SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
เสนอ….อาจารย์ ดร. อนุชา โสมาบุตร 
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
สมาชิกในกลุ่ม 
นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 
นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 
นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 
นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) 
ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการ ออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ที่คลินิกรับปรึกษาปัญหาการ ผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับคุณ ประกอบด้วย 
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ความคิดรวบ ยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน 
คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และในการสอนวันนี้ต้องการให้ นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุป สถิติจานวนนักเรียนทุกระดับชั้น (ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ 
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ 
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด 
ต่อจากหน้าที่แล้ว
1. เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้ 
แผนภูมิ เช่น แผนภูมิแบบตาราง แผนภูมิแบบ ต้นไม้และลาธาร เพราะ คุณครูแดนต้องการนาเสนอ เนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม 
แผนภูมิ เป็นทัศนวัสดุที่ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ ตัวเลข และข้อความ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น ความต่อเนื่อง โดยแสดง ความสัมพันธ์เหล่านั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
แผนภาพ 
เพราะ คุณครูรุทต้องการให้นักเรียนเข้าใจ ถึง ระบบการทางานของระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 
แผนภาพ เป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ ที่แสดงเค้าโครงของวัตถุ โครงสร้างที่สาคัญของ สิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อ ความหมายได้ดี การใช้แผนภาพถ้าใช้คู่กับของ จริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
แผนสถิต 
เช่น แผนสถิติแบบเส้น แผนสถิติแบบแท่ง 
เพราะ คุณครูอั้มจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติ จานวนนักเรียนทุกระดับชั้น (ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาค การศึกษา 
แผนสถิติ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดง การเปรียบเทียบระหว่างจานวน ตัวเลขของสิ่ง ต่างๆ
 การ์ตูน เพราะ คุณครูพอลล่าต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนเกิด ความสนุกสนาน และเกิดจินตนาการ 
 การ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราวต่างๆตลอดจน สามารถ ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดจินตนาการของผู้วาดซึ่งเป็นการล้อเลียนแสดงอารมณ์ขันเพื่อให้ดูแล้ว เกิดความสนใจ และความสนุกสนาน
ภาพโฆษณา 
เพราะ คุณครูศรรามต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด 
เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ ข้อความ หรือ เรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให้ ผู้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามจุดประสงค์ ของภาพโฆษณานั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม
2. ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับ เนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้วิชาเอกของคุณ 
แผนภูมิตาราง 
แผนภูมิแท่ง
บทท  8
บทท  8

More Related Content

Similar to บทท 8

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
Noom Theerayut
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
Pattarapong Worasakmahasan
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
Thitaporn Chobsanchon
 
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdfเลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
jmerte125
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chanissata Rakkhuamsue
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
Apple Nipaporn
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
Apple Nipaporn
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
ไชยยา มะณี
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
Apple Nipaporn
 

Similar to บทท 8 (20)

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdfเลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
 
หลักและแนวทางวิทยานิพนธ์2559
หลักและแนวทางวิทยานิพนธ์2559หลักและแนวทางวิทยานิพนธ์2559
หลักและแนวทางวิทยานิพนธ์2559
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lession5
Lession5Lession5
Lession5
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Binder1
Binder1Binder1
Binder1
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#2
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#2หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#2
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#2
 

บทท 8

  • 1. เสนอ….อาจารย์ ดร. อนุชา โสมาบุตร รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
  • 2. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 3. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการ ออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ที่คลินิกรับปรึกษาปัญหาการ ผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับคุณ ประกอบด้วย คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ความคิดรวบ ยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และในการสอนวันนี้ต้องการให้ นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
  • 4. คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุป สถิติจานวนนักเรียนทุกระดับชั้น (ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด ต่อจากหน้าที่แล้ว
  • 5.
  • 6. 1. เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้ แผนภูมิ เช่น แผนภูมิแบบตาราง แผนภูมิแบบ ต้นไม้และลาธาร เพราะ คุณครูแดนต้องการนาเสนอ เนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม แผนภูมิ เป็นทัศนวัสดุที่ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ ตัวเลข และข้อความ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น ความต่อเนื่อง โดยแสดง ความสัมพันธ์เหล่านั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
  • 7. แผนภาพ เพราะ คุณครูรุทต้องการให้นักเรียนเข้าใจ ถึง ระบบการทางานของระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ แผนภาพ เป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ ที่แสดงเค้าโครงของวัตถุ โครงสร้างที่สาคัญของ สิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อ ความหมายได้ดี การใช้แผนภาพถ้าใช้คู่กับของ จริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
  • 8. แผนสถิต เช่น แผนสถิติแบบเส้น แผนสถิติแบบแท่ง เพราะ คุณครูอั้มจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติ จานวนนักเรียนทุกระดับชั้น (ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาค การศึกษา แผนสถิติ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดง การเปรียบเทียบระหว่างจานวน ตัวเลขของสิ่ง ต่างๆ
  • 9.  การ์ตูน เพราะ คุณครูพอลล่าต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนเกิด ความสนุกสนาน และเกิดจินตนาการ  การ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราวต่างๆตลอดจน สามารถ ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดจินตนาการของผู้วาดซึ่งเป็นการล้อเลียนแสดงอารมณ์ขันเพื่อให้ดูแล้ว เกิดความสนใจ และความสนุกสนาน
  • 10. ภาพโฆษณา เพราะ คุณครูศรรามต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ ข้อความ หรือ เรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให้ ผู้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามจุดประสงค์ ของภาพโฆษณานั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม
  • 11. 2. ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับ เนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้วิชาเอกของคุณ แผนภูมิตาราง แผนภูมิแท่ง