SlideShare a Scribd company logo
กระบวนการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาอย่างมีระบบมีกระบวนการแก้ปัญหาอยู่ 4 ขั้นตอนดังนี้
เป็นขั้นตอนแรกก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหาและเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้เวลาจัด
ได้ว่าขั้นตอนการวิเคราะห์เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด ผู้แก้ปัญหาจาเป็นต้องมีการ
วิเคราะห์กาหนดรายละเอียดย่อยๆ เช่น การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่การพิจารณาข้อมูล
และเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมาย
หรือสิ่งที่ต้องการหาคาตอบ
เป็นขั้นตอนการนาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับปัญหามาทาความเข้าใจ
นามาใช้เพื่อการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดโดยพิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการ
แก้ปัญหาขั้นตอนนี้จาเป็นต้องอาศัยผู้ที่มีประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก การเลือกเครื่องมือและออกแบบ
ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหามีขั้นตอนย่อยๆตามลาดับ ดังนี้
2.1 การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่างเครื่องมือกับเงื่อนไขต่างๆของ
ปัญหาสิ่งสาคัญที่สุดคือ ความคุ้นเคยในการใช้เครื่องมือนั้นๆและยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือเรียกว่า
“ ขั้นตอนวิธี ” (Alogrithm)
2.2 การออกแบบวิธีในการแก้ไขปัญหา ผู้แก้ไขปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการ
ทางานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น ผังงาน (flowchart) ที่จาลองวิธีขั้นตอนการแก้ปัญหาในรูปแบบ
สัญลักษณ์รหัสจาลอง (Pseudo Code)
เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้โดยใช้โปรแกรม
สาเร็จรูปหรือการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความรู้
เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ซึ่งผู้ใช้งานต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ
หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วผู้แก้ปัญหาจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
โดยตรวจสอบความสอดคล้องของขั้นตอนวิธีกับรายละเอียดของปัญหาซึ่งได้แก่ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก
3.ข้อมูลนาเข้า เมื่อผู้วิเคราะห์ได้ออกแบบรูปแบบของรายงาน ไม่ว่าจะเป็นการแสดงผลทาง
จอแสดงผล การพิมพ์รายงานออกทางเครื่องพิมพ์หรือการแสดงผลผ่านทางลาโพงต่างๆสิ่งที่
ต้องพิจารณาต่อคือ ข้อมูลที่ใช้ในการนาเข้าว่าต้องใช้ข้อมูลการนาเข้าอะไรบ้าง และลักษณะ
ของข้อมูลการนาเข้านั้นสัมพันธ์กันกับลักษณะของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลหรือไม่ การพิจาร
ราข้อมูลนาเข้า ผู้วิเคราะห์ต้องวางแผนเกี่ยวกับชนิดของข้อมูล เพราะข้อมูลแต่ละชนิดมี
ความสามารถและการคานวณที่ได้ผลลัพธ์แตกต่างกัน ซึ่งจะส่งผลต่อการประกาศตัวแปรที่ใช้
เก็บข้อมูลเข้าและส่งผลถึงผลลัพธ์ที่ใช้ในการแสดงผลที่ถูกต้อง
ตัวอย่าง
รายงานใบรับเงินมีข้อมูลที่ต้องนาเข้า คือ ชื่อบริษัท เลขทะเบียน ที่ตั้ง หมายเลข
โทรศัพท์สาขาCODE วันที่ เวลา เลขที่ ชื่อ จานวนเงิน รับเงิน ทอนเงิน ผู้รับมอบอานาจ
4. ตัวแปรที่ใช้ เป็นการวางแผนเพื่อกาหนดตัวแปรสาหรับใช้แทนข้อมูลนาเข้าแต่ละตัวและ
การกาหนดตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เกิดจากการประมวลผลของข้อมูลเข้า การตั้งชื่อตัวแปรที่ใช้
