขึ้นและได้ผลตามประสงค์ [1] 
3. ค้นหาด้วยคำเฉพาะ เพราะยิ่งใช้คำเฉพาะสำหรับค้นหาเท่าไร ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะตรงตามเป้าหมาย 
เท่านั้น เช่น แทนที่จะค้นเว็บไซต์สุนัขด้วยคำว่า dog ก็ให้ใส่พันธุ์ของสุนัขที่ต้องการลงไปด้วย 
อย่าง puddle dog หรือ boxer dog จะทำให้สามารถค้นหาได้ง่ายกว่า [1] 
4. ใช้คำทั่ว ๆ ไปค้นหา ถ้าค้นหาด้วยคำเฉพาะแล้วไม่มีผลการค้นหา เพราะคำเฉพาะบางคำที่เฉพาะ 
เกินไปอาจจะไม่มีอยู่ในฐานข้อมูลก็ได้ [1] 
5. ใช้คำสั่ง Boolean ช่วยในการค้นหาถ้าต้องการค้นหาเว็บไซต์ด้วยการใช้คำหลาย ๆ คำผสมกันไป 
หรือเมื่อไม่ต้องการให้คำใดเข้ามาเกี่ยวข้องในการค้นหาก็สามารถกำหนดได้เช่นกัน [1] 
6. สารสนเทศที่มักพบบ่อยจะเป็นสารสนเทศที่เป็บของผู้ให้บริการเชิงพาณิชย์ ทำให้ต้องมีค่าใช้จ่าย 
เมื่อจะนำข้อมูลมาใช้ ดังนั้นจึงควรเลือกแหล่งข้อมูลจากแหล่งที่เหมาะสมเช่น จากมหาวิทยาลัย, 
ห้องสมุด, หรือจากองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร สังเกตได้จากชื่อ Domain name ที่เรียกที่มักจะไม่ลง 
ท้ายด้วย .com 
7. ถ้าจำเป็นจะต้องใช้เลือกค้นหาด้วยภาษาอื่น ๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ จะต้องเลือกใช้ 
Search Engine ที่สนับสนุนการค้นด้วยภาษานั้นด้วย เช่น Altavista และ Hotbot ที่สนับสนุน 
การค้นหาจากภาษาอื่น ๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ (ถ้าจะใช้ภาษาไทยต้องใช้ Search 
Engine ที่เป็นภาษาไทยเท่านั้น) 
8. ถ้าค้นหา(ภาษาไทย) แล้วไม่พบจาก Search Engine เลยให้ใช้วิธี Surfing หรือ การสอบถามจาก 
ผู้รู้บ้างเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นแนวทางส่วนหนึ่ง 
9. การค้นหาควรเริ่มจากที่ห้องสมุดในสถาบันก่อน เนื่องจากสามารถจำกัดขอบเขตการค้นหาได้ง่าย 
กว่า แล้วจึงค่อยขยายการค้นหาออกไปสู่อินเตอร์เน็ตหรือวิธีอื่น ๆ
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
31 
การใช้คำสั่ง Boolean ในการช่วยค้นหาเบื้องต้น 
1. And ใช้ในการกำหนดเพื่อค้นหาด้วยคำมากกว่าสองคำขึ้นไปที่อยู่ในเว็บไซต์เดียวกันการใช้งานก็ 
ให้พิมพ์ And ลงระหว่างคำสองคำหรือระหว่างทุกคำที่ต้องการค้นหา เช่น sea AND phuket 
เป็นต้น บาง Search Engine ก็ใช้เครื่องหมาย + แทนคำสั่ง AND เช่น sea +phuket 
2. Or ใช้ในการกำหนดเพื่อค้นหาคำอย่างน้อยหนึ่งคำที่กำหนดต้องอยู่ในเว็บไซต์ที่ค้นหา ด้วยการใช้ 
คำสั่ง OR ที่ระหว่างคำเช่น phuket or songkla เป็นต้น 
3. AND NOT ใช้สำหรับค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำแรก (หน้า AND) แต่ต้องไม่มีคำที่สอง (หลัง NOT) เช่น 
phuket AND NOT songkla เป็นต้น บาง Search Engine ใช้เครื่องหมาย – แทนคำสั่ง AND 
NOT เช่น phuket –songkla เป็นต้น 
4. เครื่องหมาย “ ” ใช้สำหรับการค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำที่กำหนดทั้งประโยค เช่น “Sunset at 
phuket” เป็นต้น 
5. เครื่องหมาย ( ) ใช้แบ่งคำสั่ง Boolean ออกเป็นส่วน ๆ เช่น kayak AND (gear OR 
equipment) ผลลัพธ์ที่ได้คือ เว็บไซต์ที่มีคำว่า kayak และคำว่า gear หรือคำว่า equipment 
หรือ ทั้ง gear และ equipment อยู่ด้วยเป็นต้น 
6. เครื่องหมาย * ใช้สำหรับค้นหาเว็บไซต์ที่มีส่วนหนึ่งของคำที่กำหนด และอาจจะตามด้วยตัวอักษร 
อื่นก็ได้ เช่น kayak* ผลลัพธ์ที่ได้เป็นไปได้ทั้งเว็บไซต์ที่มีคำว่า kayak, kayaks, kayaked, 
kayaking และอื่น ๆ 
ตัวอย่างการใช้ Search Engine เพื่อสืบค้นสารสนเทศในระบบอินเตอร์เน็ต 
กำหนดให้ เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ด้านการเลี้ยงบอนไซมาก่อนแต่ต้องการอยากจะเลี้ยง ทำให้มีความ 
ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงบอนไซในประเทศไทยและวิธีการเลี้ยง จะสามารถทำอย่างไรได้บ้างถ้า 
มีการสืบค้นจากอินเตอร์เน็ตเป็นทางเลือกทางเดียว 
1. ก่อนอื่นขอแนะนำให้ไปที่ห้องสมุดก่อน เช่นขณะนี้อยู่มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียก็สืบค้นจาก 
Website ห้องสมุดถ้าไม่รู้ก็เข้าไปที่ www.eau.ac.th ก่อนไปที่ Service แล้วเว็บนี้ก็จะนำไปสู่ 
www.library.eau.ac.th แล้วเข้าไปที่หัวข้อ Online Catalog แล้วลองสืบค้นคำว่า bonzi หรือ 
บอนไซ (ควรจะรู้ข้อมูลบางอย่างเช่นชื่อบอนไซที่เขียนอย่างถูกต้องหรืออื่น ๆ บ้าง)
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
32
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
33 
2. เมื่อลองพิมพ์ ทั้งคำว่า bonzi และ บอนไซดูแล้วปรากฏว่าไม่สามารถหาหนังสือที่เกี่ยวข้องกับ 
เรื่องนี้ได้เลย 
3. ขั้นต่อไปลองไปเว็บท่า (Portal) ที่ดัง ๆ ในประเทศไทยเป็นอันดับถัดไป ในที่นี้จะขอไป Website 
: www.sanook.com แล้วลองใช้บริการค้นหา โดยพิมพ์คำว่า bonzi หรือ บอนไซ ลองผิดลอง 
ถูกไปก่อน แล้วก็นั่งรออย่างใจเย็น
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
34 
4. เมื่อใช้คำว่า “บอนไซ” ทำให้สามารถค้นหาเจอ Website 2 แห่งด้วยกัน 
5. เมื่อเปิดไปทั้ง 2 แห่งถ้าหากได้ข้อมูลที่พอใจแล้วก็เป็นอันเสร็จสิ้นการค้นหา เนื่องจากเมื่อเปิดไป 
แล้วจะพบกับการ link ไปยังเว็บไซต์ต่างประเทศหลายแห่งน่าสนใจ ถ้าต้องการข้อมูลมากกว่านี้ก็ 
ต้องค้นหาต่อไป จนกว่าจะเจอข้อมูลที่ถูกใจ 
6. อย่าลืมฝึกภาษาอังกฤษให้แข็งแรง ไปพร้อม ๆ กับการเริ่มใช้อินเตอร์เน็ตด้วยเนื่องจาก 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักที่ใช้สำหรับการสื่อสารกันในโลกอินเตอร์เน็ต 
การกำหนดให้ ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์ เรื่องราว ต่าง ๆ เกี่ยวกับนิยายเรื่อง 
Starwar episode II จะต้องทำอย่างไร 
1. เมื่อปัญหาคือนิยาย หรือ ภาพยนตร์ที่เป็นของต่างชาติเพราะฉะนั้นจำเป็นจะต้องใช้เครื่องมือ 
ค้นหาที่เป็นภาษาอังกฤษแล้ว แต่ก่อนอื่น Starwar เป็นภาพยนตร์ที่ดังมากน่าจะมี Website ที่มี 
เรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องนี้มากมายและมีชื่อง่าย ๆ ก่อนอื่นให้ลองดูว่ามี Website : 
www.starwar.com หรือไม่ก่อน ปรากฏว่ามีดังภาพ
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
35 
การกำหนดให้ ค้นหาภาพการวางตัวอักษรลงบน keyboard ที่เป็นภาษาไทย 
1. ข้อนี้ค่อนข้างยาก ลองเปลี่ยนมาค้นหาด้วย Search Engine ดูบ้างให้เข้าไปที่ Altavista.com 
(ไม่จำเป็นจะต้องเข้าไปที่นี่ก็ได้แล้วแต่ความคุ้นเคยหรือความชอบ หรือผลลัพธ์การค้นหาจะดีกว่า 
2. ให้ใช้คำว่า “keyboard layout” พิมพ์ลงไปในช่อง Search for: แล้วกดปุ่ม Search จะได้ 
ผลลัพธ์ดังนี้ 
3. จะพบว่าผลลัพธ์ไม่ได้ตรงกับความต้องการเลย ให้ลองเปลี่ยนคำค้นหาเป็น “thai keyboard 
layout” แล้วค้นหาใหม่ จะเจอผลลัพธ์ที่ดีขึ้น
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
36 
4. ถ้าเข้าไปที่ www.dco.co.th/softward/layout.htm จะพบกับหน้าจอการจัดปุ่มต่าง ๆ บน 
keyboard ภาษาไทยได้
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
37 
คำถามท้ายบท 
1. ให้นักศึกษาอธิบายถึงการค้นหาข้อมูลจากสำนักงาน กศน. ทังสวนกลางและส่วนภูมิภาค 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
2. ให้นักศึกษาอธิบายถึงการค้นหาข้อมูลจาก google.com หรือ sanook.com 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
......................................................................................................................................

