SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตทางพันธุวิศวกรรม
พันธุวิศวกรรม หมายถึง กระบวนการตัดต่อยีน
โดยวิธีการตัดเอายีนของสิ่งที่มีชีวิตหนึ่งใส่เข้าไป
ในยีนของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ทาให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มี
คุณลักษณะตามต้องการสิ่งมีชีวิตดังกล่าวเรียกว่า
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือจีเอ็มโอนั่นเอง
จีเอ็มโอหรือ GMOs ย่อมาจากคาว่า
Genetically ModifiedOrganisms
Genetic เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมหรือ
กรรมพันธุ์
Modify คือการดัดแปลง ตบแต่งเสียใหม่
Organism คือสิ่งที่มีชีวิต
สารพันธุกรรม เป็นองค์ประกอบหนึ่งหรือส่วนหนึ่งของ
สิ่งมีชีวิตทั้งหลายและกาหนดคุณลักษณะของสิ่งมีชีวิต
นั้นๆ
กรณีที่เป็นคน บางคนมีสารพันธุกรรมทาให้ผมหยิก หรือ
ผมสีดา หรือผมสีทอง
- กรณีที่เป็นสัตว์ เช่น หมาหลังอานก็จะมีสารพันธุกรรม
ที่ทาให้เขาเป็นพันธุ์หลังอานหรือพันธุ์ดุ
“พันธุวิศวกรรมหรือ Genetic Engineering”
พืชที่ได้จากการตัดแต่งพันธุกรรมจึง
เรียกว่า “พืชดัดแปลงพันธุกรรม หรือ GM Plant แต่
ในภายหลังอาจเรียก Biotech Plant”
การใช้ปืนยีน (gene gun) ยิงยีนที่เกาะอยู่บน
ผิวของอนุภาคของ ทองเข้าไปในไมโครโซมของพืช
โดยสรุป พืชจีเอ็มโอหรือพืชดัดแปลงพันธุกรรม คือพืชที่นักปรับปรุง
พันธุ์พืชใช้ประโยชน์จาก ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ที่เรียกว่าพันธุ
วิศวกรรมมาช่วยในการปรับปรุงพันธุ์พืชให้มีคุณสมบัติ ตามที่ต้องการ
โดยนาสารพันธุกรรม (Gene) ที่กากับหรือทาให้เกิดคุณสมบัติที่
ต้องการ ไปต่อเติมใน ระบบพันธุกรรมของพืชนั้น ๆ
ข้อดีของ
GMOs คือผลผลิตจากความก้าวหน้าของวิทยาการ
ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพและชีววิทยา
ระดับโมเลกุล (molecular biology) โดยเฉพาะ
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ ที่ได้พัฒนาอย่างรวดเร็วจนถึง
ระดับสูงมาก สิ่งที่เป็นแรงผลักดันให้นักวิทยาศาสตร์และ
สถาบันวิจัยทั่วโลก ทุ่มเทพลังความคิดและทุน
วิจัยจานวนมหาศาลเพื่อศาสตร์นี้ คือ ความมุ่งหมายที่จะ
พัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรโลก
ข้อเสียของ GMOs
เทคโนโลยี ทุกชนิดเมื่อมีข้อดีก็ย่อมมีข้อเสีย ในกรณี
ของ GMOs นั้นข้อเสียคือ มีความเสี่ยงและ
ความซับซ้อนใน การบริหารจัดการเพื่อให้มีความ
ปลอดภัยเพื่อให้เกิดประโยชน์มากกว่าโทษ แม้ว่า
ในขณะนี้ยังไม่มีรายงานว่ามี ผู้ใดได้รับอันตรายจาก
การบริโภคอาหาร
ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม
คุณสมบัติของพืชที่ทาให้ลดการใช้สารเคมี
การผลิตวัคซีน
ใช้ในการผลิตเนยแข็งผลทาให้ต้นทุน
การผลิตต่าลง วัตถุดิบที่มาจากภาคเกษตร เช่น
กากถั่วเหลือง อาหารสัตว์จึงมีราคาถูกลง
ประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม
สามารถป้ องกันศัตรูพืชได้เอง อัตราการใช้ สารเคมีเพื่อ ปราบศัตรูพืช
ก็จะลดน้อยลงจนถึงไม่ต้องใช้เลย ทาให้มีลดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
ที่เกิดขึ้น จากการใช้สารเคมี ปราบศัตรูพืช และลดอันตรายต่อ
เกษตรกรเองที่เกิดขึ้นจากพิษ ของการฉีดสารเหล่านั้นในปริมาณ มาก
(ยกเว้น บางกรณีเช่น พืชที่ต้านทานยาปราบวัชพืชที่ อาจมีโอกาสทา
ให้เกิดแนวโน้มในการใช้สารปราบการคัดเลือกให้มีโอกาสแสดงออก
ได้ในสิ่งมีชีวิต หลากหลายสายพันธุ์ มากขึ้น
ข้อเสียของ GMOs
กรดอะมิโน L-Tryptophan ของบริษัท Showa Denko ทาให้
ผู้บริโภคในสหรัฐเกิดอาการป่วยและล้มตายความกังวลที่ว่า DNA จาก
ไวรัสที่ใช้ในการทา GMOs อาจเป็นอันตราย เช่น การทดลองของ
Dr.Pusztai ที่ทดลองให้หนูกินมันฝรั่ง ดิบที่มี lectin และพบว่าหนูมีภูมิ
คุ้ม กันลดลง และมีอาการบวมผิดปกติของลาไส้การตบแต่งพันธุกรรมใน
สัตว์ปลอดภัยต่อผู้บริโภคหรือไม่? ในบางกรณี วัว หมู รวมทั้งสัตว์ชนิด
อื่นที่ได้รับ recombinant growth hormone อาจมีคุณภาพที่
แตกต่างไปจากธรรมชาติ และ/ หรือมีสารตกค้างหรือไม่
1. สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically modified organisms หรือ GMOs)
คืออะไร
………………………………………………………………………………………………
……………………………………
2. ข้อดีและข้อเสียของการดัดแปลงพันธุกรรมพืชเป็นอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
แบบทดสอบ

More Related Content

Viewers also liked

องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์peter dontoom
 
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาตการละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาตpeter dontoom
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4peter dontoom
 
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมpeter dontoom
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารpeter dontoom
 
วันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงวันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงpeter dontoom
 
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายเฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายpeter dontoom
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมายpeter dontoom
 
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นวิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นpeter dontoom
 
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธเฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธpeter dontoom
 

Viewers also liked (14)

องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาตการละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
การละเมิดสิทธิทรัพยากรธรรมชาต
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4
 
Chap4
Chap4Chap4
Chap4
 
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อมแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ สิ่งแวดล้อม
 
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสารความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
 
วันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงวันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริง
 
Chap6
Chap6Chap6
Chap6
 
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลายเฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
เฉลยเทคโนชีวะภาพ ปลาย
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
 
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้นวิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
วิชาภาษาอังกฤษอ่าน–เขียน พต22001 ม.ต้น
 
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธเฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
เฉลย อังกฤษอ่านเขียนวันที่ 21 ธ
 

Similar to บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน

Similar to บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน (9)

Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmo คืออะไร
Gmo คืออะไรGmo คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmos2
Gmos2Gmos2
Gmos2
 
Gmos2
Gmos2Gmos2
Gmos2
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

บทที่ 3 การสร้างและดัดแปลงสิ่งมีชีวิตกศน