SlideShare a Scribd company logo
Search Engine คืออะไร




       กลับมาพูดถึงกันอีกครั้งกับ Search Engine?คืออะไร?อัน
ที่จริงแล้วนี่ ผมตั้งใจจะเขียนเรื่องนี้มานานมากแล้ว แต่ว่าข้อมูลไม่
เพียงพอก็เลยไม่ได้ออนไลน์ให้กับหลาย ๆ ท่านได้อ่านกันหนะครับ
วันนี้ได้โอกาส ก็เลยจะมานั่งหาข้อมูลและเขียนให้จบไปสักตอน
ก่อนก็ยังดีเพื่อเป็นการเจาะลึกเนื้อหาและข้อมูลเกี่ยวกับ “Search
Engine คืออะไร” และรายละเอียดต่าง ๆ ของ Search Engine
เพื่อเป็นข้อมูลให้หลาย ๆ ท่านทียังไม่ทราบ หรือ กำาลังหาข้อมูลจะ
                                   ่
ได้นำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ผมก็เลยได้พยายามรวบรวมข้อมูลต่าง
ๆ จากหลายแห่ง เพื่อจะนำามาเขียนบทความชุดนี้

Search Engine คืออะไร ?

Search Engine คือ เครื่องมือการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
ทีทุกคนสามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้ โดย
  ่
กรอก ข้อมูลที่ต้องการค้นหา หรือ Keyword (คีเวิร์ด) เข้าไปที่ช่อง
Search Box แล้วกด Enter แค่นี้ข้อมูลที่เราค้นหาก็จะถูก
แสดงออกมาอย่างมากมายก่ายกอง เพื่อให้เราเลือกข้อมูลที่เรา
โดนใจที่สุดเอามาใช้ งาน โดยลักษณะการแสดงผลของ Search
Engine นั้นจะทำาการแสดงผลแบบ เรียงอันดับ Search Results
ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของเรา

Search Engine มีกี่ประเภท ?

      Search Engine มี?3?ประเภท (ในวันทีทำาการศึกษา
                                             ่
ข้อมูลนี้และได้ทำาการรวบรวมข้อมูล ผมสรุปได้?3 ประเภทหลัก)
โดยมีหลักการทำางานที่ต่างกัน และ การจัดอันดับการค้นหาข้อมูลก็
ต่างกันด้วยครับ เพราะมีลักษณะการทำางานที่ต่างกันนี่เองทำาให้
โดยทัว ๆ ไปแล้วจะมีการแบ่งออกเป็นหลาย ๆ ประเภทด้วยกัน แต่
      ่
ที่พอสรุปได้ก็มีเพียง?3 ประเภทหลัก ๆ ดังที่จะนำาเสนอต่อไปนี้ครับ

     ประเภทที่ 1 Crawler Based Search Engines

           Crawler Based Search Engines คือ เครื่องมือ
การค้นหาบนอินเตอร์เน็ตแบบอาศัยการบันทึกข้อมูล และ จัดเก็บ
ข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งจะเป็นจำาพวก Search Engine ที่ได้รบความ
                                                     ั
นิยมสูงสุด เนื่องจากให้ผลการค้นหาแม่นยำาที่สุด และการประมวล
ผลการค้นหาสามารถทำาได้อย่างรวดเร็ว จึงทำาให้มีบทบาทในการ
ค้นหาข้อมูลมากที่สุดในปัจจุบัน

โดยมีองประกอบหลักเพียง 2 ส่วนด้วยกันคือ
      1. ฐานข้อมูล โดยส่วนใหญ่แล้ว Crawler Based Search
Engine เหล่านี้จะมีฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง ทีมีระบบการประมวล
                                                ่
ผล และ การจัดอันดับที่เฉพาะ เป็นเอกลักษณ์ของตนเองอย่างมาก
      2. ซอฟแวร์ คือเครื่องมือหลักสำาคัญที่สุดอีกส่วนหนึ่งสำาหรับ
Serch Engine ประเภทนี้ เนื่องจากต้องอาศัยโปรแกรมเล็ก ๆ (
ชนิดที่เรียกว่า จิ๋วแต่แจ๋ว) ทำาหน้าที่ในการตรวจหา และ ทำาการจัด
เก็บข้อมูล หน้าเพจ หรือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ในรูปแบบของการทำา
สำาเนาข้อมูล เหมือนกับต้นฉบับทุกอย่าง ซึ่งเราจะรู้จักกันในนาม
Spider หรือ Web Crawler หรือ Search Engine Robots
ตัวอย่างหนึงของ Crawler Based Search Engine ชื่อดัง http://
            ่
www.google.com




     Crawler Based Search Engine ได้แก่อะไรบ้าง
จะยกตัวอย่างคร่าว ๆ ให้ได้เห็นกันเอาแบบที่เรา ๆ ท่าน
ๆ รู้จักหนะครับก็ได้แก่? Google , Yahoo, MSN, Live,
Search, Technorati (สำาหรับ blog)?ครับ ส่วนลักษณะการ
ทำางาน และ การเก็บข้อมูงของ Web Crawler หรือ Robot หรือ
Spider นั้นแต่ละแห่งจะมีวิธีการเก็บข้อมูล และ การจัดอันดับ
ข้อมูลที่ต่างกันนะครับ เช่น คุณทำาการค้นหาคำาว่า “Search
Engine คืออะไร” ผ่านทั้ง 5 แห่งที่ผมให้ไว้จะได้ผลการค้นหาที่
ต่างกันครับ




