SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการแก้ไขปัญหา กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างมี
ระบบมี 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา เป็นขั้นตอนแรกก่อนที่จะลงมือ
แก้ปัญหาซึ่งผู้แก้ปัญหาทักจะไม่ให้ความสาคัญ เพราะเป็นขึ้นตอนที่ต้องใช้เวลา จนทาให้ผู้
แก้ปัญหารีบร้อนดาเนินการเลือกเครื่องมือหรือข้ามขึ้นตอนไปดาเนินการแก้ปัญหาเลยทันที
แท้จริงแล้วขึ้นตอนการวิเคราะห์นี้ถือว่าเป็นขึ้นตอนที่สาคัญที่สุด ก่อนที่จะมีการวางแผน
อย่างครอบคลุม
2.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา
เป็นขึ้นตอนการนาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และการกาหนด
รายละเอียดเกี่ยวกับปัญหามาทาความเข้าใจ นามาใช้เพื่อการวางแผน
ในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน โดยพิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่
มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในการแก้ปัญหาอย่างรอบคอบ ซึ่งจะทาให้ผู้
แก้ปัญหานั้นสามารถคาดคะเนวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหา
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการในการแก้ปัญหามี
ขั้นตอนย่อยๆ ตามลาดับ ดังนี้
2.1 การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาโดยพิจารณาความเหมาะสม
ระหว่างเครื่องมือกับเงื่อนไขต่างๆ ของปัญหา ซึ่งรวมถึงความสามารถของ
เครื่องมือ ในการแก้ปัญหาดังกล่าวและสิ่งสาคัญที่สุดคือความคุ้นเคยในการใช้
งานเครื่องมือนั้นๆ
2.2 การออกแบบวิธีในการแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือ
เครื่องมือในการแสดงขึ้นตอนการทางานให้ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น ผังงาน (
flowchart) ที่จาลองวิธีขึ้นตอนการแก้ปัญหาในรูปแบบลักษณ์จาลอง (
Pseudo Code )
3. การดาเนินการแก้ปัญหา เป็นขึ้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่
เลือกไว้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปหรือการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรม
แก้ปัญหา ขึ้นตอนนี้ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้อง
ศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะดาเนินการก็จะมีการประเมินผลในระหว่าง
การดาเนินการด้วย ซึ่งหากพบว่ามีแนวทาง ขั้นตอน เครื่องมือที่ดีกว่าที่ผู้แก้ปัญหา
ได้เคยออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนการดาเนินการใหม่ได้
4. การตรวจสอบและปรับปรุงวิธีการ หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วผู้
แก้ปัญหาจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยตรวจสอบ
ความสอดคล้องของขึ้นตอนวิธีกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก ข้อมูลเข้าและ
ข้อมูลออกเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลได้ทุกกรณีอย่างถูกต้องสมบูรณ์ ใน
ขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา
สิ่งที่ต้องการ
เป็นการบอกเกี่ยวกับงานที่ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล
และแสดงรูปแบบผลลัพธ์ออกมาให้ผุ้ใช้ในลักษณะใด ต้องการให้การแสดงผลลัพธ์มี
การแสดงผลกี่รูปแบบ เช่น ให้มีการแสดงผลทางหน้าจอภาพ และการแสดงผลออกมา
ทางเครื่องพิมพ์ ในการวิเคราะห์จาเป็นต้องเขียนหรือจดบันทึกให้ชัดเจน ระบุให้ได้ว่า
โจทย์หรือปัญหาที่วิเคราะห์ต้องการ เพราะสิ่งที่ต้องการนี้ คือ เป้าหมายของการ
แก้ปัญหา เพราะหากการทางานไม่สามารถตอบแสดงตอบสนองต่อสิ่งที่โจทย์ต้องการ
ก็ถือว่าเกิดความสูญเปล่าในการดาเนินการทั้งสิ้น
รูปแบบผลลัพธ์
เป็นการวิเคราะห์ถึงการแสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจาก
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลได้อย่างหลากหลาย ดังนั้นการวิเคราะห์
รูปแบบผลลัพธ์จึงต้องคานึงถึงปัจจัยรอบด้าน เพราะบางครั้งการวิเคราะห์โจทย์
หรือการเขียนโปรแกรมอาจไม่ได้ทากาหนดรายละเอียดของรูปแบบผลลัพธ์มาให้
อย่างชัดเจน
ข้อมูลนาเข้า
เมื่อผู้วิเคราะห์ได้ออกแบบรูปแบบของรายงาน ไม่ว่าจะเป็นการ
