SlideShare a Scribd company logo
จุลสาร สวพ.ทร.
                                                      40


                                                                     การสืบค้นข้อมูล
                                                 ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
                                                                         โดย...น.ต.หญิง เพียงเพ็ญ ทองกล่ำ

              โลกในยุคปัจจุบันเต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตนั้นถือได้ว่าเป็นแหล่งรวบรวม
ข้อมูลขนาดใหญ่ จนได้รบสมญานามว่า "ห้องสมุดโลก" ซึงมีขอมูลหลากหลายประเภทและมีแนวโน้มจะเพิมขึน
                           ั                           ่ ้                                               ่ ้
อย่างรวดเร็ว ดังนั้นในการที่เราจะค้นหา ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ สำหรับผู้ที่ไม่
คุนเคยกับแหล่งข้อมูลชนิดนี้ ซึงส่วนมากมักประสบปัญหาไม่ทราบว่าข้อมูลทีตองการนันอยูในเว็บไซต์ใด ดังนัน
  ้                            ่                                          ่ ้       ้ ่                     ้
จึงได้มผคดค้นเว็บไซต์ทให้บริการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต ทีเรียกว่า เครืองมือช่วยค้น หรือ เซิรชเอ็นจิน
       ี ู้ ิ           ่ี                                       ่            ่                      ์
(Search Engine) เพือให้ความสะดวกกับผูทตองการค้นหาข้อมูล
                   ่                  ้ ่ี ้
             ในการสืบค้นข้อมูลนันถ้าหากเราทราบแหล่งข้อมูลหรือเว็บไซต์ เราก็สามารถพิมพ์หรือระบุ U RL ในช่อง
                                ้
Address ได้เลย แต่ถ้าหากเราไม่ทราบว่าแหล่งข้อมูลนั้นอยู่ที่ใด เราสามารถใช้เว็บไซต์ที่เป็น Search Engine
ช่วยในการค้นหาได้อย่างรวดเร็ว Search Engine คือ ฐานข้อมูลที่ระบุที่อยู่ของ Web Site ต่าง ๆ รวมทั้ง
ชื่อเรื่องและเนื้อหาของ Web sites นั้น ๆ โดย Robots เป็นผู้ที่ทำหน้าที่ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคำค้นมา
เก็บไว้ทฐานข้อมูล
          ่ี
             ซึ่งปัจจุบันมีฐานข้อมูลจำนวนมากที่ทำหน้าที่เป็น Search Engine สำหรับวิธีค้นหา และ วิธีแสดง
ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นที่ได้ก็จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับความสามารถของ Search Engine นั้น ๆ ลักษณะการ
ค้นหาข้อมูลของ Search Engine โดยทัวไป Search Engine แบ่งลักษณะรูปแบบการค้นหา เป็น ๓ ลักษณะ คือ
                                      ่
              ๑. การค้นแบบนามานุกรม (Directory) หมายถึงการแจ้งแหล่งทีตง ซึงบรรจุเนือหาหรือเว็บไซต์
                                                                      ่ ้ั ่       ้
ต่างๆ ไว้เป็นหมวดหมูหรือกลุมใหญ่ ๆ และแต่ละกลุมจะแบ่งเป็นเรืองย่อยๆ ต่อไปเรือยๆ เหมือนกับหลักการ
                      ่    ่                     ่            ่               ่
จัดหมวดหมูหนังสือในห้องสมุด ซึงการจัดทำแบบนามานุกรมนีมขอดีคอ ช่วยให้ผใช้ได้ขอมูลทีตรงกับความ
            ่                      ่                      ้ ี้ ื           ู้    ้    ่
ต้องการ เนื่องจากนำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่ไว้อย่างเป็นระบบ และสามารถกำหนดค้นได้ง่ายในหัวข้อโดยเลือก
จากรายการทีทำไว้แล้ว เว็บไซต์ทมการจัดเรียงข้อมูลไว้แบบนามานุกรม เช่น www.yahoo.com ,www.lycos.com
               ่              ่ี ี
www.sanook.com, www.siamguru.com เป็นต้น
             ๒. การค้นหาแบบดรรชนี (Index) หรือคำสำคัญ (Keywords) เป็นการค้นหาข้อมูลในลักษณะ
คำหรือวลี ข้อความต่างๆ ที่อาจจะเป็นคำสำคัญ (Keyword) ในการค้นหาลักษณะนี้ตัวโปรแกรมหรือเว็บไซต์
จะมีเครื่องมือช่วยในการทำดรรชนีค้นที่เรียกว่า Spider หรือ Robot หรือ Crawler ทำหน้าที่เช็คตามหน้าเว็บ
ต่างๆ ของเว็บไซต์ทมการเปิดดูอยู่ แล้วนำคำทีคนมาจัดทำเป็นดรรชนีคนหาโดยอัตโนมัติ ซึงการค้นแบบนีจะ
                    ่ี ี                    ่ ้                  ้                  ่             ้
สามารถค้นหาเว็บเพจใหม่ๆและทันสมัยมากกว่าการค้นแบบนามานุกรม แต่ทั้งนี้การสืบค้นแบบนี้จะต้องมี
เทคนิควิธการค้นเฉพาะด้านด้วย เช่น การใช้ตรรกบูลน (Boolean Logic) หรือโอเปอเรเตอร์ (Operator) เป็นต้น
          ี                                       ี
โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย
เนืองจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนือหาเท่าทีควร
   ่                                  ้         ่
จุลสาร สวพ.ทร.
                                                   41