ประเภทที่ 2 Web Directory หรือ Blog Directory

      Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญ
เว็บไซต์ทให้คุณสามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสาร
           ี่
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลือง
ครับ ซึ่งจะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่ อย่างชัดเจน ซึ่ง
จะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการ
เปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล
เพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blog มากมายที่มีเนื้อหาคล้าย
ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลได้ อย่างตรง
ประเด็นที่สุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ซึ่งผมจะขอยก
ตัวอย่างดังนี้
ODP Web Directory ชื่อดังของโลก ที่มี Search Engine
มากมายใช้เป็นฐานข้อมูล Directory 1.? ODP หรือ Dmoz ที่
หลาย?ๆ คนรู้จัก ซึ่งเป็น Web Directory ทีใหญ่ที่สุดในโลก
                                         ่
Search Engine หลาย ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากทีแห่งนี้เกือบทั้งสิ้น
                                           ่
เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอื่น ๆ อีกมากมาย
ODP มีการบันทึกข้อมูลประมาณ 80 ภาษาทั่วโลก รวมถึงภาษา
ไทยเราด้วยครับ (URL : http://www.dmoz.org )

     2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ที่มีชื่อ
เสียงอีกเช่นกัน และเป็นทีรู้จักมากที่สุดในเมืองไทย (URL :
                         ่
http://webindex.sanook.com )

3. Blog Directory อย่าง BlogFlux Directory ทีมีการเก็บข้อมูล
                                             ่
เกี่ยวกับบล็อกมากมายตามหมวดหมู่ต่าง ๆ หรือ Blog Directory
อื่น ๆ ที่สามารถหาได้จาก Make Many แห่งนี้ครับ

ประเภทที่ 3 Meta Search Engine

Meta Search Engine คือ Search Engine ทีใช้หลักการในการ
                                       ่
ค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษา HTML ซึ่งมีการประกาศชุด
คำาสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML นั่นเอง
เช่น ชื่อผู้พัฒนา คำาค้นหา เจ้าของเว็บ หรือ บล็อก คำาอธิบายเว็บ
หรือบล็อกอย่างย่อ

ผลการค้นหาของ Meta Search Engine นี้มักไม่แม่นยำาอย่างที่คิด
เนื่องจากบางครั้งผู้ให้บริการหรือ ผู้ออกแบบเว็บสามารถใส่อะไร
เข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเว็บ หรือ บล็อก
ของตนเอง และ อีกประการหนึ่งก็คือ มีการอาศัย Search Engine
Index Server หลาย?ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทำาให้ผลการ
ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร.

มาถึงตอนนี้หลาย ๆ ท่านที่เคยสงสัยว่า “Search Engine คือ
อะไร” คงได้หายสงสัยกันไปบ้างแล้วและเริ่มเข้าใจหลักการทำางาน
ของ Search Engine กันมากขึ้น เพื่อจะได้เลือกใช้อย่างถูกต้อง
และตรงกับความต้องการของเราในการค้นหาข่าวสารข้อมูล สำาหรับ
บทความ “Search Engine คืออะไร” นี้หากขาดตกบกพร่อง
ประการใด หรือ ไม่ได้รบข้อมูลที่ชัดเจนท่านสามารถติชม หรือ ให้
                       ั
ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ผ่าน Comments ของบทความชุดนี้เพื่อจะได้
ทำาการปรับปรุงและแก้ไขให้ได้ข้อมูลที่ดีที่สุดและ เป็นประโยชน์
สำาหรับ ผูที่ทำาการค้นคว้างข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำาไปใช้งาน.
          ้

สิทธิศักดิ์? บุญมาก
เขียน 30-09-2006

ข้อมูลอ้างอิง
http://www.it-guides.com/lesson/search_engine_01.html
http://www.nectec.or.th/courseware/internet/web-
tech/0021.html
http://gotoknow.org/blog/bow
http://truehits.net/faq/f_stat.php
http://www.keng.com/?p=64

ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ชาว SEO ใน http://www.seo.in.th
ทุกท่านที่ใด้ให้ความรู้ต่าง ๆ จนสามารถเขียนบทความนี้ได้
สำาเร็จลุลวงไปด้วยดี.
          ่
ก ารค้นหาข้อมูลด้วยเว็บไซต์ค้นหานั้น เพื่อให้ขอบข่าย
ของการค้นหาแคบเข้า สามารถค้นหาได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น จะต้อง
ใช้เว็บไซต์การค้นหาเข้าช่วย เช่น