เก็บข้อมูลต่างๆมีหลักเกณฑ์การตั้งชื่อเพื่อใช้ในการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป มี
ดังนี้
4.1 ตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยภาษาอังกฤษหรือสัญลักษณ์ ”_” (Underscore) ไม่ควรใช้
ภาษาถิ่นในการตั้งชื่อตัวแปร
4.2 ต้องคานึงถึงตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก ในซอฟต์แวร์ตัวแปรภาษาบางตัวจะไม่
คานึงถึงอกษรพิมพ์เล็กหรืออักษรพิมพ์ใหญ่โดยเห็นว่าเป็นอักษรตัวเดียวกันแต่ในบางซอฟต์แวร์
ก็จาแนกหรือมองเห็นว่าเป็นอักษรคนละตัวกัน
4.3 ชื่อของตัวแปรให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของตัวแปลภาษา ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมไม่ซ้ากับ
คาสงวน เช่น Format Int Eng ซึ่งซอฟต์แวร์หรทอตัวแปลภาษาที่ใช้ในการแก้ปัญหา
จะมีการระบุไว้ในวิธีการใช้โปรแกรมที่คล้ายคลึงกัน
4.4 งดใช้เครื่องหมายต่อไปนี้ในการใช้ตัวแปร ! , @ , # , $ , % , ^ , & , * , ( , ) , - ,
= ,  , l , + , ~
4.5 ชื่อของตัวแปรควรสื่อความหมายของข้อมูลนาเข้า เช่น ตัวแปรscoreใช้แทนคะแนน
นักเรียน ตัวแปร id ใช้แทนเลขประจาตัวนักเรียน การตั้งชื่อตัวแปรที่ไม่สื่อความหมายกับข้อมูล
จะทาให้เกิดความสับสนกับผู้เขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมที่เขียนโดยผู้เขียนหลายคนมี
ความจาเป็นอย่างยิ่งในการตั้งชื่อตัวแปรให้สอดคล้องกับข้อมูลเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันของผู้เขียน
โปรแกรม จากตัวอย่างในขั้นตอนที่ผ่านมาสามารถตั้งชื่อตัวแปรดังตัวอย่างต่อไปนี้
5. วิธีการประมวลผล เป็นการวิเคราะห์วิธีดาเนินการหลังจากได้สิ่งที่ต้องการ รูปแบบ
ผลลัพธ์ข้อมูลนาเข้า จนถึงตัวแปรที่ใช้มาแล้ว ซึ่งขั้นตอนนี้จะเคราะห์ความเป็นไปได้ที่
จะต้องให้ได้ผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาตามต้องการ
5.1 วิธีการรับข้อมูลเพื่อประมวลผล ตัวอย่างวิธีการประมวลผลรายงานผลการเรียนมี 2
แนวทางดังนี้
แนวทางที่ 1 รับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทีละรายการ โดยเก็บค่าต่างๆไว้ในตัวแปรที่
กาหนดไว้ทีละรายการ หลังจากนั้นก็จะประมวลผลรายการนั้นๆ จึงเริ่มต้นวนรับค่ารายการ
ใหม่จนครบ วิธีการนี้จะสะดวกเนื่องจากใช้ลาดับวิธีการในการประมวลผลข้อมูลที่ง่าย
แนวทางที่ 2 ใช้วิธีการรับข้อมูลทั้งหมด โดยการป้อนข้อมูลนาเข้าทุกรายการของนักเรียนทุกคนใส่ในตัวแปรจนครบ
เมื่อครบแล้วจึงทากาประมวลผลเพียงครั้งเดียว วิธีการนี้มีวิธีการประมวลผลที่ซับซ้อนใช้ความจาจานวนมาก
จากตัวอย่างการประมวลผลทั้ง 2 วิธีมีข้อดีและข้อเสียที่ต่างกันโดยวิธีการรับข้อมูลที
ละรายการจะใช้ความจาน้อย คานวณผลลัพธ์ทันที แต่การทางานแต่ละรอบต้อง
คานวณทุกครั้งต้องมีการปรับปรุงฐานข้อมูลทุกครั้งเมื่อป้อนข้อมูลแต่ละรายการ
นอกจากนี้ยังไม่เหมาะสมกับการแก้ไขข้อมูลนาเข้าที่ป้อนผิดพลาดในรายการที่ผ่าน
มาเนื่องจากมีการประมวลผลไปแล้ว สาหรับการประมวลผลโดยใช้วิธีการรับข้อมูล
ทั้งหมด จะใช้หน่วยความจามาก ตัวแปรซับซ้อน แต่สามารถแก้ไขได้สะดวกกว่า มี
ข้อเสียคือ หากทางานไม่สาเร็จระหว่างการรับข้อมูลจะทาให้สูญเสียข้อมูลที่ทามา
ก่อนหน้านี้
5.2 การทดสอบข้อมูลสุดท้าย เป็นการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางการเริ่มคานวณผลลัพธ์ของข้อมูล
ที่ถูกนาเข้าเสร็จสิ้นแล้วซึ่งต้องสร้างเหตุการณ์สาหรับกระตุ้นให้เครื่องคอมพิวเตอร์รับรู้ว่าข้อมูล
นาเข้ามานั้นสิ้นสุดแล้วให้เริ่มทาการประมวลผลลัพธ์โดยมีแนวทางดังนี้
