SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ความหมายของการสื่อสาร
การสื่อสาร (communication) หมายถึง “กระบวนการถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร และเรื่องราว
ต่าง ๆ จากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสารโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ในสภาพแวดล้อมหนึ่ง ๆ จนเกิดการ
เรียนรู้ความหมายในสิ่งที่ถ่ายทอดร่วมกันและตอบสนองต่อกันได้ตรงตามเจตนาของทั้งสองฝ่าย
ซึ่งอาจจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลและการสื่อสารขององค์กร”
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
การสื่อสารเป็นกลยุทธ์หรือกระบวนการหรือเครื่องมือที่จะนาไปสู่ความเข้าใจในการ
ติดต่อและการทางานร่วมกันของบุคคลในองค์กรเพื่อบรรลุเป้าหมาย แต่หากไม่เรียนรู้และเข้า
ใจความต้องการของตนเอง ไม่เข้าใจผู้อื่นแล้วไม่ว่าจะมีกระบวนการสื่อสารที่ดีและมีอุปกรณ์
สื่อสารที่ทันสมัยเพียงใดก็ไร้คุณค่า (วิโรจน์ โสวัณนะ. 2545 : 95)นอกจากนี้การสื่อสารจาเป็น
จะต้องเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เมื่อบุคคลมีความแตกต่างกันการสื่อสารที่ดีจะต้องใช้
ความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีควบคู่กันไปด้วยจึงจะทาให้การสื่อสารนั้นประสบผลสาเร็จ
การเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร (improving organizational
communication)
ผู้บริหารของทุกองค์กรมีหน้าที่สาคัญประการหนึ่ง คือ การจัดระบบการสื่อสาร
ตลอดจนการไหลของข้อมูลข่าวสารในองค์กรและลดความผิดพลาดหรืออุปสรรคในการ
สื่อสาร ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธีสรุปได้ดังนี้ (Szilagyi & Wakkace. 1990 : 502–
504. อ้างอิงมาจาก วันชัย มีชาติ. 2548 : 152–154))
1. การติดตามผลและให้ข้อมูลย้อนกลับ (follow–up and feed back) เป็นวิธีการ
ที่ใช้ในการตรวจสอบข้อมูลที่ส่งไปว่าผู้รับเข้าใจตรงกับผู้ส่งเพียงไร วิธีการนี้จะทาให้กระบวนการ
สื่อสารเป็นแบบ two–way ซึ่งอาจเกิดขึ้นในการพบปะกันหรือหากเป็นการใช้เอกสารติดตามผล
และข้อมูลย้อนกลับอาจตรวจสอบได้จากการโต้ตอบ การแสดงออกของผู้รับสารจะทาไห้เราทราบ
ว่าการสื่อสารมีความถูกต้องเพียงไร
2. การใช้การสื่อสารหลายวิธี (parallel channels and repetition) การใช้
วิธีการสื่อสารและช่องทางการสื่อสารหลายวิธีทาให้การติดต่อสื่อสารมีความถูกต้องยิ่งขึ้น เช่น มี
การสั่งการด้วยเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว และยังมีการประชุมและสั่งการด้วยวาจาและใช้
โอกาสพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการด้วย ก็จะทาให้การสื่อสารถูกต้องมากยิ่งขึ้น
3. ระยะเวลา (timing) ปัญหาด้านระยะเวลาเป็นสาเหตุหนึ่งของการสื่อสารที่
เบี่ยงเบนไปทั้งในแง่ของความกดดันด้านเวลาและความไม่เหมาะสม ในการสื่อสารเวลาหนึ่ง ๆ
องค์กรและกลุ่มอาจกาหนด มาตรฐานด้านเวลาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เช่น ระบุไว้ล่วงหน้าว่า
จะทางานหนึ่งให้เสร็จเมื่อใดเพื่อเป็นเกณฑ์ในการจัดแบ่งเวลาและติดต่อระหว่างกันในการรายงาน
และสั่งการในองค์กร นอกจากนี้ยังต้องแยกระหว่างงานประจากับงานจรซึ่งจะช่วยลดแรงกดดัน
ด้านเวลาอันจะทาให้การสื่อสารมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
4. ให้ความสนใจกับภาษา (attention to language) ในการสื่อสารนั้น การ
