SlideShare a Scribd company logo
กระบวนการการแก้ปัญหาา
การแก้ปัญหาาอย่างมีระบบจะมีกระบวนการแก้ไขปัญหาาอยู่ 4
ขั้นตอนดังนี้
1. การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียดของ
ปัญหาา
2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
วิธี
3. การดาเนินการแก้ปัญหาา
4. การตรวจสอบและปรับปรุง
วิธีการ
เป็นขั้นตอนแรกสุดของการทางาน เป็นขั้นตอนที่ไม่ควรมองข้าม
ไปเด็ดขาด เพื่อทาความเข้าใจกับปัญหา ในการวิเคราะห์งานมี
แนวทางหลายรูปแบบซึ่งมีขั้นตอนและวิธีการที่คล้ายๆ กัน โดมี
รูปแบบที่ใช้แก้ปัญหามี 5 ขั้นตอนดังนี้
1. สิ่งที่ต้องการ
เป็นการบอกเกี่ยวกับงานที่ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล
และแสดงรูปแบบผลลัพธ์ออกมาให้ผู้ใช้ในลักษณะใด ต้องการให้แสดงผล
ลัพธ์มีการแสดงผลกี่รูปแบบ เช่น ให้มีการแสดงผลออกมาทางเครื่องพิมพ์
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
2. รูปแบบผลลัพธ์
เป็นการวิเคราะห์ถึงการแสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจาก
คอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลออกมาได้อย่างหลากหลาย เป็นหน้าที่ของผู้
วิเคราะห์ที่ต้องออกแบบผลลัพธ์ให้เหมาะสมกับข้อมูลและการนาไปใช้อย่าง
ลงตัว ดังนั้น การวิเคราะห์รูปแบบผลลัพธ์ผู้วิเคราะห์ต้องวิเคราะห์ให้ผลลัพธ์
ที่แสดงออกมาสามารถสื่อสาร สื่อความหมายกับผู้ใช้ได้ตรงกันและชัดเจน ดัง
ตัวอย่าง 1.รายงานเงินเดือนครูและบุคลากร
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
2. รายงานผลการเรียน 3. รายงานใบรับเงิน
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
3. ข้อมูลนาเข้า
ข้อมูลที่ต้องนาเข้าว่าต้องการใช้ข้อมูลนาเข้าอะไรบ้าง และลักษณธของ
ข้อมูลของข้อมูลที่นาเข้านั้นสัมพันธ์กับลักษณะของข้อมูลที่ต้องการแสดงผล
หรือไม่
การพิจารณาข้อมูลที่นาเข้า ผู้วิเคราะห์ต้องวางแผนเกี่ยวกับชนิดข้อมูล
เพราะข้อมูลแต่ละชนิดมีความสามารถและการคานวณที่ได้ผลลัพธ์แตกต่างกัน
ซึ่งจะส่งผลต่อการประกาศชนิดตัวแปรที่ใช้เก็บข้อมูลนาเข้า และส่งผลถึงผลลัพธ์
ที่ใช้ในการแสดงผลที่ถูกต้อง
ตัวอย่างที่1 กรณีรายงานผลการเรียนข้อมูลที่ต้องนาเข้า ได้แก่ ฃื่อโรงเรียน รหัส
วิชา ชื่อวิชา ชื่อครูผู้สอน ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา ชื่อ-นามสกุลนักเรียน คะแนน
เต็ม คะแนนที่ได้ หรืออื่นๆ
ข้อมูลนาเข้านี้ผู้วิเคราะห์ต้องพิจารณาในทางปฏิบัติด้วยว่า ต้องนาเข้าได้
สะดวก ผิดพลาดน้อย ไม่ซับซ้อน เช่น การกรอกข้อมูลที่โปรแกรมสามารถเก็บไว้
ในฐานข้อมูลได้ไม่ต้องนาเข้าหลายๆครั้ง และข้อมูลที่ใช้ความสามารถของ
คอมพิวเอร์ได้ เช่น วัน วันที่ เวลาปัจจุบัน สิ่งเหล่านี้สามารถใช้การนาเข้าแบบ
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
4.ตัวแปรที่ใช้
เป็นการวางแผนเพื่อกาหนดตัวแปรสาหรับใช้แทนข้อมูล
นาเข้าแต่ละครั้ง และในการกาหนดตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่
เกิดจากการประมวลผลของข้อมูลนาเข้า หลักเกณฑ์การตั้งชื่อ เพื่อ
ใช้ในการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป ดังนี้
4.1 ตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษหรือ
สัญลักษณ์ “ _ ” (Underscore) ใม่ควนใช้ภาษาท้องถิ่น
4.2 ต้องคานึงถึงอักษรพิมพ์ใหญ่พิมเล็ก เพราะซอฟว์
บางอย่างไม่คานึงถึงตัวพิมพ์ใหญ่พิมพ์เล็ก แต่บางซอฟต์แวร์จะ
คานึงถึง เช่น
MAX = mAX xaM AmX
ดังตัวอย่างบางโปรแกรมเมื่อพิมพ์คานี้อาจถือว่าเป็นตัว
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
4.3 ชื่อของตัวแปรให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของตัวแปลภาษาที่ใช้ในการ