More Related Content

What's hot

Search Engine
Search  EngineSearch  Engine
Search Engine
MrsZippy
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
Chinaphop Viriyakit
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
Chinaphop Viriyakit
 
งานGoogle
งานGoogleงานGoogle
งานGoogleaomby
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33Ploymnr
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตKanokkorn Harsuk
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
mahasarakham university
 
Search
SearchSearch
Search
KKU Library
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8sawitri555
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
Phapawee Suksuwan
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 

What's hot (15)

Search Engine
Search  EngineSearch  Engine
Search Engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
งานGoogle
งานGoogleงานGoogle
งานGoogle
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Search
SearchSearch
Search
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 

Viewers also liked

การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาตการละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาตpeter dontoom
 
หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์peter dontoom
 
วันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงวันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงpeter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์peter dontoom
 
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศนบทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศนpeter dontoom
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารpeter dontoom
 
การละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมpeter dontoom
 
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมpeter dontoom
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายเฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายpeter dontoom
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมายpeter dontoom
 
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นวิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นpeter dontoom
 
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธเฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
peter dontoom
 

Viewers also liked (18)

การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาตการละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
 
หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์
 
วันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงวันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริง
 
Chap4
Chap4Chap4
Chap4
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศนบทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
 
Chap6
Chap6Chap6
Chap6
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
การละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายเฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
 
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นวิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
 
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธเฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
 

Similar to อินเตอเนต3 4

การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
Walaiporn Fear
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10pui003
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตJitty Charming
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
mahasarakham university
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
itte55112
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043Ann Oan
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search enginekacherry
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
การสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศการสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศNittaya Wongyai
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทtrevnis
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
แนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbแนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWb
freeclub
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
Ta Khanittha
 
การเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศการเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศ
nim_nenuphar
 

Similar to อินเตอเนต3 4 (20)

การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
Internetsearch
InternetsearchInternetsearch
Internetsearch
 
การสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศการสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
แนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbแนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWb
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
การเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศการเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศ
 

More from peter dontoom

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
peter dontoom
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
peter dontoom
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
peter dontoom
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
peter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
peter dontoom
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
peter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
peter dontoom
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
peter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 

