SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
P a g e | 1
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments: Theoretical and
Implementation Perspectives
1. วัตถุประสงค)ของการวิจัย
เพื่อศึกษารูปแบบและผลกระทบของการใชเครื่องมือทางปญญาที่หลากหลายในสภาพแวดลอม
การเรียนรูลักษณะสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ในรายวิชาดานกายวิภาคและสรีรวิทยา
2. วิธีการดําเนินการวิจัย
ในงานวิจัยไดทําการศึกษานักเรียนจาก 7 สถาบันโดยกําหนดช;วงอายุระหว;าง 19-50 ปB ที่
ลงทะเบียนเรียนในวิชาพยาบาลศาสตรC หรือ วิชาผูช;วยนักกายภาพบําบัด ของสถาบันการศึกษา แห;งหนึ่งที่
เมืองเอเธนสC รัฐจอรCเจีย สหรัฐอเมริกา โดยใชสื่อประเภทไฮเปอรCมีเดีย ในรูปแบบของซีดีรอมที่มีเนื้อหา
เกี่ยวกับร;างกายของมนุษยC ที่มีสื่อประเภท ภาพกราฟJก เสียง วิดีโอ ขอความ ที่ออกแบบตามแนวคิดทฤษฏี
คอนสตรัคติวิสตC โดยมีเครื่องมือทางปญญาจํานวน 16 ชิ้น ติดตั้งอยู;ภายในสื่อ ซึ่งในงานวิจัยนี้จะมีขั้นตอน
กิจกรรมอยู; 9 ขั้นตอน ประกอบดวย
1) การพัฒนาและทดสอบวิธีการวิจัย
2) การทดสอบก;อนเรียน
3) การปฐมนิเทศนักเรียนใหรูจักระบบการทํางานของสื่อที่ชื่อ Da Vinci’s Book
4) ใหทํากิจกรรมการคิดออกเสียง
5) ใหผูเรียนใชระบบ Da Vinci’s Book ร;วมกับเครื่องมือทางปญญา
6) การนําเสนอปากเปล;าโดยผูเรียน
7) การทวนทวนบทเรียน
8) การตอบแบบสอบถาม
9) ทําการสัมภาษณC
บทเรียนจะมีอยู;ทั้งหมด 5 ชุด ซึ่งในแต;ละชุดจะถูกจัดใหเรียนตามวันที่แตกต;างกันออกไป ซึ่งการเรียนจะ
เริ่มจากง;ายไปหายากตามลําดับการเรียนรูที่กาวหนา และในการวิจัยยังตองใชเครื่องมือต;าง ๆ อาทิ วิธีการสอบ
ก;อนเรียนแบบปรนัย เครื่องมือที่วัดการรับรูโดยใชแบบสอบถาม และแบบสอบถามตามกิจกรรมการเรียนรู และ
P a g e | 2
นอกจากยังใชเทคนิคอีก 5 อย;าง อาทิ เทคนิคการแสดงออก เทคนิคการคิดออกเสียง เทคนิคการทวนสอบ
เทคนิคการสัมภาษณC และ เทคนิคการวิเคราะหCผลิตภัณฑC
3. ผลการวิจัย
ผลของการวิจัยพบว;าการทํางานของเครื่องมือสามารถสนับสนุนกระบวนการทางปญญาไดเป^น
อย;างดี โดยมีการรายงานจากผูเรียนว;าผลของการใชสื่อทําใหการรับรูของผูเรียนดีขึ้น
4. การนําผลการวิจัยไปประยุกต)ใช?
จากผลการวิจัยที่เกิดการการนําเครื่องมือทางปญญาไปใชร;วมกับสื่อที่เรียกว;า Da Vinci’s Boo
พบว;าเครื่องมือแต;ละประเภทสามารถช;วยผูเรียนใหเกิดการเรียนรู โดยอาศัยคุณสมบัติของแต;ละประเภท
เช;น เครื่องมือสําหรับการสืบคนขอมูล เครื่องมือนําเสนอขอมูล เครื่องมือที่ใชสรางความรู เป^นตน ซึ่ง
คาดว;าถามีการนําหลักการ หรือเครื่องมือทางปญญาเหล;านี้ ไปใชร;วมกับสื่อในสาขาวิชาอื่น ๆ จะสามารถ
เสริมศักยภาพการเรียนรูของผูเรียนไดดียิ่งขึ้น เช;น สื่อในสาขาวิชาทางดานกฎหมาย ที่มีความซับซอน
ตองอาศัยการจดจําเนื้อหา คิดวิเคราะหCไตร;ตรอง ซึ่งคาดว;าจะสามารถนําหลักการที่ไดจากงานวิจัยพรอม
เครื่องมือทางปญญาไปสนับสนุนใหผูเรียน ประสบความสําเร็จในการเรียนรูไดเป^นอย;างดี
5. ข?อค?นพบที่เกี่ยวข?องกับ Educational Emerging Technology
จากงานวิจัยดังกล;าว เป^นการศึกษาที่เนนการใชเครื่องมือที่สนับสนุนการเรียนรูเฉพาะตัวบุคคล
ไม;ไดเนนที่กลุ;มบุคคล ซึ่งผูวิจัยไดเล็งเห็นถึงเทคโนโลยีที่เกิดใหม; อาทิ เทคโนโลยีเว็บ หรือ โซเชียล
เน็ตเวิรCค เทคโนโลยี ที่จะมาต;อยอดงานวิจัยในลักษณะการศึกษาเครื่องมือทางปญญาในระดับสังคม (Social
Cognitive) ซึ่งจะสามารถขยายขอบข;ายของงานไดกวางขวางยิ่งขึ้น
P a g e | 3
Functional Tool
Classifications