เขียนโปรแกรมไม่ซ้ากับคาสงวน เช่น Format End ฯ ซึ่งซอฟต์แวร์หรือตัว
แปลภาษาจะมีการระบุวิธุใช้ซึ่งคล้ายคลึงกัน ควรทาความเข้าใจ
4.4 งดใช้เครื่องหมายต่อไปนี้ในการตั้งชื่อโปรแกรม ! , @ , # , $ ,
฿ , ^ , % , & , ^ , ( , ) , - , = ,  , + ถึงแม้บางตัวแปลจะสามารถ
ใช้ได้ แต่ก็ไม่สมควรใช้ ควรงดเว้นเครื่องหมายที่สงวนไว้ก็จะทาให้เกิดวิในการตั้งชื่อ
ตัวแปร และจะทาให้สามารถนาไปใช้กับขั้นตอนต่อไปได้
4.5 ชื่อของตัวแปรควรสื่อความหมายถึงข้อมูลที่นาเข้า เช่น
ถ้าตั้งชื่อไม่สื่อความหมายถึงข้อมูลที่นาเข้า
จะทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสับสนและไม่สามารถจาได้และจะปรับปรุง
ได้ยาก และถ้ามีผู้เขียนโปรแกรมมากๆจะทาให้ไม่เข้าใจตรงกัน
จึงควรตั้งชื่อตัวแปรให้สื่อความหมายกับข้อมูล หากผู้วิเคราะห์ตั้งชื่อตัวแปรให้
ถูกต้อง เป็นไปตามกฎเกณฑ์การตั้งชื่อตัวแปร จะทาให้ลดคามซ้าซ้อนในการทางาน
ตัวแปร ใช้เก็บข้อมูล
Score คะแนนนักเรียน
id เลขประจาตัวนักเรียน
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
5.วิธีการประมวลผล
เป็นการวิเคราะห์วิธีดาเนินการหลังจากได้สิ่งที่ต้องการ รูปแบบ
ผลลัพธ์ ข้อมูลนาเข้า จนถึงตัวแปรที่ใช้มาแล้ว ซึ่งขั้นตอนนี้จะวิเคราะห์
ความเป็นไปได้ที่จะต้องให้ได้ผลลัพธ์ของการปัญหาตามต้องการ
5.1 วิธีการรับข้อมูลเพื่อประมวลผล แนวทางในการประมวลผลมี2
แนวทางดังนี้
แนวทางที่1 รับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทีละรายการ โดยเก็บค่า
ต่างๆไว้ในตัวแปรที่กาหนดไว้ทีละรายการ หลังจากนั้นก็ประมวลผลใน
รายการนั้นๆ จึงเริ่มต้นวนรับค่ารายการใหม่จนครบข้อมูลนาเข้า ดังภาพที่
แสดง
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
แนวทางที่ 2 ใช้วิธีการรับข้อมูลเข้าทั้งหมด โดยการป้ อนข้อมูล
นาเข้าทุกรายการใส่ในตัวแปรจนครบ เมื่อครบแล้วจึงทาการประมวลผล
เพียงครั้งเดียววิธีการนี้จะมีการประมวลผลที่ซับซ้อน ใช้หน่วยความจา
ค่อนข้างมาก ดังที่ภาพแสดง
จากตัวอย่างทั้ง2วิธีจะพบข้อดี-ข้อเสียแตกต่างกันไป โดย
วิธีการรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทีละรายการจะใช้หน่วยความจาน้อย
การวิเคราะา์และกาานดรายละเอียด
ของปัญหาา
5.2 การทดสอบข้อมูลสุดท้าย
เป็นการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางการเริ่มคานวณผลลัพธ์ของข้อมูลที่ถูก
นาเข้าเสร็จแล้ว ซึ่งจาเป็นต้องสร้างเหตุการณ์สาหรับกระตุ้นให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ได้รับรู้ว่าข้อมูลนาเข้านั้นสิ้นสุดแล้ว ให้เริ่มทาการคานวณเพื่อ
ประมวลผลลัพธ์ โดยมีแนวทางดังนี้
1) การใช้ค่าของข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งที่ไม่ใช่ค่าที่เป็นไปได้ เพื่อกระตุ้นหรือ
สั่งการให้
คอมพิวเตอร์เข้าสู่ขั้นตอนการประมวลผล เช่น การทางานแบบโครงสร้าง
2) การใช้วิธีการกาหนดตัวแปรเพื่ออีกตัวหนึ่ง เพื่อใช้สาหรับการนับ เพิ่ม
ค่าเพื่อทดสอบข้อมูลสุดท้าย เช่น การสร้างตัวแปรนับข้อมูลนาเข้าทีละรายการ
จะเห็นได้ว่า วิธีการวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับปญหาทั้ง
5 ขั้นตอนนี้จะสามารถมองเห็นแนวทางในการปฏิบัติงานในการแก้ปัญหา
มีแนวทางในการเลือกเครื่องมือ และแนวทางการดาเนินการแก้ปญหาอย่าง
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหาา เป็น
ขั้นตอนของการการวางแผนในการแก้ไขปัญหาด้วยความรอบครอบและ
สมเหตุสมผล ซึ่งเกิดจากการวิเคราะห์ปัญหาอย่างถ่องแท้ทาความเข้าใจกับ
ปัญหาโดยศึกษาข้อมูลและเงื่อนไขที่มีข้อมูลที่ได้ถูกกาหนดไว้ให้ และสิ่งที่โจทย์
ต้องการ
โดยขั้นตอนนี้จะเป็นการใช้ประสบการณ์ในการคาดคะเนวิธีการในการ