1.การใช้ค่าของข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งที่ไม่ใช่ค่าที่เป็นไปได้เพื่อกระตุ้นหรือสั่งการให้
คอมพิวเตอร์เข้าสู้ขั้นตอนการประมวลผล เช่นการทาแบบโครงสร้าง การนาเข้าข้อมูลตัวเลขเพื่อ
ป้อนข้อมูลคะแนนของนักเรียนแต่ละคน
2.การใช้วิธีการกาหนดตัวแปรเพิ่มอีกตัวแปรหนึ่ง เพื่อใช้สาหรับการนับ เพิ่มค่าเพื่อ
ทดสอบข้อมูลสุดท้ายเช่น การสร้างตัวแปรนับข้อมูลนาเข้าทีละรายการ เมื่อครบ 20 รายการก็ถือ
ว่าข้อมูลเข้ามาหมดแล้ว
ความหมายของผังงาน
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียน
แทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm)
ประเภทของผังงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.ผังงานระบบ แสดงถึงขอบเขตขั้นตอนการทางานภายในระบบหนึ่งๆ ประกอบด้วยการนาข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล
และการแสดงผลลัพธ์ ระบบอย่างกว้าง ๆ
2.ผังงานโปรแกรม จะแสดงถึงขั้นตอนของคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรม วิธีการทางานของโปรแกรมในขั้นการวิเคราะห์
งาน มาเขียนเป็นผังงานโปรแกรมได้ทันที จากนั้นก็สามารถนาผังงานโปรแกรม ไปเขียนโปรแกรมตามที่ต้องการได้
ประโยชน์ของผังงาน
1.สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานระบบได้ง่าย เพราะผังงานระบบไม่ขั้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษา
หนึ่งโดยเฉพาะ
2.ลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
3.ใช้การตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
4.ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกในการพิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน
5.การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่ายและรวดเร็ว
6.การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม สามารถดูผังงานเพื่อแก้ไขคา
ข้อจากัดของผังงาน
1. ผังงานระบบ ทาให้เครื่องไม่สามารถรับและเข้าใจว่าในผังงานระบบนั้นต้องการให้ทาอะไร
2. จะไม่สามารถทราบได้ว่า ขั้นตอนการทางานใดสาคัญกว่ากัน เพราะทุก ๆ ขั้นนอนจะใช้รูปาภาพหรือ
สัญลักษณ์ในลักษณะเดียวกัน
3. การเขียนผังงานระบบเป็นการสิ้นเปลือง
4. ในภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ภาษาซี ผังงานระบบไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งใน
ภาษาได้ชัดเจน ตรงไปตรงมา
วิธีการเขียนผังงานที่ดี
1. ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้
2. ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา
3. คาอธิบายในภาพควรสั้นกะทัดรัด และเข้าใจง่าย
4. ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า – ออก
5. ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
6. ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน
1 . การกาหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโปรแกรม
โดยการเริ่มต้นผังงานจะใช้คาว่า Start และการสิ้นสุดจะใช้คาว่า Stop ซึ่งข้อความดังกล่าวจะอยู่ใน
สัญลักษณ์ ดังภาพ
2. การกาหนดค่าเริ่มต้นและการคานวณ
ในการเขียนผังงานโปรแกรม จะมีการกาหนดค่าเริ่มต้น รวมถึงจะมีการคานวณข้อมูลในรูปของสูตรสมการ
คณิตศาสตร์ ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้จะเขียนข้อความภายในสัญลักษณ์กรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ดังภาพ
3. การรับข้อมูลนาเข้า
เป็นการรับข้อมูลเข้าสู่โปรแกรม หรือข้อมูลที่ต้องป้อนให้คอมพิวเตอร์นาไปใช้ในการคานวณ หรือ