อินเตอเนต3 4

  • 1. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 27 บทที่ 4 การค้นหาข้อมูลจาก INTERNET เนื่องด้วยระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมีความกว้างใหญ่มาก สามารถที่จะเข้าถึงและเรียกใช้ ทรัพยากรต่าง ๆ ได้จากทั่วทุกแห่งที่มีเครือข่ายไปถึง ถ้าจะนำมาเปรียบเทียบกับระบบกระจายเสียง ของวิทยุ หรือโทรทัศน์ก็จะเปรียบเสมือนสถานีวิทยุหรือโทรทัศน์ที่มีจำนวนช่องไม่จำกัด เหตุนี้เองทำ ให้ปริมาณสารสนเทศที่มีอยู่ภายในอินเตอร์เน็ตมีมากมาย และเหตุจากความมากมายและความมี อิสระเสรีในการนำเสนอข่าวสารทำให้ ใครก็ตามสามารถจะนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศใด ๆ ใน อินเตอร์เน็ตได้อย่างไม่ยากเย็นนักจนทำให้ภายในอินเตอร์เน็ตนั้นไม่สามารถจำแนกประเภทของ ข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศใด ๆ ได้อยู่กระจัดกระจายทั่ว ๆ ไปโดยไร้ระยะทางขวางกั้น เปรียบได้ กับสังคมมนุษย์ปัจจุบันที่ต่างคนต่างนำเสนอข่าวสารต่าง ๆ ออกมาไม่มีการจัดระเบียบ แต่ในโลกแห่ง ความจริงนั้นปริมาณข้อมูลหรือสารสนเทศนั้นจะถูกจำกัดโดยระยะทางเป็นสำคัญ แต่ในโลกความจริง นั้น ถ้าหากมองไปที่หน่วยงานที่แคบลงเช่นมหาวิทยาลัย, หน่วยงานราชการ, โรงพยาบาล, โรงเรียน จะพบว่าแต่ละหน่วยงานนั้นได้มีระเบียบควบคุมการนำเสนอข่าวสารอยู่ทำให้สามารถจำกัดปริมาณ ข้อมูลได้ ในโลกของอินเตอร์เน็ตก็เช่นกันถ้าเข้าไปตามหน่วยงานที่เป็นทางการเช่นมหาวิทยาลัย, โรงพยาบาล, หน่วยงานของรัฐบาล ก็จะทำให้ได้ข้อมูลและสารสนเทศที่ค่อนข้างจะมีรูปแบบ สามารถ นำไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายกว่า แต่การจะเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ก็ยังถูกจำกัด เนื่องจากความไม่รู้จัก URL (Uniform Resource Locator) ตัวอย่างง่าย ๆ ถ้าให้นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เพิ่งมาเมืองไทยเป็น ครั้งแรกเดินทางไปยังวัดพระแก้วโดยเป็นผู้บอกทางแท๊กซี่ที่ไม่รู้ทางเช่นกัน จะมีทางไปถึงจุดหมายได้ อย่างไร ? ในอินเตอร์เน็ตนั้นการเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายและค้นหาสิ่งที่ต้องการจะมีเครื่องมือและวิธี ช่วยเหลือหลาย ๆ วิธีด้วยกันดังนี้ (ก่อนจะถึงส่วนถัดไปผู้เรียนควรจะเข้าใจความหมายของคำต่อไปนี้ ก่อน : Web browser, Domain name, URL, Homepage, Website, www, Hypertext) จาก เนื้อหาข้างต้นก่อน การค้นหาโดยใช้ Search Engine : Search Engine คือรูปแบบการให้บริการค้นหาข้อมูล, สารสนเทศโดยอาศัยโปรแกรมค้นหาที่ผู้ให้บริการเตรียมไว้ รูปแบบการให้บริการในปัจจุบัน (พ.ศ. 2544) มักจะติดต่อกับผู้ใช้ผ่าน Web browser ในรูปแบบของ Hypertext เป็นหลัก ลักษณะข้อมูล และสารสนเทศที่สามารถค้นหาได้จะมีตั้งแต่ เรื่องทั่ว ๆ ไป, รูปภาพ, วีดีโอ, เพลง, ข่าว, เรื่องเฉพาะ กลุ่ม โดยอาศัยฐานข้อมูล (Database) ที่ผู้ให้บริการจัดเตรียมไว้แต่ก็ยังมี Search Engine บางชนิดที่ ไม่จำเป็นต้องใช้ฐานข้อมูลด้วย ถ้าจัดแบ่ง Search Engine ตามขนาดฐานข้อมูล, รูปแบบการค้นหา, และขอบเขตการค้นหาจะแบ่งได้ดังนี้ 1 . Search Engine : จะทำงานรวบรวมข้อมูลหน้าเวปไซต์ต่าง ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาใน อินเตอร์เน็ตเข้าไว้ในฐานข้อมูล โดยข้อมูลส่วนใหญ่ที่เก็บจะเป็นคำสำคัญ (เนื่องจากไม่สามารถระบุได้ ว่าเป็นสารสนเทศชนิดใด) ผู้ใช้บริการก็จะเข้ามาสืบค้นข้อมูลผ่านหน้าจอให้บริการ เมื่อพบก็จะคืน รายการเป็นดัชนีให้ผู้ใช้บริการทราบและสามารถเชื่อมโยงไปยังเวปไซต์ที่เกี่ยวข้องได้ เช่น www.Altavista.com, www.google.com เป็นต้น 2. Web Directory : จะให้บริการคล้ายกับสมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง คือจะให้ผู้ที่ต้องการ เผยแพร่ข้อมูลนำข้อมูลที่ต้องการเผยแพร่มาลงไว้ตามหมวดหมู่ที่กำหนด การค้นหาก็จะสามารถทำได้ แบบเป็นหมวดหมู่ทำได้เร็วขึ้น ตัวอย่างเช่น www.yahoo.com เป็นต้น
  • 2. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 28 3. Hybrid Search Engine : เป็นเครื่องมือค้นหาที่เป็นลูกผสมระหว่าง Search Engine กับ Web Directory ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่หลากหลายมากขึ้น 4. META Search Engine : เป็น Search Engine ชนิดหนึ่งที่ไม่มีฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง แต่จะเป็นผู้ที่ส่งข้อความที่ต้องการค้นหาไปยัง Search Engine ตัวอื่นหลาย ๆ ตัวพร้อมกันแล้วนำ ผลลัพธ์ที่ได้มาสรุปให้มีความกระชับทำให้ได้ผลลัพธ์ที่หลากหลาย โดยไม่จำเป็นจะต้องไปเสียเวลา ค้นหาตาม Search Engine ทีละตัว เช่น www.ask.com 5. Specific Task Search Engine : เป็นซอฟต์แวร์หรือบริการที่ให้บริการค้นหาข้อมูล เฉพาะประเภทที่อยู่ในสภาวะจำกัดเท่านั้น เช่น www.amazon.com จะมีเครื่องมือสืบค้นหาหนังสือ หรือสินค้าที่สามารถค้นหาได้เฉพาะในร้านของตนเองเท่านั้น, napster เป็นซอฟต์แวร์ที่ให้บริการ ค้นหาเพลง เฉพาะผู้ที่สมัครเป็นสมาชิกเท่านั้น, www.dejanews.com เป็นบริการค้นหาสารสนเทศ จาก Newsgroups เท่านั้น Search Engine ที่สามารถใช้บริการได้ สำหรับภาษาอังกฤษจะมี Search Engine อยู่หลาย ๆ ตัวด้วยกันแต่ตัวก็จะให้ผลลัพธ์ในการ ค้นหาแตกต่างกันเพราะฉะนั้นถ้าหากผลการค้นหาไม่ตรงความต้องการก็ลองเปลี่ยนเครื่องมือค้นหาดู โดย Search Engine ที่ได้รับความนิยมมีดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงรายชื่อ Search Engine Search Engine Web Directory Meta Search http://www.altavista.com http://www.yahoo.com http://www.alltheweb.com http://www.about.com http://www.google.com http://www.looksmart.com http://www.hotbot.com http://www.northernlight.com http://www.iwon.com http://www.excite.com http://www.goto.com http://www.ask.com http://www.lycos.com http://www.msn.com --- ภาษาไทย --- http://www.go-thai.com http://www.thaiseek.com http://hotsearch.bdg.co.th http://www.cgitop.com http://www.catcha.co.th http://search.ku.ac.th http://www.dogpile.com http://www.infospace.com http://www.mamma.com http://www.metacrawler.com