แก้ปัญหา หากผู้แก้ปัญหาเคยมีประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหานี้มาก่อน หรือ
ปัญหาที่แก้มีโครงสร้างของปัญหาที่คล้ายคลึงกันผู้แก้ปัญหาก็จะถ่ายโอน
ประสบการณ์มาใช้กับปัญหาที่พบ
ในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนระยะเวลาการแก้ปัญหาผ่านไปนานแล้ว และ
วิธีการแก้ปัญหาที่พบออกแบบไว้นั้นยังไม่ได้ถูกนามาใช้ทันที อาจทาให้เกิดการ
หลงลืม จึงควรจดบันทึกการแก้ปัญหาไว้ในรูปแบบผังงาน(flowchart)หรือ
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
ผังงานเป็นการอธิบายลาดับการทางานโดยใช้
สัญลักษณ์ที่มีรูปร่างต่างๆโดยมีความหมายตามที่ตกลง
กันควบคู่กับการ
กาหนดทิศทางด้วยเส้นที่มีลูกศร เพื่อแสดงการไหลของ
ข้อมูลหรือลาดับการทางานโดยมีตาแหน่งของวิธีการ
ทางาน
เพียงตาแหน่งเดียวและตาแหน่งสิ้นสุดการทางาน
เพียงจุดเดียวเช่นกัน
1. ผังงาน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
1.1 ประเภทของผังงาน ผังงานที่ใช้ในการอธิบายการ
ทางานในคอมพิวเตอร์จาแนกได้เป็น2ประเภทดังนี้
1) ผังงานระบบ เป็นผังงานภายในระบบหนึ่งๆ
โดยรวม
ซึ่งจะแสดงถึงความเกี่ยวข้องของส่วนที่สาคัญต่างๆ
ในระบบนั้น ผังงานระบบอาจเกี่ยวข้องกับ คน วัสดุ
และเครื่องจักร ซึ่งแต่ละจุจะประกอบไปด้วยการนาข้อมูล
เข้า วิธีการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์
(Input-Process-Output)ว่ามาจากที่ใดอย่าง
กว้างๆ
โดยจะไม่บอกรายละเอียดของการปฏิบัติมากนัก
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
2) ผังงานโปรแกรม หรือเรียกสั้นๆว่าผังงานผังงาน
ประเภทนี้จะ แสดงถึงขั้นตอนของคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรม
ซึ่งอาจสร้างขึ้นจากผัง งานระบบ โดยผู้เขียนผังงาน
จะต้องดึงเอาแต่จุดที่เกี่ยวข้องกับ การทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังระบบมาเขียน เพื่อให้
ทราบว่าจะใช้คอมพิวเตอร์ทางานในจุดนั้น และได้รับ
ผลที่ต้องการ ควรที่จะมีขั้นตอนคาสั่งอย่างไรจึงจะนามา
เขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์ทางานต่อไป ดัง
ตัวอย่าง
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
1.2 ประโยชน์และข้อจากัดของผังงาน
1) ประโยชน์ของผังงาน
ผังงานเป็นเอกสารประกอบโปรแกรม ซึ่งจะช่วยให้
การศึกษาลาดับขั้นตอนของโปรแกรมง่ายขั้น จึงนิยมเขียนผัง
งานระบบประกอบการเขียนโปรแกรม ด้วยเหตุผลดังนี้
1. คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงาน
ระบบได้ง่าย เพราะผังงานระบบไม่ขั้นอยู่กับ
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ
2. ผังงานระบบเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ
ทาให้ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณาถึงลาดับข้นตอนในการ
ทางาน ซึ่งน่าจะดีกว่า
บรรยายเป็นตัวอักษร การใช้ข้อความหรือคาพูดอาจจะสื่อ
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
3. ในงานโปรแกรมที่ไม่สลับซับซ้อน
สามารถใช้ผังงานระบบตรวจสอบความถูกต้องของ
ลาดับขั้นตอนได้ง่าย ถ้ามีที่ผิดในโปรแกรมจะแก้ไขได้
สะดวกและรวดเร็วขั้น
4. การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผัง
งานระบบ สามารถทาให้รวดเร็วและง่ายขั้น
5. การบารุงรักษาโปรแกรมหรือการ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพถ้าดูจาก
ผังงานระบบจะช่วยให้สามารถทบทวนงานในโปรแกรม
ก่อนปรับปรุงได้ง่ายขั้น
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
2) ข้อจากัดของผังงาน
ผู้เขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานก่อนที่
จะเขียนโปรแกรมเพราะเสียเวลาในการเขียนเป็นรูปภาพหรือ