การค้นหาข้อมูลด้วย Basic Search จากเว็บไซต์
www.siamguru.com
Basic Search คือ เครื่องมือในการค้นหาว็บไซต์ ทำา
หน้าที่ในการให้บริการค้นหาข้อมูล (Search Engine) โดยเน้น
เรื่องความสามารถในการค้นหาข้อมูลภาษาไทยบนอินเทอร์เน็ต มี
ความสามารถเทียบเท่าเสิร์ชเอ็นจิ้นชื่อดังจากต่างประเทศ โดยการ
ค้นหาจะเป็นแบบค้นหาข้อมูลจากทุกคำาของข้อมูลจริง (Full Text
Search) ทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษจากเว็บเพจจำานวนหลาย
แสนหน้า มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเว็บเพจที่เกี่ยวข้องกับ
ประเทศไทยมาจัดทำาดัชนี (index) โดยอัตโนมัติ ผสมกับการจัด
แยกหมวดหมูอย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้
               ่
ง่ายและรวดเร็วมากที่สุด
          เว็ บ ไซต์ www.siamguru.com แบ่งการค้นหาเป็น 4
รูปแบบคือ

     ค้ น หาเว็ บ ไซต์ (Basic Search) เหมาะสำาหรับผู้ที่ใช้อิน
      เทอร์เน็ตทั่วๆ ไปที่ยังไม่มีความรู้มากนัก
     ค้ น หาเว็ บ ไซต์ แ บบซู เ ปอรเสิ ร ์ ช (Super Search) เป็น
      บริการสืบค้นข้อมูลแบบมีเงื่อนไข สำาหรับการค้นหาที่มีการ
      เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น
     ค้ น หาเพลง (Music Search) บริการค้นหาเพลง , เนื้อ
      ร้อง จากเว็บเพจต่างๆ โดยสามารถค้นหาได้จากชื่อเพลง ชื่อ
      นักร้อง ชื่ออัลบั้ม หรือ คำาร้องจากท่อนใดท่อนหนึ่งก็ได้
     ค้ น หารู ป ภาพ (Image Search) บริการค้นหา ภาพถ่าย
      ภาพกราฟฟิก ภาพการ์ตูน




           คำาแนะนำาในการใช้ Basic Search



  •   ช่ อ งค้ น หา เป็นช่องป้อนข้อความที่เป็นเงื่อนไข สำาหรับ
      กำาหนดคำา/ข้อความที่เป็นเงื่อนไขในการค้นหา
  •   คำ า แนะนำ า พร้ อ มตั ว อย่ า งการใช้ ง าน เป็นข้อความที่อยู่
      ภายใต้ช่องค้นหา เพื่อแนะนำาการใช้งาน Search Engine
      อย่างง่าย พร้อมตัวอย่างการใช้งาน
  •   ปุ ่ ม "Go" ปุ่มสำาหรับสั่งให้ทำาการค้นหา
การค้นหาด้วย Super Search

         Super Search เป็นเครื่องมือค้นหาข้อมูลใน
อินเทอร์เน็ตอีกประเภทหนึ่ง เหมาะสำาหรับผู้ที่คุ้นเคยกับ Basic
Search อยู่แล้ว แต่ตองการค้นหาข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตรงความ
                     ้
ต้องการมากขึ้นกว่าที่จะสามารถทำาได้ใน Basic Search ด้วยวิธี
การสร้างเงื่อนไขการค้นหาขึ้น ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ที่น่าพอใจกว่าใน
Basic Search ในขณะเดียวกันการค้นหาแบบ Super Search
ก็จะมีความซับซ้อนในการใช้งานด้วยเช่นกัน


  •   ข้ อ ความแบบมี เ งื ่ อ นไข เป็นช่องสำาหรับกำาหนดข้อความที่
      เป็นเงื่อนไขในการค้นหา
  •   เสี ย งคล้ า ย เป็นช่องระบุว่าต้องการคำาที่ออกเสียงคล้ายคลึง
      กันได้
  •   คำ า แนะนำ า พร้ อ มตั ว อย่ า งการใช้ ง าน เป็นข้อความที่อยู่
      ภายใต้ช่องค้นหา เพื่อแนะนำาการใช้งาน Search Engine
      อย่างง่าย พร้อมตัวอย่างการใช้งาน
  •   ปุ ่ ม "Go" ปุ่มสำาหรับสั่งให้ทำาการค้นหา

เงื่อนไขที่ใช้ใน Super Search

     การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "AND"
      รู ป แบบการใช้ ง าน : A and B โดย A , B เป็น คำาหลัก
      (Keywords)
      อธิ บ าย : เราใช้เงื่อนไข "and" ก็ต่อเมื่อ ต้องการให้ปรากฏ
      คำาหลัก A และ B ในหน้าเว็บเพจเดียวกัน หมายถึง การค้นหา
      คำาหลักที่มีทั้ง A และ B
      Example 1: พิมพ์ ไทย and จี น ลงในช่องข้อความแบบมี
      เงื่อนไข จะหมายถึง ค้นหาคำาว่า ไทย และ จีน โดยผลลัพธ์
      จากการค้นหา จะปรากฏคำาว่า "ไทย" และ "จีน" อยู่ในหน้า
      เว็บเพจเดียวกัน
   การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "OR"
    รู ป แบบการใช้ ง าน : A or B
    อธิ บ าย : เราใช้เงื่อนไข "or" ก็ต่อเมื่อ ต้องการค้นหาคำาหลัก
    A หรือ B โดยผลลัพธ์จากการค้นหาจะต้องปรากฏคำาหลัก A
    หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ ทั้งสองคำา
    Example 2: พิมพ์ กี ฬ า or ดนตรี ลงในช่องข้อความแบบ
    มีเงื่อนไข Super Search จะค้นหาข้อมูลที่ปรากฏคำาว่า
    "กีฬา" หรือ "ดนตรี" ในหน้าเว็บเพจ




   การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "NOT"
    รู ป แบบการใช้ ง าน : A not B
    อธิ บ าย : เราใช้เงื่อนไข "not" ก็ต่อเมื่อ ต้องการค้นหา A แต่
    ไม่ต้องการให้ปรากฏ B อยู่ในหน้าเว็บเพจ
    Example 3: พิมพ์ กี ฬ า not ฟุ ต บอล จะหมายถึง การ
    ค้นหาเว็บเพจที่ปรากฏคำาว่า "กีฬา" แต่ต้องไม่ปรากฏคำาว่า
    "ฟุตบอล"




   การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "NEAR"
    รู ป แบบการใช้ ง าน : A near B
    อธิ บ าย : หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้อง
    ปรากฏทั้ง A และ B และทั้งสองคำานี้จะต้องปรากฏอยู่ใกล้ๆกัน
    รูปแบบการค้นหาแบบนี้จะคล้ายกับการใช้เงื่อนไข "AND"
    แต่ต่างกันเพียง คำาทั้งสองจะต้องปรากฏอยู่ห่างกันไม่เกิน 10
    คำา ซึ่งเราจะเห็นว่าการใช้เงื่อนไข NEAR จะมีประสิทธิภาพที่
ดีกว่าการใช้เงื่อนไข "AND" ในกรณีที่คำาทั้งสองมีความ
    เกี่ยวข้องกัน โดยคาดหวังว่าคำาทั้งสองน่าจะปรากฏอยู่ใกล้
    เคียงกัน ยกตัวอย่างเช่น
           เราค้นหา วั ด near อยุ ธ ยา ผลลัพธ์ทออกมาน่าจะได้
                                                    ี่
    หน้าเว็บเพจที่คำาว่า "วัด" และ "อยุธยา" ที่ทั้งสองคำานี้น่าจะมี
    ความเกี่ยวข้องกัน มากกว่า วัด and อยุธยา ที่ปรากฏคำาทั้ง
    สองคำานี้ในหน้าเว็บเพจแต่อาจจะไม่เกี่ยวข้องกันเลยก็ได้
    Example 4: พิมพ์ วั ด near อยุ ธ ยา หมายถึง การค้นหา
    เว็บเพจที่มีทั้งคำาว่า วัด และ อยุธยา อยู่ในหน้า เว็บเพจ
    เดียวกัน และคำาทั้งสองน่าจะปรากฏอยู่ใกล้เคียงกัน




   การค้ น หาโดยใช้ เ ครื ่ อ งหมายวงเล็ บ "( )"
    รู ป แบบการใช้ ง าน : (A * B) โดย A และ B เป็นคำาที่
    ต้องการค้นหา และ สัญญลักษณ์ * แทนเงื่อนไข and , or
    ,not และ near
    อธิ บ าย : การใช้เครื่องหมายวงเล็บคร่อมข้อความที่เป็น
    เงื่อนไข หมายถึง การเจาะจงให้ประมวลผลข้อความที่อยู่
    ภายในวงเล็บก่อน
    Example 5: พิมพ์ (การเมื อ ง or เศรษฐกิ จ ) near
    รั ฐ สภา หมายถึง การสั่งให้ค้นหาหน้าเอกสารเว็บเพจที่
    ปรากฏคำาว่า "การเมือง" หรือ "เศรษฐกิจ" และ จะต้องปรากฏ
    อยู่ใกล้เคียงกับคำาว่า "รัฐสภา" ด้วย

More Related Content

What's hot

อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4peter dontoom
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
Website
WebsiteWebsite
Wd ch01 p20_01
Wd ch01 p20_01Wd ch01 p20_01
Wd ch01 p20_01
chiton2535
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตeyechillchill
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4aumtall
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตteerapongpongsorn
 
Internet3
Internet3Internet3
Internet3mod2may
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตteerapongpongsorn
 
Session3 part1
Session3 part1Session3 part1
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
ssuseraa96d2
 
งานGoogle
งานGoogleงานGoogle
งานGoogleaomby
 

What's hot (17)

อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
06 it
06 it06 it
06 it
 
End note x6
End note x6End note x6
End note x6
 
Website
WebsiteWebsite
Website
 
Wd ch01 p20_01
Wd ch01 p20_01Wd ch01 p20_01
Wd ch01 p20_01
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
Internet3
Internet3Internet3
Internet3
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
Session3 part1
Session3 part1Session3 part1
Session3 part1
 
Html
HtmlHtml
Html
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
 
งานGoogle
งานGoogleงานGoogle
งานGoogle
 

Viewers also liked

Florida summary of results
Florida summary of resultsFlorida summary of results
Florida summary of resultsfloridaforte
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointhayc
 