  • 3. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 29 แนวทางการสืบค้นสารสนเทศจากระบบอินเตอร์เน็ตจากบริการต่าง ๆ 1. การ Surfing เป็นการเปิดเว็บไซต์ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการค้นหาแล้วอาศัยการรวบรวม ข้อมูลทีละเล็กละน้อยสืบเสาะไปเรื่อย ๆ ผ่านไปทีละเว็บจนกระทั่งได้สิ่งที่ต้องการ การใช้วิธีนี้มักจะ เริ่มต้นจาก Portal web หรือ Web Directory หรือที่เรียกว่า “รวมลิ้งค์” แล้วจึงไปขยายผลโดยเข้า ไปหาข้อมูลทีละแห่ง ไปเรื่อย ๆ แต่วิธีการนี้จะค่อนข้างเสียเวลาและไม่มีความแน่นอนว่าจะได้ข้อมูล, สารสนเทศที่ต้องการจริง ๆ 2. ถามจากผู้รู้ หรือผู้ใช้คนอื่น ๆ เนื่องจากภายในอินเตอร์เน็ตจะมีสังคมอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถ แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นกันบนกระดานข่าว (Bulletin board) ที่ผู้ใช้สามารถเข้าไปแสดง ความคิดเห็น, ตั้งคำถาม, ตอบคำถาม ซึ่งมีชื่อเรียกได้หลาย ๆ ชื่อได้แก่ Usenet, Newsgroups, Webbord, Chat เป็นต้น หรือแม้แต่การส่ง e-mail ไปถามอาจารย์ผู้รู้ทางด้านนี้โดยตรงเลย ก็ได้ ใน กระดานข่าวจะมีการแบ่งแยกเรื่องที่สนทนากันออกเป็นหมวดหมู่ทำให้สามารถจำกัดการสืบค้นให้ตรง กับเรื่องที่ต้องการได้ง่ายขึ้น บางแห่งก็จำเป็นจะต้องสมัครสมาชิกก่อนเพื่อเป็นการกรองข้อมูลที่จะลง ก่อนอีกด้วย ย้อนไปหาคำถามชาวต่างชาติที่จะเดินทางไปสนามหลวงอีกครั้ง ถ้าหาก ใช้การแก้ปัญหาแบบที่ 1 ก็จะเหมือนนักท่องเที่ยวท่านนั้นเดินเข้าไปในร้านหนังสือแล้วหยิบ หนังสือนำเที่ยวประเทศไทยขึ้นมาฉบับหนึ่งภายในย่อมจะมีเรื่องที่เกี่ยวข้องสามารถไปถึงที่หมายได้ รวดเร็ว ใช้การแก้ปัญหาแบบที่ 2 แบบนี้นักท่องเที่ยวคนนี้คงจะมีเวลาว่างมาก เที่ยวค้นคว้าเรื่องราวจากที่ ต่าง ๆ ไปเรื่อย ๆ จนรู้จักกว่าจะเจอสนามหลวงก็คงจะได้เรียนรู้ วัฒนธรรมประเพณีไทย, การ คมนาคมแบบต่าง ๆ, นิสัยชาวไทย ฯลฯ อีกมากทีเดียว ใช้การแก้ปัญหาแบบที่ 3 แบบนี้ก็คล้าย ๆ กับนักท่องเที่ยวคนนี้ถามตำรวจท่องเที่ยวหรือจ้าง มัคคุเทศก์สักคนเพื่อนำทางไปยังจุดหมาย รวดเร็วตรงประเด็นที่ต้องการแน่นอน (ถ้าไม่โดนหลอก เสียก่อน) ดังนั้นการค้นหาเส้นทางก็แล้วแต่ความสามารถ, เวลาแต่ละคนแต่ไม่ว่าทางไหนก็พาไปสู่ จุดหมายได้เช่นกัน
  • 4. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 30 เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศโดยใช้ Search Engine 1. อย่าค้นหาด้วย Search Engine เดียวเพราะว่าไม่มี Search Engine ใดที่จะมีฐานข้อมูลของทุก เว็บไซต์ทั่วโลก ดังนั้นถ้าค้นไม่เจอข้อมูลที่ต้องการให้ลองไปค้นหาที่ Search Engine อื่น [1] 2. อ่านวิธีการค้นหา เพราะว่า Search Engine แต่ละตัวจะมีวิธีการค้นหาไม่เหมือนกันยิ่งเป็นการ ค้นหาแบบเฉพาะทางหรือแบบที่มีคำสั่งพิเศษด้วยแล้ว ถ้าสามารถอ่านวิธีการค้นหาได้ก็จะ สามารถช่วยค้นหาได้เร็วขึ้นและได้ผลตามประสงค์ [1] 3. ค้นหาด้วยคำเฉพาะ เพราะยิ่งใช้คำเฉพาะสำหรับค้นหาเท่าไร ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะตรงตามเป้าหมาย เท่านั้น เช่น แทนที่จะค้นเว็บไซต์สุนัขด้วยคำว่า dog ก็ให้ใส่พันธุ์ของสุนัขที่ต้องการลงไปด้วย อย่าง puddle dog หรือ boxer dog จะทำให้สามารถค้นหาได้ง่ายกว่า [1] 4. ใช้คำทั่ว ๆ ไปค้นหา ถ้าค้นหาด้วยคำเฉพาะแล้วไม่มีผลการค้นหา เพราะคำเฉพาะบางคำที่เฉพาะ เกินไปอาจจะไม่มีอยู่ในฐานข้อมูลก็ได้ [1] 5. ใช้คำสั่ง Boolean ช่วยในการค้นหาถ้าต้องการค้นหาเว็บไซต์ด้วยการใช้คำหลาย ๆ คำผสมกันไป หรือเมื่อไม่ต้องการให้คำใดเข้ามาเกี่ยวข้องในการค้นหาก็สามารถกำหนดได้เช่นกัน [1] 6. สารสนเทศที่มักพบบ่อยจะเป็นสารสนเทศที่เป็บของผู้ให้บริการเชิงพาณิชย์ ทำให้ต้องมีค่าใช้จ่าย เมื่อจะนำข้อมูลมาใช้ ดังนั้นจึงควรเลือกแหล่งข้อมูลจากแหล่งที่เหมาะสมเช่น จากมหาวิทยาลัย, ห้องสมุด, หรือจากองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร สังเกตได้จากชื่อ Domain name ที่เรียกที่มักจะไม่ลง ท้ายด้วย .com 7. ถ้าจำเป็นจะต้องใช้เลือกค้นหาด้วยภาษาอื่น ๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ จะต้องเลือกใช้ Search Engine ที่สนับสนุนการค้นด้วยภาษานั้นด้วย เช่น Altavista และ Hotbot ที่สนับสนุน การค้นหาจากภาษาอื่น ๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ (ถ้าจะใช้ภาษาไทยต้องใช้ Search Engine ที่เป็นภาษาไทยเท่านั้น) 8. ถ้าค้นหา(ภาษาไทย) แล้วไม่พบจาก Search Engine เลยให้ใช้วิธี Surfing หรือ การสอบถามจาก ผู้รู้บ้างเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นแนวทางส่วนหนึ่ง 9. การค้นหาควรเริ่มจากที่ห้องสมุดในสถาบันก่อน เนื่องจากสามารถจำกัดขอบเขตการค้นหาได้ง่าย กว่า แล้วจึงค่อยขยายการค้นหาออกไปสู่อินเตอร์เน็ตหรือวิธีอื่น ๆ
  • 5. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 31 การใช้คำสั่ง Boolean ในการช่วยค้นหาเบื้องต้น 1. And ใช้ในการกำหนดเพื่อค้นหาด้วยคำมากกว่าสองคำขึ้นไปที่อยู่ในเว็บไซต์เดียวกันการใช้งานก็ ให้พิมพ์ And ลงระหว่างคำสองคำหรือระหว่างทุกคำที่ต้องการค้นหา เช่น sea AND phuket เป็นต้น บาง Search Engine ก็ใช้เครื่องหมาย + แทนคำสั่ง AND เช่น sea +phuket 2. Or ใช้ในการกำหนดเพื่อค้นหาคำอย่างน้อยหนึ่งคำที่กำหนดต้องอยู่ในเว็บไซต์ที่ค้นหา ด้วยการใช้ คำสั่ง OR ที่ระหว่างคำเช่น phuket or songkla เป็นต้น 3. AND NOT ใช้สำหรับค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำแรก (หน้า AND) แต่ต้องไม่มีคำที่สอง (หลัง NOT) เช่น phuket AND NOT songkla เป็นต้น บาง Search Engine ใช้เครื่องหมาย – แทนคำสั่ง AND NOT เช่น phuket –songkla เป็นต้น 4. เครื่องหมาย “ ” ใช้สำหรับการค้นหาเว็บไซต์ที่มีคำที่กำหนดทั้งประโยค เช่น “Sunset at phuket” เป็นต้น 5. เครื่องหมาย ( ) ใช้แบ่งคำสั่ง Boolean ออกเป็นส่วน ๆ เช่น kayak AND (gear OR equipment) ผลลัพธ์ที่ได้คือ เว็บไซต์ที่มีคำว่า kayak และคำว่า gear หรือคำว่า equipment หรือ ทั้ง gear และ equipment อยู่ด้วยเป็นต้น 6. เครื่องหมาย * ใช้สำหรับค้นหาเว็บไซต์ที่มีส่วนหนึ่งของคำที่กำหนด และอาจจะตามด้วยตัวอักษร อื่นก็ได้ เช่น kayak* ผลลัพธ์ที่ได้เป็นไปได้ทั้งเว็บไซต์ที่มีคำว่า kayak, kayaks, kayaked, kayaking และอื่น ๆ ตัวอย่างการใช้ Search Engine เพื่อสืบค้นสารสนเทศในระบบอินเตอร์เน็ต กำหนดให้ เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ด้านการเลี้ยงบอนไซมาก่อนแต่ต้องการอยากจะเลี้ยง ทำให้มีความ ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงบอนไซในประเทศไทยและวิธีการเลี้ยง จะสามารถทำอย่างไรได้บ้างถ้า มีการสืบค้นจากอินเตอร์เน็ตเป็นทางเลือกทางเดียว 1. ก่อนอื่นขอแนะนำให้ไปที่ห้องสมุดก่อน เช่นขณะนี้อยู่มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียก็สืบค้นจาก Website ห้องสมุดถ้าไม่รู้ก็เข้าไปที่ www.eau.ac.th ก่อนไปที่ Service แล้วเว็บนี้ก็จะนำไปสู่ www.library.eau.ac.th แล้วเข้าไปที่หัวข้อ Online Catalog แล้วลองสืบค้นคำว่า bonzi หรือ บอนไซ (ควรจะรู้ข้อมูลบางอย่างเช่นชื่อบอนไซที่เขียนอย่างถูกต้องหรืออื่น ๆ บ้าง)