           ตัวอย่าง การค้นหาแบบดรรชนี โดยใช้คำสำคัญ
         ระบุคำ เรืองทีตองการค้นในเว็บไซต์ทเป็น search engine เช่น ดาวอังคาร ลงในช่องสืบค้นจะ
                   ่ ่ ้                   ่ี
ปรากฏจำนวนรายการข้อมูลทีคนพบ และโยงไปยังแหล่งข้อมูลทีตองการ
                         ่ ้                          ่ ้
             ๓. การค้นหาแบบ Metasearch Engines จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธการนี้ คือ สามารถเชือม
                                                                             ี                 ่
โยงไปยัง Search Engine ประเภทอืนๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธนมจดด้อย คือ
                                ่                                                     ี ้ี ี ุ
วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language
(ภาษาพูด) ดังนัน หากจะใช้ Search Engine แบบนีละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านีดวย
                 ้                           ้                                    ้ ้
           หลักการในการเลือกใช้ Search Engine
            Search Engine แต่ละตัวมีข้อดีในการสืบค้นและวิธีการในการสืบค้นที่แตกต่างกัน ตลอดจนมีการ
จัดทำส่วนพิเศษต่างๆ ในการสืบค้นเพือช่วยผูใช้ และเพือให้ผใช้สามารถสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผูใช้ควร
                                    ่      ้        ่ ู้                                       ้
มีความรูเกียวกับการค้นหา ดังนี้ คือ
        ้ ่
             ๑. วิธการใช้ Search Engine แต่ละเว็บไซต์ Search Engine แต่ละตัวจะมีสวนช่วยในการอธิบายวิธี
                    ี                                                             ่
ใช้ในส่วนทีเรียกว่า Help หรือ About เช่น Yahoo มีวธกำหนดคำค้นเพือให้ได้ผลค้นทีเฉพาะเจาะจงหรือตรงต่อ
          ่                                        ิี              ่            ่
ความต้องการ โดย
                ๑.๑ ใช้เครืองหมายดอกจันทร์ (*) เพือค้นหาคำทีมการสะกดคล้ายกัน เช่น smok* หมายความ
                          ่                      ่          ่ ี
ว่าให้คนหาคำทังหมดทีขนด้วย ๕ ตัวอักษรแรก เช่น smoke smoker เป็นต้น
       ้      ้     ่ ้ึ
                 ๑.๒ ใช้เครืองหมาย + สำหรับกำหนดให้แสดงผลการค้นเฉพาะเว็บไซต์ ทีปรากฏคำทังสองคำ
                            ่                                                  ่        ้
เช่น Secondary + education
               ๑.๓ ใช้เครืองหมาย " " สำหรับการค้นหาคำทีเป็นวลี เช่น "great barrier reaf"
                          ่                            ่
           การใช้ตรรกบูลน (Boolean Logic)
                        ี
            เพือให้สามารถกำหนดการค้นหาทีแคบเข้ามา โดยใช้คำ AND OR NOT เข้าช่วยในการกำหนด
               ่                          ่
คำค้น เพือให้สามารถค้นหาได้อย่างเฉพาะเจาะจงมากยิงขึน
         ่                                     ่ ้
               ๑.    การใช้ AND
                    การกำหนดใช้ AND จะใช้เมือต้องการกำหนดให้คนรายการทีปรากฏคำทีมความเกียวข้อง
                                             ่                 ้          ่          ่ ี ่
กัน ในรายการเดียวกัน เช่น water and soil การกำหนดแบบนีหมายความว่า ผลการค้นต้องการ คือเฉพาะ
                                                        ้
รายการทีมคำว่า water และ soil เท่านัน หากรายการใดทีมแต่คำว่า water หรือ soil ไม่ตองการ
        ่ ี                        ้              ่ ี                            ้
               ๒.    การใช้คำว่า OR
                  การใช้ OR เป็นการขยายคำค้น โดยกำหนดคำหลายทีเห็นว่ามีความหามายคล้ายกันหรือ
                                                            ่
สามารถสะกดได้หลายแบบ
จุลสาร สวพ.ทร.
                                                 42