แสดงผลทางจอแสดงผล การพิมพ์รายงานออกทางเครื่องพิมพ์ หรือการแสดงผลผ่าน
ทางลาโพงต่างๆเสร็จสิ้นแล้ว สิ่งที่พิจารณาต่อคือ ข้อมูลที่ใช้ในกานาเข้า ว่าต้องการใช้
ข้อมูลนาเข้าอะไรบ้าง และลักษณะของข้อมูลที่นาเข้านั้นสัมพันธ์กับลักษณะของ
ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลหรือไม่ และถ้าหากนาเข้าข้อมูลลักษณะอื่น จะมีผลกระทบ
ต่อความยุ่งยากของผู้ใช้
ตัวแปรที่ใช้
เป็นการวางแผนเพื่อกาหนดตัวแปรสาหรับใช้แทนข้อมูลนาเข้าแต่ละ
ตัวและการกาหนดตัวแปรเพื่อใช้เก็บเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เกิดจากการประมวลผลของ
ข้อมูลนาเข้า การตั้งชื่อตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลต่างๆนั้น มีหลักเกณฑ์การตั้งชื่อ เพื่อใช้
ในการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
วิธีการประมวลผล
เป็นการวิเคราะห์วิธีดาเนินการหลังจากได้สิ่งที่ต้องการ รูปแบบ
ผลลัพธ์ ข้อมูลนาเข้า จนถึงตัวแปรที่ใช้มาแล้ว ซึ่งขั้นตอนนี้จะวิเคราะห์ความเป็นไป
ได้ที่จะต้องให้ได้ผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาตามต้องการ
การเลือกเครื่องมือและขั้นตอนการออกแบบ
วิธีการแก้ปัญหา
(Tools and Algorithm development)
1.การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา เป็นการกาหนดทรัพยากรที่จะใช้
แก้ปัญหา โดยควรเป็นทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว หรือเพิ่มประสิทธิภาพของ
เครื่องมือนั้นๆมากกว่าการจัดหามาเพิ่มเติม และควรกาหนดรายละเอียดให้
ชัดเจนพร้อมประเมินค่าใช้จ่ายด้วย
ตัวอย่าง : พนักงานจานวน 1 คน วุฒิขั้นต่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่า มี
ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ควรได้รับพิจารณาเป็นพิเศษ ค่าจ้างเดือนละ
2,000 บาท คอมพิวเตอร์ ตรวจสอบว่าสามารถใช้งานได้ปกติและมีโปรแกรม
สาหรับใช้งานได้ครบถ้วน
2. การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน เป็นการกาหนดแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาก่อนการปฏิบัติจริง โดยจะต้องกาหนดขั้นตอนเป็นลาดับขั้น แล้วจึงระบุ
ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาการปฏิบัติงานในตารางปฏิบัติงาน กาหนดวัตถุประสงค์
ที่ต้องการ
ตัวอย่าง :
ขั้นตอนที่ 1 จัดทาป้ายและติดประกาศรับสมัครพนักงาน
ขั้นตอนที่ 2 สร้างแผนผังการจัดวางชั้นหนังสือ โต๊ะคอมพิวเตอร์
ทางเข้า–ออกร้าน
ขั้นตอนที่ 3 ให้ช่างมาติดตั้งกระจก
ขั้นตอนที่ 4 จัดวางและติดตั้งชั้นหนังสือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอื่นๆ
ตามแผนผัง
ผังงาน
(flowchart)
ผังงาน (flowchart)
คือ แผนภาพซึ่งแสดงลาดับขั้นตอนของการทางาน โดยแต่ละขั้นตอนจะ
ถูกแสดงโดยใช้สัญลักษณ์ซึ่งมีความหมายบ่งบอกว่า ขั้นตอนนั้น ๆ มี
ลักษณะการทางาน ทาให้ง่ายต่อความเข้าใจ ว่าในการทางานนั้นมีขั้นตอน
อะไรบ้าง และมีลาดับอย่างไรเเบ่งเป็นเเบบต่างๆดังนี้
1.ผังงานโปรแกรม ( Program
Flowchart )
การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐาน
ต่าง ๆ ที่เรียกว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National
Standards Institute ) ในการสร้างผังงาน ดังตัวอย่างที่
แสดงในรูปต่อไปนี้
2.ผังงานกับชีวิตประจาวัน
การทางานหลายอย่างในชีวิตประจาวัน จะมีลักษณะที่เป็นลาดับ
ขั้นตอน ซึ่งก่อนที่ท่านจะได้ศึกษาวิธีการเขียนผังงานโปรแกรม จะ
แนะนาให้ท่านลองฝึกเขียนผังงานที่แสดงการทางานในชีวิตประจาวัน
วันก่อนเพื่อเป็น การสร้างความคุ้นเคยกับสัญลักษณ์รูปภาพต่าง ๆ ที่จะ
มีใช้ในผังงานโปรแกรมต่อไป ดังตัวอย่าง เขียนผังงานที่แสดงขั้นตอน
การส่งจดหมาย
รหัสจาลองหรือซูโดโค้ด (Pseudo Code) และพีดีแอล(PDL: Program Design
Languauag) เป็นการอธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรมที่ได้วิเคราะห์และออกแบบ
มาแล้ว โดยใช้ถ้อยคาคาบรรยายที่เป็นภาษาท้องถิ่น คือ สามารถใช้ได้ทั้งภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ โดยที่ซูโดโค้ดและพีดีแอล จะมีลักษณะที่คล้ายกับผังงาน คือ การอธิบายจะไม่