  • 7. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 33 2. เมื่อลองพิมพ์ ทั้งคำว่า bonzi และ บอนไซดูแล้วปรากฏว่าไม่สามารถหาหนังสือที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องนี้ได้เลย 3. ขั้นต่อไปลองไปเว็บท่า (Portal) ที่ดัง ๆ ในประเทศไทยเป็นอันดับถัดไป ในที่นี้จะขอไป Website : www.sanook.com แล้วลองใช้บริการค้นหา โดยพิมพ์คำว่า bonzi หรือ บอนไซ ลองผิดลอง ถูกไปก่อน แล้วก็นั่งรออย่างใจเย็น
  • 8. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 34 4. เมื่อใช้คำว่า “บอนไซ” ทำให้สามารถค้นหาเจอ Website 2 แห่งด้วยกัน 5. เมื่อเปิดไปทั้ง 2 แห่งถ้าหากได้ข้อมูลที่พอใจแล้วก็เป็นอันเสร็จสิ้นการค้นหา เนื่องจากเมื่อเปิดไป แล้วจะพบกับการ link ไปยังเว็บไซต์ต่างประเทศหลายแห่งน่าสนใจ ถ้าต้องการข้อมูลมากกว่านี้ก็ ต้องค้นหาต่อไป จนกว่าจะเจอข้อมูลที่ถูกใจ 6. อย่าลืมฝึกภาษาอังกฤษให้แข็งแรง ไปพร้อม ๆ กับการเริ่มใช้อินเตอร์เน็ตด้วยเนื่องจาก ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักที่ใช้สำหรับการสื่อสารกันในโลกอินเตอร์เน็ต การกำหนดให้ ต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์ เรื่องราว ต่าง ๆ เกี่ยวกับนิยายเรื่อง Starwar episode II จะต้องทำอย่างไร 1. เมื่อปัญหาคือนิยาย หรือ ภาพยนตร์ที่เป็นของต่างชาติเพราะฉะนั้นจำเป็นจะต้องใช้เครื่องมือ ค้นหาที่เป็นภาษาอังกฤษแล้ว แต่ก่อนอื่น Starwar เป็นภาพยนตร์ที่ดังมากน่าจะมี Website ที่มี เรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องนี้มากมายและมีชื่อง่าย ๆ ก่อนอื่นให้ลองดูว่ามี Website : www.starwar.com หรือไม่ก่อน ปรากฏว่ามีดังภาพ
  • 9. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 35 การกำหนดให้ ค้นหาภาพการวางตัวอักษรลงบน keyboard ที่เป็นภาษาไทย 1. ข้อนี้ค่อนข้างยาก ลองเปลี่ยนมาค้นหาด้วย Search Engine ดูบ้างให้เข้าไปที่ Altavista.com (ไม่จำเป็นจะต้องเข้าไปที่นี่ก็ได้แล้วแต่ความคุ้นเคยหรือความชอบ หรือผลลัพธ์การค้นหาจะดีกว่า 2. ให้ใช้คำว่า “keyboard layout” พิมพ์ลงไปในช่อง Search for: แล้วกดปุ่ม Search จะได้ ผลลัพธ์ดังนี้ 3. จะพบว่าผลลัพธ์ไม่ได้ตรงกับความต้องการเลย ให้ลองเปลี่ยนคำค้นหาเป็น “thai keyboard layout” แล้วค้นหาใหม่ จะเจอผลลัพธ์ที่ดีขึ้น
  • 10. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 36 4. ถ้าเข้าไปที่ www.dco.co.th/softward/layout.htm จะพบกับหน้าจอการจัดปุ่มต่าง ๆ บน keyboard ภาษาไทยได้
  • 11. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 37 คำถามท้ายบท 1. ให้นักศึกษาอธิบายถึงการค้นหาข้อมูลจากสำนักงาน กศน. ทังสวนกลางและส่วนภูมิภาค ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 2. ให้นักศึกษาอธิบายถึงการค้นหาข้อมูลจาก google.com หรือ sanook.com ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................