เลือกใช้ศัพท์ ระดับของคา และความหมายของคา เป็นวิธีการหนึ่งที่จะลดความผิดพลาดในการ
สื่อสารได้ การเลือกใช้คาและระดับของภาษานี้จะเกี่ยวข้องกับการทาความเข้าใจกับผู้ที่เราจะ
สื่อสารด้วยว่าควรจะใช้ภาษาในระดับใด
5. ศูนย์กลางข้อมูล (information communication and information
centers) การสื่อสารโดยวิธีการนี้จะเป็นการสื่อสารที่รวดเร็วและยืดหยุ่น และมีความถูกต้องของ
ข้อมูลมาก ซึ่งองค์กรอาจใช้ศูนย์กลางข้อมูลเป็นแหล่งกระจายข่าวโดยไม่ผ่านช่องทางที่เป็น
ทางการขององค์กรก็อาจจะทาให้การสื่อสารมีความถูกต้องและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
6. การให้รู้เท่าที่จาเป็น (the exception principle and the need to
know) เป็นการวางระบบในการ สื่อสารในองค์กรให้มีการสื่อสารในกรณีพิเศษและให้มีการรับ
ข้อมูลเฉพาะที่จาเป็น โดยการเสนอข้อมูลไปยังฝ่ายบริหารเฉพาะที่ฝ่ายบริหารต้องการ ใน
ขณะเดียวกันฝ่ายบริหารก็ให้ข้อมูลหรือสื่อสารกับพนักงานเฉพาะสิ่งที่พนักงานจาเป็นต้องรู้
เท่านั้น ซึ่งจะทาให้การสื่อสารไม่มีข้อมูลมากเกินไป วิธีการนี้จะเหมาะกับองค์กรที่มีสายการบังคับ
บัญชาสูง
7. การใช้ธรรมเนียมปฏิบัติในการสื่อสาร (communication etiquette) เป็น
ความพยายามที่จะวางระบบในการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร เช่น โทรสาร ให้ใช้
สื่อสารเฉพาะในเรื่องที่จาเป็นและเร่งด่วน ซึ่งการใช้เครื่องมือโดยไม่จาเป็นอาจจะทาให้การ
สื่อสารผิดพลาดหรือมีมากเกินความจาเป็น การสร้างธรรมเนียมปฏิบัติที่เหมาะสมจึงเป็นการเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการสื่อสารได้
8. การฟังอย่างตั้งใจ (listen actively) เป็นการลดความผิดพลาดจากการสื่อสาร
การตั้งใจฟังจะทาให้ข้อมูลที่ผู้ส่งสารต้องการจะส่งถึงผู้รับสารครบถ้วน ในขณะเดียวกันการฟัง
อย่างตั้งใจนั้นผู้รับสารสามารถคิดต่อและไตร่ตรองสิ่งที่ได้ฟังและอาจมีการสอบถามหรือทาความ
เข้าใจข้อมูลข่าวสารได้มากขึ้น นอกจากนี้การฟังอย่างตั้งใจจะทาให้เกิดความรู้สึกที่ดีระหว่างผู้ที่
สื่อสารและเกิดการยอมรับกัน ซึ่งจะเป็นการพัฒนาระบบความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรภายใน
องค์กรตามมาด้วย
บทสรุป
จาก หลักการเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร (improving organizational
communication)ทั้ง 8 ประการ ดังที่กล่าวมาข้างต้นนี้ น่าจะเป็นแนวทาง ของ “การสื่อสารที่
ดี” ภายในองค์กรได้ ซึ่งก็หวังว่าเราจะสามารถนาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในองค์กรของเรา
ได้ เพราะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพที่สุด คือ การสื่อสารที่เข้าใจง่าย ใช้วิสัยทัศน์ที่ชัดเจนใน
การกระตุ้นพลังในการทางานและเพิ่มประสิทธิผลของบุคลากรในองค์กรเพื่อให้สามารถร่วมกัน
นาพาองค์กรไปสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายได้อย่างสูงสุด อันจะมีผลให้เกิดความเข้าใจ ความ
ร่วมมือ และการประสานงานที่ดี ด้วยแผนงานต่าง ๆ ที่จะนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และตรงตามเป้าหมาย การสื่อสารที่ดีจึงเป็นกลยุทธ์ที่จะสามารถกระตุ้นให้เกิด
การปฏิบัติที่มี ประสิทธิภาพและเกิดผลสาเร็จแก่องค์กร ก็ขออวยพรให้ทุกองค์กรประสบ
ผลสาเร็จในการนาพาองค์กรให้พัฒนาและก้าวไปในทิศทาง หรือเป้าหมายที่วางไว้โดยเร็วนะ
คะ……