สัญลักษณ์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุผลอื่น ๆ ได้แก่
1. ผังงานเป็นการสื่อความหมาระหว่างบุคคลต่อ
บุคคลมากกว่าที่จะสื่อความหมายระหว่างบุคคลกับเครื่อง
เพราะผังงานระบบไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษา
หนึ่ง ทาให้เครื่องไม่สามารถรับและเข้าใจว่าในผังงานระบบนั้น
ต้องการให้ทาอะไร
2. บางครั้งเมื่อพิจารณาจากผังงานจะไม่สามารถ
ทราบ
ได้ว่า ขั้นตอนการทางานใดสาคัญกว่ากัน เพราะทุก ๆ ขั้นนอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
3. การเขียนผังงานเป็นการสิ้นเปลือง เพราะจะต้องใช้กระดาษ
และอุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบการเขียนภาพ บางครั้งการเขียนผังงานระบบ
อาจจะต้องใช้กระดาษมากกว่า 1 แผ่นทั้ง ๆ ที่การอธิบายงานเดียวกันจะ
ใช้เนื้อที่เพียง 3-4 บรรทัดเท่านั้น
4. ผังงานจะมีขนาดใหญ่ ถ้าโปรแกรมที่พัฒนาเป็นงานใหญ่ ทา
ให้ผังงานระบบแลดูเทอะทะไม่คล่องตัว และถ้ามีการปรับเปลี่ยนผังงาน
ระบบจะทาได้ยาก บางครั้งอาจจะต้องเขียนผังงานขั้นใหม่
5. ในผังงานจะบอกขั้นตอนการปฏิบัติงานว่าเป็นลาดับอย่างไร
ปฏิบัติงานอะไรแต่จะไม่ระบุให้ทราบว่าทาไมจึงต้องเป็นลาดับและต้อง
ปฏิบัติงานอย่างนั้น
6. ในภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ภาษาซี ผังงาน
ระบบไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งในภาษาได้ชัดเจน ตรงไปตรงมา
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
1.3 สัญหลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน การเขียนผังงาน
เป็นการเขียนแผนภาพเพื่อแสดงขั้นตอนการทางาน โดยนา
ภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน สัญลักษณ์ที่นิยมใช้ใน
การเขียนผังงานนั้น หน่วยงานที่ชื่อว่า American
National Standards Institute (ANSI)
และ International Standard
Organization (ISO) ได้ร่วมกันกาหนดสัญลักษณ์
มาตรฐานเพื่อใช้ในการเขียนผังงานดังแสดงในตาราง โดยมี
ตัวอย่างสัญลักษณ์และการใช้งานดังนี้
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
สัญหลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
สัญหลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
สัญหลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
สัญหลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
1.4 าลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน การเขียนแผนผังจะมีขั้นตอนใน
การเขียนที่สาคัญประกอบกันดังนี้
1. การกาานดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโปรแกรม โดยการเริ่มต่
ฝ้ นผังงานหลักใช่ Start สิ้นสุดใช้ End ผังงานย่อยที่อยู่ในผังงาน
หลักใช้ Begin ออกจากผังงานย่อยใช้ Stop
2. การกาานดค่าแรกเริ่ม การกาานดค่าและการคานวณ
จะเขียนวิธีการคานวน การประมวลผล หรือการกาหนดเป็นค่าตัวแปร
ค่าคงที่ สาหรับใช้ในการคานวณขั้นตอนเหล่านี้จะเขียนข้อความฑ
ภายในสัญลักสี่เหลี่ยมซึ่งมีลูกศรเข้าออกได้อย่างล่ะ1ทิศทาง
3. การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล ที่ยังไม่ได้กาหนด
วิธีการรับข้อมูลนาเข้า จะใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานแสดงตัว
แปรที่ใช่รับข้อมูลนาเข้าก่อนประมวลผล สัญลักษณ์นี้มีลูกศรเข้าและ
ออกได้อย่างลาะ 1 ทิศทาง
4. การทดสอบ การทดสอบตรรกะเกี่ยวกับตัวแปรค่าใดค่า
หนึ่งว่าเป็นหรือจิงไม่ โดยการใช้รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยมีเส้นทาง
เข้า 1 ทิศทาง และเส้นทางออกอาจมากกว่า 1 ทิศทาง
5. จุดต่อและการเชื่อมโยงระาว่างาน้า การเขียนผังงาน
อาจจะมีมากกว่า 1 แผ่นจะเชื่อมต่อหรืออ้างอิงตาแหน่งที่อยู่คนละ