Supervision and Technology
Supervision and TechnologySupervision and Technology
Supervision and Technologyesrbk
 
English acqusition programs final
English acqusition programs finalEnglish acqusition programs final
English acqusition programs final
esrbk
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointhayc
 
Florida centre de formació
Florida centre de formacióFlorida centre de formació
Florida centre de formaciófloridaforte
 

Viewers also liked (9)

Florida summary of results
Florida summary of resultsFlorida summary of results
Florida summary of results
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Supervision and Technology
Supervision and TechnologySupervision and Technology
Supervision and Technology
 
English acqusition programs final
English acqusition programs finalEnglish acqusition programs final
English acqusition programs final
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Ict plan
Ict planIct plan
Ict plan
 
Chrystia
ChrystiaChrystia
Chrystia
 
Florida centre de formació
Florida centre de formacióFlorida centre de formació
Florida centre de formació
 
65daysofstatic
65daysofstatic65daysofstatic
65daysofstatic
 

Similar to Search Engine

การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
thepvista
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043Ann Oan
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search enginekacherry
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทtrevnis
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
mahasarakham university
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
Walaiporn Fear
 
Web Function : Trend
Web Function : TrendWeb Function : Trend
Web Function : Trend
Boonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นpenelopene
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นThunyaluck
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
mahasarakham university
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
Thanakorn Sirikit
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตKanokkorn Harsuk
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2pom_2555
 
Internet2
Internet2Internet2
Internet2mod2may
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)Prapatsorn Keawnoun
 

Similar to Search Engine (20)

การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
 
Web Function : Trend
Web Function : TrendWeb Function : Trend
Web Function : Trend
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
เวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
Internet2
Internet2Internet2
Internet2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
 