ประมวลผลข้อมูล จะเขียนข้อความรับค่า หรือ Read ข้อมูล ภายในสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมด้านขนาน ดังภาพ
การรับข้อมูล a , b เข้าสู่โปรแกรมโดยไม่ระบุอุปกรณ์นาเข้า
การรับข้อมูล a , b เข้าสู่โปรแกรมทางคีย์บอร์ด
4. การแสดงผลข้อมูล
เป็นการนาข้อมูลที่ได้จากการกาหนดค่า หรือ การคานวณ หรือการประมวลผลใดใด มาแสดงผลออกทาง
อุปกรณ์ที่กาหนด จะเขียนข้อความแสดงผล หรือ Print ภายในสัญลักษณ์
การแสดงผลข้อมูล x , y โดยไม่ระบุอุปกรณ์แสดงผล
การแสดงผลข้อมูล x , y ออกทางจอภาพ การแสดงผลข้อมูล x , y ออกทางเครื่องพิมพ์
5. การตรวจสอบเงื่อนไข
เป็นการเปรียบเทียบเพื่อตรวจสอบเงื่อนไข จริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยจะเขียนข้อความ
เงื่อนไขที่ต้องการเปรียบเทียบภายในสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
6. จุดต่อและการเชื่อมโยงผังงาน
ในการเขียนผังงานอาจมีลาดับการทางานหลายขั้นตอน จึงจาเป็นต้องใช้สัญลักษณ์เชื่อมโยงผังงานดังกล่าว
เพื่ออ้างอิงจุดเชื่อมต่อนั้นไปยังตาแหน่งที่มีชื่อหรืออักษรเดียวกัน
แสดงจุดต่อ A เชื่อมโยงผังงานที่อยู่คนละหน้า
7.เส้นแสดงทิศทาง
เป็นสัญลักษณ์แสดงทิศทางการทางานของ Flowchart
8.การอธิบายผังงาน
เป็นสัญลักษณ์แสดงการอธิบายผังงาน เพิ่มเติมหรือเป็นการหมายเหตุ (Comment)
หลักการจัดสัญลักษณ์และทิศทางของผังงาน
1.ต้องชัดเจนและดูง่าย
2.ต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเพียงจุดเดียว
3.ทิศทางการทางานจากบนลงล่าง หรือจากด้านว้ายไปด้านขวา
4.ลูกศรแต่ละเส้นบ่งบอกทิศทาง
5.คาอธิบายในกรอบภาพ ควรใช้ชิงสัญลักษณ์
แผนภาพการออกแบบโครงสร้าง
1.แผนภาพแบบเรียงลาดับ
คือ การเขียนให้ทางานจากบนลงล่าง สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์
จะเขียนเป็นผังงาน(Flowchart)ดังนี้
2.แผนภาพแบบทดสอบเงื่อนไข
คือใช้การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อการทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งมี 2 แบบ ดังนี้
2.1 แบบมีเงื่อนไขหนึ่งทางเลือก (if)
2.2 แบบมีเงื่อนไขสองทางเลือก (if-else) แสดงได้ดังตัวอย่าง การเขียนผังงานเพื่อเลือกซื้อโทรศัพท์มือถือ
3. แผนภาพแบบทาซ้า
การประมวลผลกลุ่มคาสั่งซ้าหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขที่กาหนด อาจเรียก ได้อีกแบบว่า การวนลูป
( Looping ) แบ่งหลักการทางานได้ 2 แบบ
3.1ผังโปรแกรมทาซ้าถ้าเงื่อนไขเป็นจริง จะใช้ในงานที่มีการตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าเป็นจริงจะทางานซ้าโดยจะ
ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการทางานทุกครั้ง
3.2 ผังโปรแกรมแบบทาซ้าจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จะใช้ในระบบที่ต้องทางานก่อนการตรวจสอบ
เงื่อนไข และทางานซ้าจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง
4. แผนภาพแบบทาซ้าตามจานวนที่ระบุ ใช้ในระบบที่ต้องทางานตามจานวนรอบที่กาหนด โดยเริ่มจากรอบ
เริ่มต้นไปยังรอบสุดท้าย ตามปกติแล้วค่าการนับรอบจะเพิ่มขึ้นครั้งละหนึ่งค่า
รหัสจาลองและพีดีแอล
รหัสจาลองหรือซูโดโค้ด(Pseudo Code) และพีดีแอล (PDL:Progam
Desigan Language) เป็นการอธิบายขั้นตอนการทางาของโปรแกรม สามารถ
ใช้ได้ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ซูโดโค้ดและพีดีแอล การทางานที่การอธิบายจะไม่
ขึ้นอยู่กับโปรกรมภาษาใดภาษาหนึ่ง มีการใช้ภาษาเข้าใจง่าย เป็นต้น
ตัวอย่างซูโดโค้ด
Input a number : ใส่ข้อมูลนาเข้าเป็นค่าตัวเลข
Input n : ป้อนข้อมูลตัวเลขของจานวนรายการทั้งหมด
บทที่ 2