More Related Content

Viewers also liked

อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4peter dontoom
 
หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์peter dontoom
 
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายเฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายpeter dontoom
 
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมpeter dontoom
 
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศนบทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศนpeter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์peter dontoom
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมายpeter dontoom
 
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นวิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นpeter dontoom
 
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธเฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธpeter dontoom
 

Viewers also liked (15)

ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4
 
หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์หลักการเขียนภาพสัตว์
หลักการเขียนภาพสัตว์
 
Chap4
Chap4Chap4
Chap4
 
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายเฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
 
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศนบทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
Chap6
Chap6Chap6
Chap6
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
 
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นวิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
 
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธเฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
 

Similar to ความหมายของการสื่อสาร

9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926CUPress
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์pui003
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรtanongsak
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflinePalmFailasan
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บJirawat Fishingclub
 
9789740333203
97897403332039789740333203
9789740333203CUPress
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กPhanudet Senounjan
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 

Similar to ความหมายของการสื่อสาร (20)

9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กร
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
Pr Community Recreation
Pr Community RecreationPr Community Recreation
Pr Community Recreation
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & Offline
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
Media reform
Media reformMedia reform
Media reform
 
Atittaya
AtittayaAtittaya
Atittaya
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บ
 
เน อหา ว_จ_ย
เน  อหา ว_จ_ยเน  อหา ว_จ_ย
เน อหา ว_จ_ย
 
9789740333203
97897403332039789740333203
9789740333203
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
Ois lc2 2
Ois lc2 2Ois lc2 2
Ois lc2 2
 
Information service and dissemination
Information service and disseminationInformation service and dissemination
Information service and dissemination
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
Maruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forumMaruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forum
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