Search Engine

  • 1. Search Engine คืออะไร กลับมาพูดถึงกันอีกครั้งกับ Search Engine?คืออะไร?อัน ที่จริงแล้วนี่ ผมตั้งใจจะเขียนเรื่องนี้มานานมากแล้ว แต่ว่าข้อมูลไม่ เพียงพอก็เลยไม่ได้ออนไลน์ให้กับหลาย ๆ ท่านได้อ่านกันหนะครับ วันนี้ได้โอกาส ก็เลยจะมานั่งหาข้อมูลและเขียนให้จบไปสักตอน ก่อนก็ยังดีเพื่อเป็นการเจาะลึกเนื้อหาและข้อมูลเกี่ยวกับ “Search Engine คืออะไร” และรายละเอียดต่าง ๆ ของ Search Engine เพื่อเป็นข้อมูลให้หลาย ๆ ท่านทียังไม่ทราบ หรือ กำาลังหาข้อมูลจะ ่ ได้นำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ผมก็เลยได้พยายามรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากหลายแห่ง เพื่อจะนำามาเขียนบทความชุดนี้ Search Engine คืออะไร ? Search Engine คือ เครื่องมือการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต ทีทุกคนสามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้ โดย ่ กรอก ข้อมูลที่ต้องการค้นหา หรือ Keyword (คีเวิร์ด) เข้าไปที่ช่อง Search Box แล้วกด Enter แค่นี้ข้อมูลที่เราค้นหาก็จะถูก แสดงออกมาอย่างมากมายก่ายกอง เพื่อให้เราเลือกข้อมูลที่เรา โดนใจที่สุดเอามาใช้ งาน โดยลักษณะการแสดงผลของ Search Engine นั้นจะทำาการแสดงผลแบบ เรียงอันดับ Search Results ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของเรา Search Engine มีกี่ประเภท ? Search Engine มี?3?ประเภท (ในวันทีทำาการศึกษา ่ ข้อมูลนี้และได้ทำาการรวบรวมข้อมูล ผมสรุปได้?3 ประเภทหลัก) โดยมีหลักการทำางานที่ต่างกัน และ การจัดอันดับการค้นหาข้อมูลก็ ต่างกันด้วยครับ เพราะมีลักษณะการทำางานที่ต่างกันนี่เองทำาให้
  • 2. โดยทัว ๆ ไปแล้วจะมีการแบ่งออกเป็นหลาย ๆ ประเภทด้วยกัน แต่ ่ ที่พอสรุปได้ก็มีเพียง?3 ประเภทหลัก ๆ ดังที่จะนำาเสนอต่อไปนี้ครับ ประเภทที่ 1 Crawler Based Search Engines Crawler Based Search Engines คือ เครื่องมือ การค้นหาบนอินเตอร์เน็ตแบบอาศัยการบันทึกข้อมูล และ จัดเก็บ ข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งจะเป็นจำาพวก Search Engine ที่ได้รบความ ั นิยมสูงสุด เนื่องจากให้ผลการค้นหาแม่นยำาที่สุด และการประมวล ผลการค้นหาสามารถทำาได้อย่างรวดเร็ว จึงทำาให้มีบทบาทในการ ค้นหาข้อมูลมากที่สุดในปัจจุบัน โดยมีองประกอบหลักเพียง 2 ส่วนด้วยกันคือ 1. ฐานข้อมูล โดยส่วนใหญ่แล้ว Crawler Based Search Engine เหล่านี้จะมีฐานข้อมูลเป็นของตัวเอง ทีมีระบบการประมวล ่ ผล และ การจัดอันดับที่เฉพาะ เป็นเอกลักษณ์ของตนเองอย่างมาก 2. ซอฟแวร์ คือเครื่องมือหลักสำาคัญที่สุดอีกส่วนหนึ่งสำาหรับ Serch Engine ประเภทนี้ เนื่องจากต้องอาศัยโปรแกรมเล็ก ๆ ( ชนิดที่เรียกว่า จิ๋วแต่แจ๋ว) ทำาหน้าที่ในการตรวจหา และ ทำาการจัด เก็บข้อมูล หน้าเพจ หรือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ในรูปแบบของการทำา สำาเนาข้อมูล เหมือนกับต้นฉบับทุกอย่าง ซึ่งเราจะรู้จักกันในนาม Spider หรือ Web Crawler หรือ Search Engine Robots ตัวอย่างหนึงของ Crawler Based Search Engine ชื่อดัง http:// ่ www.google.com Crawler Based Search Engine ได้แก่อะไรบ้าง
  • 3. จะยกตัวอย่างคร่าว ๆ ให้ได้เห็นกันเอาแบบที่เรา ๆ ท่าน ๆ รู้จักหนะครับก็ได้แก่? Google , Yahoo, MSN, Live, Search, Technorati (สำาหรับ blog)?ครับ ส่วนลักษณะการ ทำางาน และ การเก็บข้อมูงของ Web Crawler หรือ Robot หรือ Spider นั้นแต่ละแห่งจะมีวิธีการเก็บข้อมูล และ การจัดอันดับ ข้อมูลที่ต่างกันนะครับ เช่น คุณทำาการค้นหาคำาว่า “Search Engine คืออะไร” ผ่านทั้ง 5 แห่งที่ผมให้ไว้จะได้ผลการค้นหาที่ ต่างกันครับ ประเภทที่ 2 Web Directory หรือ Blog Directory Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญ เว็บไซต์ทให้คุณสามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสาร ี่ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลือง ครับ ซึ่งจะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่ อย่างชัดเจน ซึ่ง จะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการ เปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล เพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blog มากมายที่มีเนื้อหาคล้าย ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลได้ อย่างตรง ประเด็นที่สุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ซึ่งผมจะขอยก ตัวอย่างดังนี้