ขึ้นอยู่กับโปรแกรมภาษาใดภาษาหนึ่ง ผู้ที่อ่านสามารถนาซูโดโค้ดและพีดีแอล ไปใช้สาหรับเขียน
โปรแกรมได้จริง โดยใช้ตัวแปลภาษาซี ภาษาเบสิก ภาษาจาวา ก็ได้ทั้งสิ้น
การอธิบายซูโดโค้ดและพีดีแอล จะต้องใช้ภาษาที่สามารถสื่อสารเข้าใจได้ง่ายและสั้น
กะทัดรัดสื่อความหมายได้ทันทีที่อ่าน โดยที่ซูโดโค้ดและพีดีแอล มีการใช้งานเพื่อสื่อสารแบบ
กว้างๆ แบบผังงานระบบ และการใช้งานเพื่ออธิบายแบบละเอียดเหมือนกับผังงานโปรแกรม
ตัวอย่าง ซูโดโค้ด
Input a mumber : ใส่ข้อมูลนาเข้าเป็นค่าตัวเลข
Find the sum of the number : คานวณรวมค่าตัวเลขที่นาเข้า
Print the sum : แสดงผลรวมของข้อมูลของข้อมูลทั้งหมด
ในกรณีที่เขียนซูโดโค้ดเพื่อใช้ประกอบการเขียนโปรแกรม จะต้องเขียนอธิบายขั้นตอนให้ละเอียดขึ้น
จากตัวอย่างซูโดโค้ดที่กล่าวมา สามารถเขียนได้ดังนี้
Ask user of a vale for n :กรอบคาถาม จานวนรายการที่ต้องการป้ อนทั้งหมด
Input n : ป้ อนข้อมูลตัวเลขของจานวนรายการทั้งหมด
Input a number : ป้ อนค่าตัวเลขที่ต้องการคานวณผลรวม
Find the sum of the number : คานวณรวมค่าตัวเลขที่นาเข้า
Print the sum : แสดงผลรวมของข้อมูลทั้งหมด
จากซูโดโค้ดนี้ จะเห็นว่าขั้นตอน Input a number สามารถแยกขั้นตอนย่อย
เพิ่มเป็น 3 ขั้นตอนทาให้การอ่านและเขียนโปรแกรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น
การเลือกเครื่องมือเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาแต่ละเครื่องมือ ไม่ว่าจะเป็นผังงานแบบ
ใดแบบหนึ่ง หรือการใช้ซูโดโค้ดและพีดีแอล ก็เป็นแนวทางในการสื่อสารเพื่อให้
ผู้อื่นสามารถเข้าใจในหลักการขั้นตอนการแก้ปัญหาของผู้วิเคราะห์ การสื่อสารที่ดี
ชัดเจนก็จะสามารถนาไปสู่การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. แผนภาพการออกแบบโครงสร้าง
เนื่องจากผังงานเป็นการถ่ายทอดความคิดในการแก้ไขปัญหา โดยใช้
สารสนเทศที่มีมานานแล้ว จึงทาให้สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานและรูปแบบ
ของผังงาน ไม่สามารถสนองตอบต่อขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ที่พัฒนาในปัจจุบัน
สัญลักษณ์ภายใต้ดีเอสดีจะคล้ายคลึงกับผังงาน แต่จะมีการเพิ่มเติมดัดแปลงให้
เหมาะสมกับภาษาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันให้มากขึ้น
2.1 แผนภาพแบบเรียงลาดับ (sequencr)
ในแผนภาพจะเพิ่มNซึ่งแทนการทางานของโหนดงาน(NODE) แต่ละโหนด
และเส้นทางเดินที่เพิ่มเข้ามาเพื่อแสดงให้เห็นชัดเจนว่า ขั้นตอนการทางานจะต้องเข้า
ไปทางานในแต่ละโหนดให้เสร็จก่อน แล้วจึงวิ่งออกมาที่เส้นทางเดิม ก่อนที่จะไป
ทางานในโหนดต่อไป
2.2 แผนภาพแบบทดสอบเงื่อนไข
การทางานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์พบบ่อยครั้งที่ผู้เขียนโปรแกรมจาเป็นต้อง
สร้างเงื่อนไขให้เกิดทางเลือกในการประมวลผล
2.3 แผนภาพแบบทาซ้า
ในการประมวลทางคอมพิวเตอร์ที่ต้องทางานซ้านั้น แบ่งหลักการทางานซ้า
ได้เป็น 2 แบบ คือ
1) การทางานซ้าโดยไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข
2) การทางานซ้าโดยมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนหรือหลัง
2.4 แผนภาพแบบคาสั่งเรียกโปรแกรมย่อยและการอธิบายเพิ่มเติม
แผนภาพแบบดีเอสดี จะเห็นว่าสัญลักษณ์ในการใช้งานมีความหมายกว้างขึ้น
โดยเส้นทางการเดินข้อมูลสามารถใช้เครื่องหมายชี้ทางเดินไปและทางเดินกลับใน
เส้นทางเดียวกัน ซึ่งโปรแกรมในปัจจุบันมีการทางานที่พัฒนามากขึ้น
อ้างอิง
อาจารย์ริปอง กัลป์ ติวาณิชย์ . การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ .
๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ : บริษัทพัฒนา
คุณภาพวิชาการ (พ.ว) จากัด . ๒๕๕๘
สมาชิกในกลุ่ม2
• นางสาวอัยการณ์ โพธิ์ทอง เลขที่16 ม.5/3
• นางสาวกาญจนา ป้องกัน เลขที่20 ม.5/3
• นางสาวณัฐธิดา หลิ่ววรกุล เลขที่21 ม.5/3
• นางสาวอริษา ทองศรี เลขที่25 ม.5/3
• นางสาวขวัญชนก แพร่อาพา เลขที่26 ม.5/3
• นางสาวจิณณพัต โอภากุลวงษ์ เลขที่27 ม.5/3
• นางสาวชรินรัตน์ แสงสุรีย์ฉาย เลขที่28 ม.5/3
• นางสาวสุทธิบุตร บุญมาคาร เลขที่29 ม.5/3
• นางสาวมรรษวัณฎ์ จงเจริญ เลขที่31 ม.5/3