              ๓.    การใช้ NOT
                   การใช้ NOT จะใช้ในเมือต้องการจำกัดการค้นเข้ามา คือไม่ตองการรายการทีมเนือหา
                                        ่                                ้            ่ ี ้
ส่วนทีไม่ตองการปรากฏอยู่ โดยกำหนดให้ตดคำทีไม่ตองการออกเช่น water not soil
      ่ ้                             ั     ่ ้
                    การกำหนดคำแบบนี้ หมายถึง
                    ๑. ให้คนหารายการทีมคำว่า water แต่หากรายการใดมีคำว่า soil อยูดวย ไม่ตองการ
                           ้          ่ ี                                        ่ ้     ้
                    ๒. ผลสืบค้นทีได้ทกรายการทีมคำว่า water และหากมีคำว่า Soil ให้คดออกทุกรายการ
                                 ่ ุ          ่ ี                                 ั

เทคนิคการค้นหาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ


    บีบประเด็นให้แคบลง              หัวข้อเรืองทีตองการค้นหาต้องพยายามบีบประเด็นให้แคบลงเช่น
                                             ่ ่ ้
                                    หากต้องการค้นหาข้อมูลเกียวกับคอมพิวเตอร์ ซึงอาจจะหาโดยใช้
                                                            ่                     ่
                                    คำว่า คอมพิวเตอร์ หรือ Computer นี้ค้นหา เพื่อลองดูเนื้อหา
                                    กว้างๆ เกียวกับคอมพิวเตอร์ ว่ามีเรืองใดบ้าง จากนันก็บบหัวข้อ
                                               ่                        ่            ้ ี
                                    เรืองลง โดยอาจจะเลือกจากหัวข้อทีเว็บไซต์นนจัดทำ หรืออาจจะ
                                       ่                              ่        ้ั
                                    พิมพ์ขอความเพือค้นหาอีกครัง
                                           ้       ่          ้

    การใช้คำทีใกล้เคียง
              ่                     ควรค้นหาคำทีมความหมายใกล้เคียงกับคำทีกำลังค้นหาด้วย เช่น
                                                 ่ ี                           ่
                                    หากต้องการค้นเรื่องเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Computer คำที่เกี่ยว
                                    ข้องทีสามารถใช้คนหาได้ คือ technology, IT เป็นต้น
                                          ่          ้

    การใช้คำหลัก (Keyword)          คำหลัก (Keyword) หมายถึงคำหรือข้อความทีเราจะนึกถึงเว็บไซต์
                                                                               ่
                                    นั้นเมื่อเอ่ยถึง เช่น สสวท. เรามักจะนึกถึงเว็บไซต์ของสถาบัน
                                    ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://www.ipst.
                                    ac.th หรือ schoolnet เราจะนึกถึงเว็บไซต์เครือข่ายโรงเรียนไทย
                                    http://www.school.net.th

    หลีกเลียงการใช้ตวเลข
          ่         ั               พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มี
                                    ตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคำพูด (" ")
                                    ลงไปด้วย เช่น "windows 98"
จุลสาร สวพ.ทร.
                                         43