Roles of Tools Principles of Design and
Use
Example Tools
1. Information Seeking
Tools
• Support learners as they
attempt to identify and
locate relevant information
• Support learners to
retrieve new and existing
knowledge
• Provide multiple
perspectives via varied
information seeking
strategies (Cognitive
Flexibility Theory)
• Support learners in
monitoring their
information seeking
activities (Meta cognitive
Theory)
Alphabetical Index
Bookmark
General Index
Hyper picture
Hypertext
Health &Diseases
Keyword Search
Map & Guide
Mechanism
Path Tracker
Reviewer
Structure Map
Text Memo
Visual History
Voice Memo
Google Search
2. Information
Presentation Tools
• Support learners as they
attempt to present the
information they
encounter
• Assist in clarifying the
relationship among the
information
• Provide multi-modal
representations
(Cognitive Flexibility
Theory)
• Reduce demands on
working
memory(Cognitive Load
Theory)
Bookmark
Presentation Maker
Mechanism
Path Tracker
Reviewer
Structure Map
Text Memo
Visual History
Voice Memo
Dreamweaver
Power point
Pro show producer
P a g e | 4
Functional Tool
Classifications
Roles of Tools Principles of Design and
Use
Example Tools
3. Knowledge
Organization Tools
•Support learners as they
attempt to establish
conceptual relationships in
to-be-learned information
•Help learners to interpret,
connect, and organize the
represented information
meaningfully
• Avoid over
simplifications of complex
conceptual schemata(
Cognitive Flexibility
Theory)
• Help learners to simplify
unnecessarily complex
cognitive tasks
(Cognitive Load Theory)
• Facilitate self-regulated
organization (Meta
cognition Theory)
Bookmark
Hyper picture
Hypertext
Map & Guide
Mechanism
Structure Map
Text Memo
Voice Memo
My Mapping tool
Blog
4. Knowledge
Integration Tools
•Support learners in
connecting new with
existing knowledge
•Facilitate the processing of
content at deeper levels in
order to construct
personally meaningful
knowledge
• Facilitate the sophistication
of conceptual
understanding (Mental
model theory)
• Help learners to monitor
knowledge construction
process as well as their
knowledge status (Meta
cognition Theory)
Presentation Maker
Text Memo
Voice Memo
Wikipedia
5. Knowledge
Generation Tools
•Support the manipulation
and generation of
knowledge
•Help learners to represent
their newly generated
knowledge flexibly and
meaningfully
• Encourage multiple
perspective and multi-
modal knowledge
generation(Cognitive
Flexibility Theory)
• Allow learners to select
varied cognitive
strategies(Meta cognition
Theory)
Presentation Maker
Text Memo
Voice Memo
LOGO computer
language
P a g e | 5
ผูร;วมงาน ประกอบดวย
1. นางกนกพิชญC อนุพันธC รหัสประจําตัว 575050178-6
2. นายโฆษิต จํารัสลาภ รหัสประจําตัว 575050179-4
3. นายรณฤทธิ์ ธรรมาธิกร รหัสประจําตัว 575050188-3
4. นางสาวอิสยาหC ถือสยม รหัสประจําตัว 575050200-9
นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาโท (โครงการพิเศษ)