  • 4. ODP Web Directory ชื่อดังของโลก ที่มี Search Engine มากมายใช้เป็นฐานข้อมูล Directory 1.? ODP หรือ Dmoz ที่ หลาย?ๆ คนรู้จัก ซึ่งเป็น Web Directory ทีใหญ่ที่สุดในโลก ่ Search Engine หลาย ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากทีแห่งนี้เกือบทั้งสิ้น ่ เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอื่น ๆ อีกมากมาย ODP มีการบันทึกข้อมูลประมาณ 80 ภาษาทั่วโลก รวมถึงภาษา ไทยเราด้วยครับ (URL : http://www.dmoz.org ) 2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ที่มีชื่อ เสียงอีกเช่นกัน และเป็นทีรู้จักมากที่สุดในเมืองไทย (URL : ่ http://webindex.sanook.com ) 3. Blog Directory อย่าง BlogFlux Directory ทีมีการเก็บข้อมูล ่ เกี่ยวกับบล็อกมากมายตามหมวดหมู่ต่าง ๆ หรือ Blog Directory อื่น ๆ ที่สามารถหาได้จาก Make Many แห่งนี้ครับ ประเภทที่ 3 Meta Search Engine Meta Search Engine คือ Search Engine ทีใช้หลักการในการ ่ ค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษา HTML ซึ่งมีการประกาศชุด
  • 5. คำาสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML นั่นเอง เช่น ชื่อผู้พัฒนา คำาค้นหา เจ้าของเว็บ หรือ บล็อก คำาอธิบายเว็บ หรือบล็อกอย่างย่อ ผลการค้นหาของ Meta Search Engine นี้มักไม่แม่นยำาอย่างที่คิด เนื่องจากบางครั้งผู้ให้บริการหรือ ผู้ออกแบบเว็บสามารถใส่อะไร เข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเว็บ หรือ บล็อก ของตนเอง และ อีกประการหนึ่งก็คือ มีการอาศัย Search Engine Index Server หลาย?ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทำาให้ผลการ ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร. มาถึงตอนนี้หลาย ๆ ท่านที่เคยสงสัยว่า “Search Engine คือ อะไร” คงได้หายสงสัยกันไปบ้างแล้วและเริ่มเข้าใจหลักการทำางาน ของ Search Engine กันมากขึ้น เพื่อจะได้เลือกใช้อย่างถูกต้อง และตรงกับความต้องการของเราในการค้นหาข่าวสารข้อมูล สำาหรับ บทความ “Search Engine คืออะไร” นี้หากขาดตกบกพร่อง ประการใด หรือ ไม่ได้รบข้อมูลที่ชัดเจนท่านสามารถติชม หรือ ให้ ั ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ผ่าน Comments ของบทความชุดนี้เพื่อจะได้ ทำาการปรับปรุงและแก้ไขให้ได้ข้อมูลที่ดีที่สุดและ เป็นประโยชน์ สำาหรับ ผูที่ทำาการค้นคว้างข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำาไปใช้งาน. ้ สิทธิศักดิ์? บุญมาก เขียน 30-09-2006 ข้อมูลอ้างอิง http://www.it-guides.com/lesson/search_engine_01.html http://www.nectec.or.th/courseware/internet/web- tech/0021.html http://gotoknow.org/blog/bow http://truehits.net/faq/f_stat.php http://www.keng.com/?p=64 ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ชาว SEO ใน http://www.seo.in.th ทุกท่านที่ใด้ให้ความรู้ต่าง ๆ จนสามารถเขียนบทความนี้ได้ สำาเร็จลุลวงไปด้วยดี. ่
  • 6. ก ารค้นหาข้อมูลด้วยเว็บไซต์ค้นหานั้น เพื่อให้ขอบข่าย ของการค้นหาแคบเข้า สามารถค้นหาได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น จะต้อง ใช้เว็บไซต์การค้นหาเข้าช่วย เช่น การค้นหาข้อมูลด้วย Basic Search จากเว็บไซต์ www.siamguru.com
  • 7. Basic Search คือ เครื่องมือในการค้นหาว็บไซต์ ทำา หน้าที่ในการให้บริการค้นหาข้อมูล (Search Engine) โดยเน้น เรื่องความสามารถในการค้นหาข้อมูลภาษาไทยบนอินเทอร์เน็ต มี ความสามารถเทียบเท่าเสิร์ชเอ็นจิ้นชื่อดังจากต่างประเทศ โดยการ ค้นหาจะเป็นแบบค้นหาข้อมูลจากทุกคำาของข้อมูลจริง (Full Text Search) ทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษจากเว็บเพจจำานวนหลาย แสนหน้า มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเว็บเพจที่เกี่ยวข้องกับ ประเทศไทยมาจัดทำาดัชนี (index) โดยอัตโนมัติ ผสมกับการจัด แยกหมวดหมูอย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ่ ง่ายและรวดเร็วมากที่สุด เว็ บ ไซต์ www.siamguru.com แบ่งการค้นหาเป็น 4 รูปแบบคือ  ค้ น หาเว็ บ ไซต์ (Basic Search) เหมาะสำาหรับผู้ที่ใช้อิน เทอร์เน็ตทั่วๆ ไปที่ยังไม่มีความรู้มากนัก  ค้ น หาเว็ บ ไซต์ แ บบซู เ ปอรเสิ ร ์ ช (Super Search) เป็น บริการสืบค้นข้อมูลแบบมีเงื่อนไข สำาหรับการค้นหาที่มีการ เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น  ค้ น หาเพลง (Music Search) บริการค้นหาเพลง , เนื้อ ร้อง จากเว็บเพจต่างๆ โดยสามารถค้นหาได้จากชื่อเพลง ชื่อ นักร้อง ชื่ออัลบั้ม หรือ คำาร้องจากท่อนใดท่อนหนึ่งก็ได้  ค้ น หารู ป ภาพ (Image Search) บริการค้นหา ภาพถ่าย ภาพกราฟฟิก ภาพการ์ตูน คำาแนะนำาในการใช้ Basic Search • ช่ อ งค้ น หา เป็นช่องป้อนข้อความที่เป็นเงื่อนไข สำาหรับ กำาหนดคำา/ข้อความที่เป็นเงื่อนไขในการค้นหา • คำ า แนะนำ า พร้ อ มตั ว อย่ า งการใช้ ง าน เป็นข้อความที่อยู่ ภายใต้ช่องค้นหา เพื่อแนะนำาการใช้งาน Search Engine อย่างง่าย พร้อมตัวอย่างการใช้งาน • ปุ ่ ม "Go" ปุ่มสำาหรับสั่งให้ทำาการค้นหา