ใช้เครืองหมายบวกและลบช่วย
       ่                    ใช้เครืองหมาย + และ - เพือช่วยในการค้นหา โดย + เพือใช้กบ
                                     ่               ่                        ่ ั
                            คำทีคณต้องการใช้ในการค้นหา และ - เพือใช้กบคำทีไม่ตองการ
                                 ่ ุ                             ่ ั      ่ ้
                            ใช้ในการค้นหา
                            เครืองหมาย "+" หมายถึง การระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้อง
                                      ่
                            มีคำนั้นปรากฎอยู่ในหน้าเว็บเพจ ข้อควรระวังคือ เราจะต้องใช้
                            เครืองหมายบวกติดกับคำหลักนันเสมอ ห้าม มีชองว่างระหว่าง
                                    ่                      ้             ่
                            เครืองหมายบวกกับคำหลัก เช่น +เศรษฐกิจ +การเมือง หมายถึง
                                  ่
                            หน้าเว็บเพจทีพบจะต้องปรากฎคำว่า "เศรษฐกิจ" และ"การเมือง"
                                          ่
                            อยูในหน้าเดียวกันทังสองคำ หรือ +เศรษฐกิจ การเมือง สังเกต
                                ่              ้
                            เห็นว่าทีคำว่า "การเมือง" ไม่ปรากฏ เครืองหมายบวก "+" อยู่
                                        ่                         ่
                            ข้างหน้า เหมือนตัวอย่างบน หมายถึงการค้นหาหน้าเอกสาร
                            เว็บเพจที่จะต้องปรากฏ คำว่า "เศรษฐกิจ" โดยในหน้าเอกสาร
                            นันอาจจะปรากฏหรือไม่ปรากฏคำว่า "การเมือง" ก็ได้
                              ้
                            เครื่องหมายลบ "-" หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการ
                            ค้นหาต้องไม่ปรากฎคำนัน อยูในหน้าเว็บเพจ เช่น
                                                    ้ ่
                            โรงแรม -รีสอร์ท หมายถึง หน้าเว็บเพจนันต้องมีคำว่า โรงแรม
                                                                   ้
                            แต่ตองไม่ปรากฎคำว่า รีสอร์ท อยู่
                                 ้
                            โดยการใช้งานต้องอยู่ในรูปของ A -B หรือ +A -B โดย A
                            และ B เป็นคำหลักทีตองการค้นหา
                                                ่ ้
                            ตัวอย่าง +มะม่วง-มะม่วงอกร่อง-มะม่วงน้ำดอกไม้หมายถึง
                            หน้าเว็บเพจทีพบจะต้องปรากฎคำว่า "มะม่วง" แต่ตองไม่ปรากฎ
                                         ่                                  ้
                            คำว่า "มะม่วงอกร่อง" และ "มะม่วงน้ำดอกไม้" อยูในหน้าเดียว
                                                                          ่
หลีกเลียงภาษาพูด
       ่                    หลีกเลี่ยงคำประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำ
                            หรือข้อความทีเป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรุปเป็นเพียง
                                         ่
                            กลุมคำหรือวลี ทีมความหมายรวมทังหมดไว้
                               ่            ่ ี            ้
Advanced Search             อย่าลืมที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยได้มาก ใน
                            การบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทำให้ได้รายชื่อเว็บไซต์
                            ที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละ
                            เว็บ จะมี ปุ่ม help หรือ Site map ไว้คอยช่วยเหลือคุณ แต่คน
                            ส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/site map จะมีประโยชน์มาก
                            ในการอธิบาย option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละ
                            เว็บไซต์
จุลสาร สวพ.ทร.
                                                      44

Search Engine ทีได้รบความนิยมในปัจจุบน ได้แก่
                ่ ั                  ั
         Yahoo (http://www.yahoo.com)
             Yahoo ช่วยให้หาข้อมูล ได้งายขึนโดยแบ่งเป็น หมวดหมูแบบ Directory หรือ Catalog
                                       ่ ้                     ่
         AltaVista (http://www.altavista.com)
             AltaVista เป็น Search Engine ทีแท้จริง จะค้นหา ทุกคำ ในเอกสารทุกหน้าเพือตอบสนองความ
                                            ่                                       ่
             ต้องการในการสืบค้นของผูใช้ให้มากทีสด
                                       ้           ุ่
         MetaCrawler (http://www.metacrawler.com)
            เป็น Meta Search Engine ทีสามารถค้นหาข้อมูลได้หลากหลาย โดยอาศัย Search Engine
                                     ่
         หลาย ๆ ตัว
Search Engine ภาษาไทย
         Catcha (http://www.catcha.co.th)
             ให้บริการค้นหาข้อมูลภาษาไทยในลักษณะของ Directory
         SiamGuru (http://www.siamguru.com)
             ให้บริการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ เป็นภาษาไทยสามารถใช้เครืองหมาย Boolean เช่น AND ,
                                                                    ่
             OR ในการค้นหาได้ดี
         ThaiFind (http://www.thaifind.com)
             ThaiFind เป็น Search Engine ในลักษณะ Meta Search ทีเป็นภาษาไทย
                                                               ่


                             *********************************

More Related Content

What's hot

Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
mahasarakham university
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
itte55112
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตKanokkorn Harsuk
 