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
Orapan Chamnan
 
SA Chapter 9
SA Chapter 9SA Chapter 9
SA Chapter 9
Nuth Otanasap
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตาalita122
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Wanit Sahnguansak
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
wanit sahnguansak
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศน้อย วิภาภรณ์
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
Komsun See
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
tumetr
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
B'Benz Sunisa
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kantida SilverSoul
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
Edz Chatchawan
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาNattapon
 

What's hot (19)

ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
SA Chapter 9
SA Chapter 9SA Chapter 9
SA Chapter 9
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตา
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
 

Viewers also liked

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
pianojrtk
 
Mídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel TolstoyMídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel Tolstoy
Gabriel130288
 
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNINGKONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
Ayundari67
 

Viewers also liked (7)

UAS Eks
UAS EksUAS Eks
UAS Eks
 
Certificates
CertificatesCertificates
Certificates
 
HLCM英文样册,2016
HLCM英文样册,2016HLCM英文样册,2016
HLCM英文样册,2016
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Mídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel TolstoyMídias globais - Gabriel Tolstoy
Mídias globais - Gabriel Tolstoy
 
tugas UTS
tugas UTStugas UTS
tugas UTS
 
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNINGKONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
KONSEP E-LEARNING DAN KELEBIHAN SERTA KELEMAHAN E-LEARNING
 

Similar to บทที่ 2

การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
B'Benz Sunisa
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Latcha MaMiew
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
Mussawan Jongjaroen
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
Ja Phenpitcha
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ABELE Snvip
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Thitikorn Prakrongyad
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Morn Suwanno
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 

Similar to บทที่ 2 (20)

ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

บทที่ 2