More Related Content

Similar to Cognitive tools for open Learning Environment

201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)Ptato Ok
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsSuthakorn Chatsena
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...นะนาท นะคะ
 
Cognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environmentsCognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environmentsJiraporn Talabpet
 

Similar to Cognitive tools for open Learning Environment (20)

201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
 
Cognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environmentsCognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environments
 

Cognitive tools for open Learning Environment

  • 1. P a g e | 1 Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments: Theoretical and Implementation Perspectives 1. วัตถุประสงค)ของการวิจัย เพื่อศึกษารูปแบบและผลกระทบของการใชเครื่องมือทางปญญาที่หลากหลายในสภาพแวดลอม การเรียนรูลักษณะสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ในรายวิชาดานกายวิภาคและสรีรวิทยา 2. วิธีการดําเนินการวิจัย ในงานวิจัยไดทําการศึกษานักเรียนจาก 7 สถาบันโดยกําหนดช;วงอายุระหว;าง 19-50 ปB ที่ ลงทะเบียนเรียนในวิชาพยาบาลศาสตรC หรือ วิชาผูช;วยนักกายภาพบําบัด ของสถาบันการศึกษา แห;งหนึ่งที่ เมืองเอเธนสC รัฐจอรCเจีย สหรัฐอเมริกา โดยใชสื่อประเภทไฮเปอรCมีเดีย ในรูปแบบของซีดีรอมที่มีเนื้อหา เกี่ยวกับร;างกายของมนุษยC ที่มีสื่อประเภท ภาพกราฟJก เสียง วิดีโอ ขอความ ที่ออกแบบตามแนวคิดทฤษฏี คอนสตรัคติวิสตC โดยมีเครื่องมือทางปญญาจํานวน 16 ชิ้น ติดตั้งอยู;ภายในสื่อ ซึ่งในงานวิจัยนี้จะมีขั้นตอน กิจกรรมอยู; 9 ขั้นตอน ประกอบดวย 1) การพัฒนาและทดสอบวิธีการวิจัย 2) การทดสอบก;อนเรียน 3) การปฐมนิเทศนักเรียนใหรูจักระบบการทํางานของสื่อที่ชื่อ Da Vinci’s Book 4) ใหทํากิจกรรมการคิดออกเสียง 5) ใหผูเรียนใชระบบ Da Vinci’s Book ร;วมกับเครื่องมือทางปญญา 6) การนําเสนอปากเปล;าโดยผูเรียน 7) การทวนทวนบทเรียน 8) การตอบแบบสอบถาม 9) ทําการสัมภาษณC บทเรียนจะมีอยู;ทั้งหมด 5 ชุด ซึ่งในแต;ละชุดจะถูกจัดใหเรียนตามวันที่แตกต;างกันออกไป ซึ่งการเรียนจะ เริ่มจากง;ายไปหายากตามลําดับการเรียนรูที่กาวหนา และในการวิจัยยังตองใชเครื่องมือต;าง ๆ อาทิ วิธีการสอบ ก;อนเรียนแบบปรนัย เครื่องมือที่วัดการรับรูโดยใชแบบสอบถาม และแบบสอบถามตามกิจกรรมการเรียนรู และ
  • 2. P a g e | 2 นอกจากยังใชเทคนิคอีก 5 อย;าง อาทิ เทคนิคการแสดงออก เทคนิคการคิดออกเสียง เทคนิคการทวนสอบ เทคนิคการสัมภาษณC และ เทคนิคการวิเคราะหCผลิตภัณฑC 3. ผลการวิจัย ผลของการวิจัยพบว;าการทํางานของเครื่องมือสามารถสนับสนุนกระบวนการทางปญญาไดเป^น อย;างดี โดยมีการรายงานจากผูเรียนว;าผลของการใชสื่อทําใหการรับรูของผูเรียนดีขึ้น 4. การนําผลการวิจัยไปประยุกต)ใช? จากผลการวิจัยที่เกิดการการนําเครื่องมือทางปญญาไปใชร;วมกับสื่อที่เรียกว;า Da Vinci’s Boo พบว;าเครื่องมือแต;ละประเภทสามารถช;วยผูเรียนใหเกิดการเรียนรู โดยอาศัยคุณสมบัติของแต;ละประเภท เช;น เครื่องมือสําหรับการสืบคนขอมูล เครื่องมือนําเสนอขอมูล เครื่องมือที่ใชสรางความรู เป^นตน ซึ่ง คาดว;าถามีการนําหลักการ หรือเครื่องมือทางปญญาเหล;านี้ ไปใชร;วมกับสื่อในสาขาวิชาอื่น ๆ จะสามารถ เสริมศักยภาพการเรียนรูของผูเรียนไดดียิ่งขึ้น เช;น สื่อในสาขาวิชาทางดานกฎหมาย ที่มีความซับซอน ตองอาศัยการจดจําเนื้อหา คิดวิเคราะหCไตร;ตรอง ซึ่งคาดว;าจะสามารถนําหลักการที่ไดจากงานวิจัยพรอม เครื่องมือทางปญญาไปสนับสนุนใหผูเรียน ประสบความสําเร็จในการเรียนรูไดเป^นอย;างดี 5. ข?อค?นพบที่เกี่ยวข?องกับ Educational Emerging Technology จากงานวิจัยดังกล;าว เป^นการศึกษาที่เนนการใชเครื่องมือที่สนับสนุนการเรียนรูเฉพาะตัวบุคคล ไม;ไดเนนที่กลุ;มบุคคล ซึ่งผูวิจัยไดเล็งเห็นถึงเทคโนโลยีที่เกิดใหม; อาทิ เทคโนโลยีเว็บ หรือ โซเชียล เน็ตเวิรCค เทคโนโลยี ที่จะมาต;อยอดงานวิจัยในลักษณะการศึกษาเครื่องมือทางปญญาในระดับสังคม (Social Cognitive) ซึ่งจะสามารถขยายขอบข;ายของงานไดกวางขวางยิ่งขึ้น