Search
SearchSearch
Search
KKU Library
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4peter dontoom
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยChantana Papattha
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
Thanakorn Sirikit
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นpenelopene
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นThunyaluck
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตmildthebest
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
เทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตeyechillchill
 
Google in thai
Google in thaiGoogle in thai
Google in thai
Radompon.com
 

What's hot (18)

Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
Search
SearchSearch
Search
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 
การใช้งาน Google
การใช้งาน  Googleการใช้งาน  Google
การใช้งาน Google
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 
Google in thai
Google in thaiGoogle in thai
Google in thai
 

Similar to การสืบค้นข้อมูล1

การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
thepvista
 
Search Engine
Search  EngineSearch  Engine
Search Engine
MrsZippy
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4peter dontoom
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9
Chanoknun Kosolwattanakul
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
Tip.search
Tip.searchTip.search
Tip.search
Walaiporn Fear
 
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Completeเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical CompleteAkarimA SoommarT
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
Unit6
Unit6Unit6
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตPitchaporn Phonphaengkwa
 
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
นางสาวมณีรัตน์  33.docxนางสาวมณีรัตน์  33.docx
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
Khemjira_P
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11ratiporn555
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
niramon_gam
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
Khemjira_P
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)
Supimon Wattananukoon
 

Similar to การสืบค้นข้อมูล1 (20)

การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
Search Engine
Search  EngineSearch  Engine
Search Engine
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9
 
Internetsearch
InternetsearchInternetsearch
Internetsearch
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
Tip.search
Tip.searchTip.search
Tip.search
 
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Completeเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
นางสาวมณีรัตน์  33.docxนางสาวมณีรัตน์  33.docx
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)HUM121_30072013 (Information Access)
HUM121_30072013 (Information Access)
 