หน้าจะใช้สัญลักษณ์ 5 เหลี่ยมแทนแต่ถ้าหน้าเดียวกันกันใช่
สัญลักษณ์วงกลมแทน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
1.5 าลักการจัดสัญหลักษณ์และทิศทางของผังงาน เป็นการ
กาหนดแนวทางการถ่ายทอดข้อมูลให้ผู้อื่นรับรู้เพื่อให้สามารถวิเคราะห์
และแก้ปัญหาได้ตรงกัน มีหลักการดังนี้
1. ผังงานต้องชัดเจนและดูง่าย
2. ต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดจุดเดียวเท่านั้น
3. ทิศทางของการทางานต้องมีทิศจากด้านบนลงสู่ด้านล่างหรือจาก
ซ้ายไปขวาเท่านั้น
4. สัญลักษณ์ที่มีการทดสอบในเชิงตรรกะ ต้องมีคาตอบที่ถูกต้องที่
สามารถทาให้โปรแกรมดาเนินต่อไปได้
5. ลูกศรแต่ละเส้นที่บ่งบอกทิศทาง ต้องไม่ตัดหรือทับเส้นทางกัน
6. ผังงานที่มีขั้นตอนการคานวณประมวลผลควรให้อยู่หน้าเดียวกัน
จนจบการคานวณ
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
เนื่องจากผังงานเป็นการ
ถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาจึงทา
ให้สัญลักษณ์ไม่สามารถตอบสนองต่อ
ขั้นตอนในปัจจุบัน จึงมีการพัฒนา
แผนภาพใหม่ซึ่งแผนภาพนี้เรียกว่า ดีเอ
สดี
สัญลักษณ์ภายใต้ดีเอสดีจะ
คล้ายคลึงกับผังงานแต่จะมีการเพิ่มเติม
ดัดแปลงให้เหมาะสมกับ
ภาษาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ดังตัวอย่าง
2.แผนภาพการออกแบบ
โครงสร้าง
2.1 แผนภาพแบบ
เรียงลาดับ
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
2.2 แผนภาพแบบทดสอบเงื่อนไข
การทางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องสร้าง
เงื่อนไขให้เกิดทางเลือกในการประมวลผล ยกตัวอย่างการ
ประเมินผลที่มีทางเลือก 2 ทาง ดังนั้นการเขียนแผนภาพในการ
ทางานจะช่วยอานวยความสะดวกให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียน
โปรแกรมได้อย่างถูกต้อง
1. If Then Else แผนภาพการทางานที่มี
ทางเลือกตั้งแต่ 2 ทางขึ้นไป
2. Do Case – End Case ผังการทางาน
ที่มีทางเลือกหลายๆ ทาง
2.3 แผนภาพแบบทาซ้า
แบ่งหลักการทางานซ้าได้ 2 แบบ คือ
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
2. การทางานซ้าโดยมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อน
หรือหลัง ซึ่งโปรแกรมจะตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงหรือไม่
หากเป็นจริงแล้วจึงสั่งให้ทางานในขั้น A,B,C แล้ววน
กลับมาทางานใหม่
2.4 แผนภาพแบบคาสั่งเรียกโปรแกรมย่อยและการอธิบาย
เพิ่มเติม
จากภาพแบบดีเอสดี จะเห็นว่าสัญลักษณ์ในการใช้
งานมีความหมายกว้างขึ้น โดยเส้นทางการเดินข้อมูลสามารถ
ใช้เครื่องหมายชี้ทางเดินไปและทางเดินกลับในเส้นทาง
เดียวกัน ทาให้สามารถตอบสนองการเขียนผังงานของผู้เขียน
โปรแกรมและสื่อความหมายระหว่างบุคคลทั่วไปกับผู้เขียน
โปรแกรมได้ตรงกัน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีใน
การแก้ปัญหาา
รหัสจาลองหรือซูโดโค้ด (Pseudo Code) และพี่ดีแอล
(PDL : Program Design Language) เป็นการอธิบาย
ขั้นตอนการทางานของโปรแกรมโดยใช้ถ้อยคาบรรยายที่เป็นภาษาท้องถิ่น โดย
ที่ซูโดโค้และพีดีแอลจะมีลักษณะที่คล้ายกับผังงาน ซึ่งจะต้องใช้ภาษาที่เข้าใจ
ง่ายและสั้นกะทัดรัด สื่อความหมายได้ทันทีที่อ่าน
3. ราัสจาลองและพีดีแอล
(PDL)
ชื่อสมาชิก
นายกวิน หลิมย่านกวย
เลขที่ 1
นายพาคร พรหมวรรณ
เลขที่ 5
นายนครินทร์ หรสิทธิ์ เลขที่
8
นางสาวปทิตตา อินทรโสภา
เลขที่ 10
นางสาวปิยกมล ปูรณวัฒนกุล
เลขที่11
นางสาวลัชชา ยมะคุปต์
เลขที่13
นางสาวเกศิณี อุฬูทิศ
เลขที่ 15
นางสาวจุฑารัตน์ โชติกาญจนวงศ์
เลขที่ 18
นางสาวปิยธิดา อมรมงคลศิลป์
เลขที่ 20
นางสาวณิชกานต์ แดงจันทร์
เลขที่ 29ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