ความหมายของการสื่อสาร

  • 1. ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสาร (communication) หมายถึง “กระบวนการถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร และเรื่องราว ต่าง ๆ จากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสารโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ในสภาพแวดล้อมหนึ่ง ๆ จนเกิดการ เรียนรู้ความหมายในสิ่งที่ถ่ายทอดร่วมกันและตอบสนองต่อกันได้ตรงตามเจตนาของทั้งสองฝ่าย ซึ่งอาจจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลและการสื่อสารขององค์กร” การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารเป็นกลยุทธ์หรือกระบวนการหรือเครื่องมือที่จะนาไปสู่ความเข้าใจในการ ติดต่อและการทางานร่วมกันของบุคคลในองค์กรเพื่อบรรลุเป้าหมาย แต่หากไม่เรียนรู้และเข้า ใจความต้องการของตนเอง ไม่เข้าใจผู้อื่นแล้วไม่ว่าจะมีกระบวนการสื่อสารที่ดีและมีอุปกรณ์ สื่อสารที่ทันสมัยเพียงใดก็ไร้คุณค่า (วิโรจน์ โสวัณนะ. 2545 : 95)นอกจากนี้การสื่อสารจาเป็น จะต้องเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เมื่อบุคคลมีความแตกต่างกันการสื่อสารที่ดีจะต้องใช้ ความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีควบคู่กันไปด้วยจึงจะทาให้การสื่อสารนั้นประสบผลสาเร็จ การเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร (improving organizational communication) ผู้บริหารของทุกองค์กรมีหน้าที่สาคัญประการหนึ่ง คือ การจัดระบบการสื่อสาร ตลอดจนการไหลของข้อมูลข่าวสารในองค์กรและลดความผิดพลาดหรืออุปสรรคในการ สื่อสาร ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธีสรุปได้ดังนี้ (Szilagyi & Wakkace. 1990 : 502– 504. อ้างอิงมาจาก วันชัย มีชาติ. 2548 : 152–154)) 1. การติดตามผลและให้ข้อมูลย้อนกลับ (follow–up and feed back) เป็นวิธีการ ที่ใช้ในการตรวจสอบข้อมูลที่ส่งไปว่าผู้รับเข้าใจตรงกับผู้ส่งเพียงไร วิธีการนี้จะทาให้กระบวนการ สื่อสารเป็นแบบ two–way ซึ่งอาจเกิดขึ้นในการพบปะกันหรือหากเป็นการใช้เอกสารติดตามผล และข้อมูลย้อนกลับอาจตรวจสอบได้จากการโต้ตอบ การแสดงออกของผู้รับสารจะทาไห้เราทราบ ว่าการสื่อสารมีความถูกต้องเพียงไร 2. การใช้การสื่อสารหลายวิธี (parallel channels and repetition) การใช้ วิธีการสื่อสารและช่องทางการสื่อสารหลายวิธีทาให้การติดต่อสื่อสารมีความถูกต้องยิ่งขึ้น เช่น มี การสั่งการด้วยเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว และยังมีการประชุมและสั่งการด้วยวาจาและใช้ โอกาสพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการด้วย ก็จะทาให้การสื่อสารถูกต้องมากยิ่งขึ้น
  • 2. 3. ระยะเวลา (timing) ปัญหาด้านระยะเวลาเป็นสาเหตุหนึ่งของการสื่อสารที่ เบี่ยงเบนไปทั้งในแง่ของความกดดันด้านเวลาและความไม่เหมาะสม ในการสื่อสารเวลาหนึ่ง ๆ องค์กรและกลุ่มอาจกาหนด มาตรฐานด้านเวลาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เช่น ระบุไว้ล่วงหน้าว่า จะทางานหนึ่งให้เสร็จเมื่อใดเพื่อเป็นเกณฑ์ในการจัดแบ่งเวลาและติดต่อระหว่างกันในการรายงาน และสั่งการในองค์กร นอกจากนี้ยังต้องแยกระหว่างงานประจากับงานจรซึ่งจะช่วยลดแรงกดดัน ด้านเวลาอันจะทาให้การสื่อสารมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น 4. ให้ความสนใจกับภาษา (attention to