การสืบค้นข้อมูล1

  • 1. จุลสาร สวพ.ทร. 40 การสืบค้นข้อมูล ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดย...น.ต.หญิง เพียงเพ็ญ ทองกล่ำ โลกในยุคปัจจุบันเต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตนั้นถือได้ว่าเป็นแหล่งรวบรวม ข้อมูลขนาดใหญ่ จนได้รบสมญานามว่า "ห้องสมุดโลก" ซึงมีขอมูลหลากหลายประเภทและมีแนวโน้มจะเพิมขึน ั ่ ้ ่ ้ อย่างรวดเร็ว ดังนั้นในการที่เราจะค้นหา ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ สำหรับผู้ที่ไม่ คุนเคยกับแหล่งข้อมูลชนิดนี้ ซึงส่วนมากมักประสบปัญหาไม่ทราบว่าข้อมูลทีตองการนันอยูในเว็บไซต์ใด ดังนัน ้ ่ ่ ้ ้ ่ ้ จึงได้มผคดค้นเว็บไซต์ทให้บริการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต ทีเรียกว่า เครืองมือช่วยค้น หรือ เซิรชเอ็นจิน ี ู้ ิ ่ี ่ ่ ์ (Search Engine) เพือให้ความสะดวกกับผูทตองการค้นหาข้อมูล ่ ้ ่ี ้ ในการสืบค้นข้อมูลนันถ้าหากเราทราบแหล่งข้อมูลหรือเว็บไซต์ เราก็สามารถพิมพ์หรือระบุ U RL ในช่อง ้ Address ได้เลย แต่ถ้าหากเราไม่ทราบว่าแหล่งข้อมูลนั้นอยู่ที่ใด เราสามารถใช้เว็บไซต์ที่เป็น Search Engine ช่วยในการค้นหาได้อย่างรวดเร็ว Search Engine คือ ฐานข้อมูลที่ระบุที่อยู่ของ Web Site ต่าง ๆ รวมทั้ง ชื่อเรื่องและเนื้อหาของ Web sites นั้น ๆ โดย Robots เป็นผู้ที่ทำหน้าที่ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคำค้นมา เก็บไว้ทฐานข้อมูล ่ี ซึ่งปัจจุบันมีฐานข้อมูลจำนวนมากที่ทำหน้าที่เป็น Search Engine สำหรับวิธีค้นหา และ วิธีแสดง ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นที่ได้ก็จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับความสามารถของ Search Engine นั้น ๆ ลักษณะการ ค้นหาข้อมูลของ Search Engine โดยทัวไป Search Engine แบ่งลักษณะรูปแบบการค้นหา เป็น ๓ ลักษณะ คือ ่ ๑. การค้นแบบนามานุกรม (Directory) หมายถึงการแจ้งแหล่งทีตง ซึงบรรจุเนือหาหรือเว็บไซต์ ่ ้ั ่ ้ ต่างๆ ไว้เป็นหมวดหมูหรือกลุมใหญ่ ๆ และแต่ละกลุมจะแบ่งเป็นเรืองย่อยๆ ต่อไปเรือยๆ เหมือนกับหลักการ ่ ่ ่ ่ ่ จัดหมวดหมูหนังสือในห้องสมุด ซึงการจัดทำแบบนามานุกรมนีมขอดีคอ ช่วยให้ผใช้ได้ขอมูลทีตรงกับความ ่ ่ ้ ี้ ื ู้ ้ ่ ต้องการ เนื่องจากนำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่ไว้อย่างเป็นระบบ และสามารถกำหนดค้นได้ง่ายในหัวข้อโดยเลือก จากรายการทีทำไว้แล้ว เว็บไซต์ทมการจัดเรียงข้อมูลไว้แบบนามานุกรม เช่น www.yahoo.com ,www.lycos.com ่ ่ี ี www.sanook.com, www.siamguru.com เป็นต้น ๒. การค้นหาแบบดรรชนี (Index) หรือคำสำคัญ (Keywords) เป็นการค้นหาข้อมูลในลักษณะ คำหรือวลี ข้อความต่างๆ ที่อาจจะเป็นคำสำคัญ (Keyword) ในการค้นหาลักษณะนี้ตัวโปรแกรมหรือเว็บไซต์ จะมีเครื่องมือช่วยในการทำดรรชนีค้นที่เรียกว่า Spider หรือ Robot หรือ Crawler ทำหน้าที่เช็คตามหน้าเว็บ ต่างๆ ของเว็บไซต์ทมการเปิดดูอยู่ แล้วนำคำทีคนมาจัดทำเป็นดรรชนีคนหาโดยอัตโนมัติ ซึงการค้นแบบนีจะ ่ี ี ่ ้ ้ ่ ้ สามารถค้นหาเว็บเพจใหม่ๆและทันสมัยมากกว่าการค้นแบบนามานุกรม แต่ทั้งนี้การสืบค้นแบบนี้จะต้องมี เทคนิควิธการค้นเฉพาะด้านด้วย เช่น การใช้ตรรกบูลน (Boolean Logic) หรือโอเปอเรเตอร์ (Operator) เป็นต้น ี ี โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนืองจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนือหาเท่าทีควร ่ ้ ่