  • 3. P a g e | 3 Functional Tool Classifications Roles of Tools Principles of Design and Use Example Tools 1. Information Seeking Tools • Support learners as they attempt to identify and locate relevant information • Support learners to retrieve new and existing knowledge • Provide multiple perspectives via varied information seeking strategies (Cognitive Flexibility Theory) • Support learners in monitoring their information seeking activities (Meta cognitive Theory) Alphabetical Index Bookmark General Index Hyper picture Hypertext Health &Diseases Keyword Search Map & Guide Mechanism Path Tracker Reviewer Structure Map Text Memo Visual History Voice Memo Google Search 2. Information Presentation Tools • Support learners as they attempt to present the information they encounter • Assist in clarifying the relationship among the information • Provide multi-modal representations (Cognitive Flexibility Theory) • Reduce demands on working memory(Cognitive Load Theory) Bookmark Presentation Maker Mechanism Path Tracker Reviewer Structure Map Text Memo Visual History Voice Memo Dreamweaver Power point Pro show producer
  • 4. P a g e | 4 Functional Tool Classifications Roles of Tools Principles of Design and Use Example Tools 3. Knowledge Organization Tools •Support learners as they attempt to establish conceptual relationships in to-be-learned information •Help learners to interpret, connect, and organize the represented information meaningfully • Avoid over simplifications of complex conceptual schemata( Cognitive Flexibility Theory) • Help learners to simplify unnecessarily complex cognitive tasks (Cognitive Load Theory) • Facilitate self-regulated organization (Meta cognition Theory) Bookmark Hyper picture Hypertext Map & Guide Mechanism Structure Map Text Memo Voice Memo My Mapping tool Blog 4. Knowledge Integration Tools •Support learners in connecting new with existing knowledge •Facilitate the processing of content at deeper levels in order to construct personally meaningful knowledge • Facilitate the sophistication of conceptual understanding (Mental model theory) • Help learners to monitor knowledge construction process as well as their knowledge status (Meta cognition Theory) Presentation Maker Text Memo Voice Memo Wikipedia 5. Knowledge Generation Tools •Support the manipulation and generation of knowledge •Help learners to represent their newly generated knowledge flexibly and meaningfully • Encourage multiple perspective and multi- modal knowledge generation(Cognitive Flexibility Theory) • Allow learners to select varied cognitive strategies(Meta cognition Theory) Presentation Maker Text Memo Voice Memo LOGO computer language
  • 5. P a g e | 5 ผูร;วมงาน ประกอบดวย 1. นางกนกพิชญC อนุพันธC รหัสประจําตัว 575050178-6 2. นายโฆษิต จํารัสลาภ รหัสประจําตัว 575050179-4 3. นายรณฤทธิ์ ธรรมาธิกร รหัสประจําตัว 575050188-3 4. นางสาวอิสยาหC ถือสยม รหัสประจําตัว 575050200-9 นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาโท (โครงการพิเศษ)