More Related Content

What's hot

ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศgiggle036
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ณัฐพล บัวพันธ์
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Thawatchai Rustanawan
 
แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1
chanakan12
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
Thanatchaporn Yawichai
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
โรงเรียนอนุบาลระนอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
Me'e Mildd
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Toolแผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
Orasa Deethung
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8Phongphat Tansi
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
Ritthipon Ponjakfa
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
Anawat Supappornchai
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
cheekymoodygirl92
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
Rachanok Songsang
 

What's hot (19)

ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1แบบทดสอบ 1
แบบทดสอบ 1
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
Com
ComCom
Com
 
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Toolแผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อะไรก็ได้
อะไรก็ได้อะไรก็ได้
อะไรก็ได้
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
 

Similar to บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
pianojrtk
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
benz18
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
warathip pongkan
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
เอ็ม พุฒิพงษ์
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
wanit sahnguansak
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
Komsun See
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Thitikorn Prakrongyad
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Wanit Sahnguansak
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
Nunnaphat Chadajit
 
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหาใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
Munmuang Tik
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
B'Benz Sunisa
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 

Similar to บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหาใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 

More from Latcha MaMiew

Method
MethodMethod
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
Latcha MaMiew
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
Latcha MaMiew
 
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
Latcha MaMiew
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
Latcha MaMiew
 
It news
It newsIt news
It news
Latcha MaMiew
 
It News
It NewsIt News
It News
Latcha MaMiew
 

More from Latcha MaMiew (7)

Method
MethodMethod
Method
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
It news
It newsIt news
It news
 
It News
It NewsIt News
It News
 

บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