  • 2. จุลสาร สวพ.ทร. 41 ตัวอย่าง การค้นหาแบบดรรชนี โดยใช้คำสำคัญ ระบุคำ เรืองทีตองการค้นในเว็บไซต์ทเป็น search engine เช่น ดาวอังคาร ลงในช่องสืบค้นจะ ่ ่ ้ ่ี ปรากฏจำนวนรายการข้อมูลทีคนพบ และโยงไปยังแหล่งข้อมูลทีตองการ ่ ้ ่ ้ ๓. การค้นหาแบบ Metasearch Engines จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธการนี้ คือ สามารถเชือม ี ่ โยงไปยัง Search Engine ประเภทอืนๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธนมจดด้อย คือ ่ ี ้ี ี ุ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนัน หากจะใช้ Search Engine แบบนีละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านีดวย ้ ้ ้ ้ หลักการในการเลือกใช้ Search Engine Search Engine แต่ละตัวมีข้อดีในการสืบค้นและวิธีการในการสืบค้นที่แตกต่างกัน ตลอดจนมีการ จัดทำส่วนพิเศษต่างๆ ในการสืบค้นเพือช่วยผูใช้ และเพือให้ผใช้สามารถสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผูใช้ควร ่ ้ ่ ู้ ้ มีความรูเกียวกับการค้นหา ดังนี้ คือ ้ ่ ๑. วิธการใช้ Search Engine แต่ละเว็บไซต์ Search Engine แต่ละตัวจะมีสวนช่วยในการอธิบายวิธี ี ่ ใช้ในส่วนทีเรียกว่า Help หรือ About เช่น Yahoo มีวธกำหนดคำค้นเพือให้ได้ผลค้นทีเฉพาะเจาะจงหรือตรงต่อ ่ ิี ่ ่ ความต้องการ โดย ๑.๑ ใช้เครืองหมายดอกจันทร์ (*) เพือค้นหาคำทีมการสะกดคล้ายกัน เช่น smok* หมายความ ่ ่ ่ ี ว่าให้คนหาคำทังหมดทีขนด้วย ๕ ตัวอักษรแรก เช่น smoke smoker เป็นต้น ้ ้ ่ ้ึ ๑.๒ ใช้เครืองหมาย + สำหรับกำหนดให้แสดงผลการค้นเฉพาะเว็บไซต์ ทีปรากฏคำทังสองคำ ่ ่ ้ เช่น Secondary + education ๑.๓ ใช้เครืองหมาย " " สำหรับการค้นหาคำทีเป็นวลี เช่น "great barrier reaf" ่ ่ การใช้ตรรกบูลน (Boolean Logic) ี เพือให้สามารถกำหนดการค้นหาทีแคบเข้ามา โดยใช้คำ AND OR NOT เข้าช่วยในการกำหนด ่ ่ คำค้น เพือให้สามารถค้นหาได้อย่างเฉพาะเจาะจงมากยิงขึน ่ ่ ้ ๑. การใช้ AND การกำหนดใช้ AND จะใช้เมือต้องการกำหนดให้คนรายการทีปรากฏคำทีมความเกียวข้อง ่ ้ ่ ่ ี ่ กัน ในรายการเดียวกัน เช่น water and soil การกำหนดแบบนีหมายความว่า ผลการค้นต้องการ คือเฉพาะ ้ รายการทีมคำว่า water และ soil เท่านัน หากรายการใดทีมแต่คำว่า water หรือ soil ไม่ตองการ ่ ี ้ ่ ี ้ ๒. การใช้คำว่า OR การใช้ OR เป็นการขยายคำค้น โดยกำหนดคำหลายทีเห็นว่ามีความหามายคล้ายกันหรือ ่ สามารถสะกดได้หลายแบบ
  • 3. จุลสาร สวพ.ทร. 42 ๓. การใช้ NOT การใช้ NOT จะใช้ในเมือต้องการจำกัดการค้นเข้ามา คือไม่ตองการรายการทีมเนือหา ่ ้ ่ ี ้ ส่วนทีไม่ตองการปรากฏอยู่ โดยกำหนดให้ตดคำทีไม่ตองการออกเช่น water not soil ่ ้ ั ่ ้ การกำหนดคำแบบนี้ หมายถึง ๑. ให้คนหารายการทีมคำว่า water แต่หากรายการใดมีคำว่า soil อยูดวย ไม่ตองการ ้ ่ ี ่ ้ ้ ๒. ผลสืบค้นทีได้ทกรายการทีมคำว่า water และหากมีคำว่า Soil ให้คดออกทุกรายการ ่ ุ ่ ี ั เทคนิคการค้นหาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ บีบประเด็นให้แคบลง หัวข้อเรืองทีตองการค้นหาต้องพยายามบีบประเด็นให้แคบลงเช่น ่ ่ ้ หากต้องการค้นหาข้อมูลเกียวกับคอมพิวเตอร์ ซึงอาจจะหาโดยใช้ ่ ่ คำว่า คอมพิวเตอร์ หรือ Computer นี้ค้นหา เพื่อลองดูเนื้อหา กว้างๆ เกียวกับคอมพิวเตอร์ ว่ามีเรืองใดบ้าง จากนันก็บบหัวข้อ ่ ่ ้ ี เรืองลง โดยอาจจะเลือกจากหัวข้อทีเว็บไซต์นนจัดทำ หรืออาจจะ ่ ่ ้ั พิมพ์ขอความเพือค้นหาอีกครัง ้ ่ ้ การใช้คำทีใกล้เคียง ่ ควรค้นหาคำทีมความหมายใกล้เคียงกับคำทีกำลังค้นหาด้วย เช่น ่ ี ่ หากต้องการค้นเรื่องเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Computer คำที่เกี่ยว ข้องทีสามารถใช้คนหาได้ คือ technology, IT เป็นต้น ่ ้ การใช้คำหลัก (Keyword) คำหลัก (Keyword) หมายถึงคำหรือข้อความทีเราจะนึกถึงเว็บไซต์ ่ นั้นเมื่อเอ่ยถึง เช่น สสวท. เรามักจะนึกถึงเว็บไซต์ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี http://www.ipst. ac.th หรือ schoolnet เราจะนึกถึงเว็บไซต์เครือข่ายโรงเรียนไทย http://www.school.net.th หลีกเลียงการใช้ตวเลข ่ ั พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มี ตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคำพูด (" ") ลงไปด้วย เช่น "windows 98"