  • 8. การค้นหาด้วย Super Search Super Search เป็นเครื่องมือค้นหาข้อมูลใน อินเทอร์เน็ตอีกประเภทหนึ่ง เหมาะสำาหรับผู้ที่คุ้นเคยกับ Basic Search อยู่แล้ว แต่ตองการค้นหาข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตรงความ ้ ต้องการมากขึ้นกว่าที่จะสามารถทำาได้ใน Basic Search ด้วยวิธี การสร้างเงื่อนไขการค้นหาขึ้น ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ที่น่าพอใจกว่าใน Basic Search ในขณะเดียวกันการค้นหาแบบ Super Search ก็จะมีความซับซ้อนในการใช้งานด้วยเช่นกัน • ข้ อ ความแบบมี เ งื ่ อ นไข เป็นช่องสำาหรับกำาหนดข้อความที่ เป็นเงื่อนไขในการค้นหา • เสี ย งคล้ า ย เป็นช่องระบุว่าต้องการคำาที่ออกเสียงคล้ายคลึง กันได้ • คำ า แนะนำ า พร้ อ มตั ว อย่ า งการใช้ ง าน เป็นข้อความที่อยู่ ภายใต้ช่องค้นหา เพื่อแนะนำาการใช้งาน Search Engine อย่างง่าย พร้อมตัวอย่างการใช้งาน • ปุ ่ ม "Go" ปุ่มสำาหรับสั่งให้ทำาการค้นหา เงื่อนไขที่ใช้ใน Super Search  การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "AND" รู ป แบบการใช้ ง าน : A and B โดย A , B เป็น คำาหลัก (Keywords) อธิ บ าย : เราใช้เงื่อนไข "and" ก็ต่อเมื่อ ต้องการให้ปรากฏ คำาหลัก A และ B ในหน้าเว็บเพจเดียวกัน หมายถึง การค้นหา คำาหลักที่มีทั้ง A และ B Example 1: พิมพ์ ไทย and จี น ลงในช่องข้อความแบบมี เงื่อนไข จะหมายถึง ค้นหาคำาว่า ไทย และ จีน โดยผลลัพธ์ จากการค้นหา จะปรากฏคำาว่า "ไทย" และ "จีน" อยู่ในหน้า เว็บเพจเดียวกัน
  • 9. การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "OR" รู ป แบบการใช้ ง าน : A or B อธิ บ าย : เราใช้เงื่อนไข "or" ก็ต่อเมื่อ ต้องการค้นหาคำาหลัก A หรือ B โดยผลลัพธ์จากการค้นหาจะต้องปรากฏคำาหลัก A หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ ทั้งสองคำา Example 2: พิมพ์ กี ฬ า or ดนตรี ลงในช่องข้อความแบบ มีเงื่อนไข Super Search จะค้นหาข้อมูลที่ปรากฏคำาว่า "กีฬา" หรือ "ดนตรี" ในหน้าเว็บเพจ  การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "NOT" รู ป แบบการใช้ ง าน : A not B อธิ บ าย : เราใช้เงื่อนไข "not" ก็ต่อเมื่อ ต้องการค้นหา A แต่ ไม่ต้องการให้ปรากฏ B อยู่ในหน้าเว็บเพจ Example 3: พิมพ์ กี ฬ า not ฟุ ต บอล จะหมายถึง การ ค้นหาเว็บเพจที่ปรากฏคำาว่า "กีฬา" แต่ต้องไม่ปรากฏคำาว่า "ฟุตบอล"  การค้ น หาโดยใช้ เ งื ่ อ นไข "NEAR" รู ป แบบการใช้ ง าน : A near B อธิ บ าย : หมายถึง เป็นการระบุให้ผลลัพธ์ของการค้นหาต้อง ปรากฏทั้ง A และ B และทั้งสองคำานี้จะต้องปรากฏอยู่ใกล้ๆกัน รูปแบบการค้นหาแบบนี้จะคล้ายกับการใช้เงื่อนไข "AND" แต่ต่างกันเพียง คำาทั้งสองจะต้องปรากฏอยู่ห่างกันไม่เกิน 10 คำา ซึ่งเราจะเห็นว่าการใช้เงื่อนไข NEAR จะมีประสิทธิภาพที่
  • 10. ดีกว่าการใช้เงื่อนไข "AND" ในกรณีที่คำาทั้งสองมีความ เกี่ยวข้องกัน โดยคาดหวังว่าคำาทั้งสองน่าจะปรากฏอยู่ใกล้ เคียงกัน ยกตัวอย่างเช่น เราค้นหา วั ด near อยุ ธ ยา ผลลัพธ์ทออกมาน่าจะได้ ี่ หน้าเว็บเพจที่คำาว่า "วัด" และ "อยุธยา" ที่ทั้งสองคำานี้น่าจะมี ความเกี่ยวข้องกัน มากกว่า วัด and อยุธยา ที่ปรากฏคำาทั้ง สองคำานี้ในหน้าเว็บเพจแต่อาจจะไม่เกี่ยวข้องกันเลยก็ได้ Example 4: พิมพ์ วั ด near อยุ ธ ยา หมายถึง การค้นหา เว็บเพจที่มีทั้งคำาว่า วัด และ อยุธยา อยู่ในหน้า เว็บเพจ เดียวกัน และคำาทั้งสองน่าจะปรากฏอยู่ใกล้เคียงกัน  การค้ น หาโดยใช้ เ ครื ่ อ งหมายวงเล็ บ "( )" รู ป แบบการใช้ ง าน : (A * B) โดย A และ B เป็นคำาที่ ต้องการค้นหา และ สัญญลักษณ์ * แทนเงื่อนไข and , or ,not และ near อธิ บ าย : การใช้เครื่องหมายวงเล็บคร่อมข้อความที่เป็น เงื่อนไข หมายถึง การเจาะจงให้ประมวลผลข้อความที่อยู่ ภายในวงเล็บก่อน Example 5: พิมพ์ (การเมื อ ง or เศรษฐกิ จ ) near รั ฐ สภา หมายถึง การสั่งให้ค้นหาหน้าเอกสารเว็บเพจที่ ปรากฏคำาว่า "การเมือง" หรือ "เศรษฐกิจ" และ จะต้องปรากฏ อยู่ใกล้เคียงกับคำาว่า "รัฐสภา" ด้วย