language) ในการสื่อสารนั้น การ เลือกใช้ศัพท์ ระดับของคา และความหมายของคา เป็นวิธีการหนึ่งที่จะลดความผิดพลาดในการ สื่อสารได้ การเลือกใช้คาและระดับของภาษานี้จะเกี่ยวข้องกับการทาความเข้าใจกับผู้ที่เราจะ สื่อสารด้วยว่าควรจะใช้ภาษาในระดับใด 5. ศูนย์กลางข้อมูล (information communication and information centers) การสื่อสารโดยวิธีการนี้จะเป็นการสื่อสารที่รวดเร็วและยืดหยุ่น และมีความถูกต้องของ ข้อมูลมาก ซึ่งองค์กรอาจใช้ศูนย์กลางข้อมูลเป็นแหล่งกระจายข่าวโดยไม่ผ่านช่องทางที่เป็น ทางการขององค์กรก็อาจจะทาให้การสื่อสารมีความถูกต้องและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 6. การให้รู้เท่าที่จาเป็น (the exception principle and the need to know) เป็นการวางระบบในการ สื่อสารในองค์กรให้มีการสื่อสารในกรณีพิเศษและให้มีการรับ ข้อมูลเฉพาะที่จาเป็น โดยการเสนอข้อมูลไปยังฝ่ายบริหารเฉพาะที่ฝ่ายบริหารต้องการ ใน ขณะเดียวกันฝ่ายบริหารก็ให้ข้อมูลหรือสื่อสารกับพนักงานเฉพาะสิ่งที่พนักงานจาเป็นต้องรู้ เท่านั้น ซึ่งจะทาให้การสื่อสารไม่มีข้อมูลมากเกินไป วิธีการนี้จะเหมาะกับองค์กรที่มีสายการบังคับ บัญชาสูง 7. การใช้ธรรมเนียมปฏิบัติในการสื่อสาร (communication etiquette) เป็น ความพยายามที่จะวางระบบในการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร เช่น โทรสาร ให้ใช้ สื่อสารเฉพาะในเรื่องที่จาเป็นและเร่งด่วน ซึ่งการใช้เครื่องมือโดยไม่จาเป็นอาจจะทาให้การ สื่อสารผิดพลาดหรือมีมากเกินความจาเป็น การสร้างธรรมเนียมปฏิบัติที่เหมาะสมจึงเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการสื่อสารได้ 8. การฟังอย่างตั้งใจ (listen actively) เป็นการลดความผิดพลาดจากการสื่อสาร การตั้งใจฟังจะทาให้ข้อมูลที่ผู้ส่งสารต้องการจะส่งถึงผู้รับสารครบถ้วน ในขณะเดียวกันการฟัง อย่างตั้งใจนั้นผู้รับสารสามารถคิดต่อและไตร่ตรองสิ่งที่ได้ฟังและอาจมีการสอบถามหรือทาความ เข้าใจข้อมูลข่าวสารได้มากขึ้น นอกจากนี้การฟังอย่างตั้งใจจะทาให้เกิดความรู้สึกที่ดีระหว่างผู้ที่ สื่อสารและเกิดการยอมรับกัน ซึ่งจะเป็นการพัฒนาระบบความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรภายใน องค์กรตามมาด้วย
  • 3. บทสรุป จาก หลักการเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร (improving organizational communication)ทั้ง 8 ประการ ดังที่กล่าวมาข้างต้นนี้ น่าจะเป็นแนวทาง ของ “การสื่อสารที่ ดี” ภายในองค์กรได้ ซึ่งก็หวังว่าเราจะสามารถนาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในองค์กรของเรา ได้ เพราะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพที่สุด คือ การสื่อสารที่เข้าใจง่าย ใช้วิสัยทัศน์ที่ชัดเจนใน การกระตุ้นพลังในการทางานและเพิ่มประสิทธิผลของบุคลากรในองค์กรเพื่อให้สามารถร่วมกัน นาพาองค์กรไปสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายได้อย่างสูงสุด อันจะมีผลให้เกิดความเข้าใจ ความ ร่วมมือ และการประสานงานที่ดี ด้วยแผนงานต่าง ๆ ที่จะนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และตรงตามเป้าหมาย การสื่อสารที่ดีจึงเป็นกลยุทธ์ที่จะสามารถกระตุ้นให้เกิด การปฏิบัติที่มี ประสิทธิภาพและเกิดผลสาเร็จแก่องค์กร ก็ขออวยพรให้ทุกองค์กรประสบ ผลสาเร็จในการนาพาองค์กรให้พัฒนาและก้าวไปในทิศทาง หรือเป้าหมายที่วางไว้โดยเร็วนะ คะ……