More Related Content

What's hot

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Todsapol Aryuyune
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Todsapol Aryuyune
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1chanakan12
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Phichak Penpattanakul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Surasak Piengta
 

What's hot (17)

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
ส่งคอม
ส่งคอมส่งคอม
ส่งคอม
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Viewers also liked

บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Disney Consumer Products : Marketing Nutrition to Children
Disney Consumer Products : Marketing Nutrition to ChildrenDisney Consumer Products : Marketing Nutrition to Children
Disney Consumer Products : Marketing Nutrition to ChildrenDisha Itkelwar
 
Project Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le Parkour
Project Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le ParkourProject Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le Parkour
Project Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le ParkourThaissa Fischer
 
THE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEIN
THE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEINTHE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEIN
THE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEINYash Pandya
 
sistema de salud en Estados Unidos
sistema de salud en Estados Unidossistema de salud en Estados Unidos
sistema de salud en Estados Unidoscecilia garcia
 

Viewers also liked (11)

บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
Disney Consumer Products : Marketing Nutrition to Children
Disney Consumer Products : Marketing Nutrition to ChildrenDisney Consumer Products : Marketing Nutrition to Children
Disney Consumer Products : Marketing Nutrition to Children
 
Project Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le Parkour
Project Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le ParkourProject Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le Parkour
Project Presentation by Thaissa Fischer_Feb2015_Metro Rio_Le Parkour
 
Computacion
ComputacionComputacion
Computacion
 
SDatar+CBowler_2015
SDatar+CBowler_2015SDatar+CBowler_2015
SDatar+CBowler_2015
 
THE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEIN
THE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEINTHE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEIN
THE STRUCTRAL AND FUNCTIONAL STUDY OF FIBRILLIN-1 PROTEIN
 
Hjmt
HjmtHjmt
Hjmt
 
Perifericos mixtos
Perifericos mixtosPerifericos mixtos
Perifericos mixtos
 
gradijator- testna
gradijator- testnagradijator- testna
gradijator- testna
 
sistema de salud en Estados Unidos
sistema de salud en Estados Unidossistema de salud en Estados Unidos
sistema de salud en Estados Unidos
 

Similar to คอมทรงสัก1

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาjintana_pai
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4Rattana Wongphu-nga
 

Similar to คอมทรงสัก1 (20)

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
1
11
1
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 

คอมทรงสัก1