  • 4. จุลสาร สวพ.ทร. 43 ใช้เครืองหมายบวกและลบช่วย ่ ใช้เครืองหมาย + และ - เพือช่วยในการค้นหา โดย + เพือใช้กบ ่ ่ ่ ั คำทีคณต้องการใช้ในการค้นหา และ - เพือใช้กบคำทีไม่ตองการ ่ ุ ่ ั ่ ้ ใช้ในการค้นหา เครืองหมาย "+" หมายถึง การระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้อง ่ มีคำนั้นปรากฎอยู่ในหน้าเว็บเพจ ข้อควรระวังคือ เราจะต้องใช้ เครืองหมายบวกติดกับคำหลักนันเสมอ ห้าม มีชองว่างระหว่าง ่ ้ ่ เครืองหมายบวกกับคำหลัก เช่น +เศรษฐกิจ +การเมือง หมายถึง ่ หน้าเว็บเพจทีพบจะต้องปรากฎคำว่า "เศรษฐกิจ" และ"การเมือง" ่ อยูในหน้าเดียวกันทังสองคำ หรือ +เศรษฐกิจ การเมือง สังเกต ่ ้ เห็นว่าทีคำว่า "การเมือง" ไม่ปรากฏ เครืองหมายบวก "+" อยู่ ่ ่ ข้างหน้า เหมือนตัวอย่างบน หมายถึงการค้นหาหน้าเอกสาร เว็บเพจที่จะต้องปรากฏ คำว่า "เศรษฐกิจ" โดยในหน้าเอกสาร นันอาจจะปรากฏหรือไม่ปรากฏคำว่า "การเมือง" ก็ได้ ้ เครื่องหมายลบ "-" หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการ ค้นหาต้องไม่ปรากฎคำนัน อยูในหน้าเว็บเพจ เช่น ้ ่ โรงแรม -รีสอร์ท หมายถึง หน้าเว็บเพจนันต้องมีคำว่า โรงแรม ้ แต่ตองไม่ปรากฎคำว่า รีสอร์ท อยู่ ้ โดยการใช้งานต้องอยู่ในรูปของ A -B หรือ +A -B โดย A และ B เป็นคำหลักทีตองการค้นหา ่ ้ ตัวอย่าง +มะม่วง-มะม่วงอกร่อง-มะม่วงน้ำดอกไม้หมายถึง หน้าเว็บเพจทีพบจะต้องปรากฎคำว่า "มะม่วง" แต่ตองไม่ปรากฎ ่ ้ คำว่า "มะม่วงอกร่อง" และ "มะม่วงน้ำดอกไม้" อยูในหน้าเดียว ่ หลีกเลียงภาษาพูด ่ หลีกเลี่ยงคำประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำ หรือข้อความทีเป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรุปเป็นเพียง ่ กลุมคำหรือวลี ทีมความหมายรวมทังหมดไว้ ่ ่ ี ้ Advanced Search อย่าลืมที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยได้มาก ใน การบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทำให้ได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละ เว็บ จะมี ปุ่ม help หรือ Site map ไว้คอยช่วยเหลือคุณ แต่คน ส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/site map จะมีประโยชน์มาก ในการอธิบาย option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละ เว็บไซต์
  • 5. จุลสาร สวพ.ทร. 44 Search Engine ทีได้รบความนิยมในปัจจุบน ได้แก่ ่ ั ั Yahoo (http://www.yahoo.com) Yahoo ช่วยให้หาข้อมูล ได้งายขึนโดยแบ่งเป็น หมวดหมูแบบ Directory หรือ Catalog ่ ้ ่ AltaVista (http://www.altavista.com) AltaVista เป็น Search Engine ทีแท้จริง จะค้นหา ทุกคำ ในเอกสารทุกหน้าเพือตอบสนองความ ่ ่ ต้องการในการสืบค้นของผูใช้ให้มากทีสด ้ ุ่ MetaCrawler (http://www.metacrawler.com) เป็น Meta Search Engine ทีสามารถค้นหาข้อมูลได้หลากหลาย โดยอาศัย Search Engine ่ หลาย ๆ ตัว Search Engine ภาษาไทย Catcha (http://www.catcha.co.th) ให้บริการค้นหาข้อมูลภาษาไทยในลักษณะของ Directory SiamGuru (http://www.siamguru.com) ให้บริการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ เป็นภาษาไทยสามารถใช้เครืองหมาย Boolean เช่น AND , ่ OR ในการค้นหาได้ดี ThaiFind (http://www.thaifind.com) ThaiFind เป็น Search Engine ในลักษณะ Meta Search ทีเป็นภาษาไทย ่ *********************************