SlideShare a Scribd company logo
 โดยปกติมนุษย์มีกระบวนในการแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ
1) การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา (State The Problem)
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา
แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามไปจุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทาความเข้าใจ
กับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กาหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหา
คืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผลกล่าวโดยสรุปมีองค์ประกอบในการ
วิเคราะห์ดังนี้
การระบุข้อมูลเข้า
ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา
การระบุข้อมูลออก
ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคาตอบ
การกาหนดวิธีประมวลผล
ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคาตอบหรือข้อมูลออก
2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา (Tools And
Algorithm Development)
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน
หลังจากที่เราทาความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่
และสิ่งที่ต้องการหาในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วนหลังจากที่เราทาความ
เข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอน
ที่ 1แล้วเราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหาขั้นตอนนี้จาเป็นต้อง
อาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลักหากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหา
ทานองนี้มาแล้วก็สามารถดาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
3) การดาเนินการแก้ปัญหา (Implementation)
หลังจากที่ออกแบบขั้นตอนวิธีเรียบร้อยแล้ว
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้
การแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน ขั้นตอนนี้ก็เป็นการใช้
โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ปัญหาขั้นตอนนี้ต้องอาศัย
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะ
ดาเนินการหากพบแนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้
4) การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement)
หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า
วิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องโดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้น
สอดคล้องกับรายละเอียด
ของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้าและข้อมูลออกเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ทุก
กรณีอย่างถูกต้องสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้
ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขั้นบันได (Stair) ที่ทาให้
มนุษย์ประสบความสาเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ
ได้รวมทั้งการเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาก็ต้องใช้กระบวนการ
ตามขั้นตอนทั้ง4 นี้เช่นกัน
 ในการวิเคราะห์งาน มีแนวทางหลายรูปแบบซึ่งมีขั้นตอนและวิธีการที่คล้ายๆกัน
โดยรูปแบบหนึ่งที่ผู้วิเคราะห์นิยมใช้แก้ปัญหามี5 ขั้นตอน ดังนี้
1.สิ่งที่ต้องการ
เป็นการบอกเกี่ยวกับงานที่ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลและ
แสดงรูปแบบผลลัพธ์ออกมาให้ผู้ใช้ในลักษณะใด ต้องการให้การแสดงผลลัพธ์
มีการแสดงผลกี่รูปแบบ
2.รูปแบบผลลัพธ์
เป็นการวิเคราะห์ถึงการแสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
3.ข้อมูลนาเข้า
เมื่อผู้วิเคราะห์ได้ออกแบบรูปแบบของรายงาน ไม่ว่าจะเป็นการแสดงผลทาง
จอแสดงผล การพิมพ์รายงานออกทางเครื่องพิมพ์ หรือการแสดงผลงานแสดงผลผ่านทาง
ลาโพงต่างๆ เสร็จสิ้นแล้วสิ่งที่ต้องพิจารณาต่อก็คือ ข้อมูลที่ใช้ในการนาเข้า ว่าต้องการใช้
ข้อมูลนาเข้าอะไรบ้าง และลักษณะของข้อมูลที่นาเข้านั้นสัมพันธ์กับลักษณะของข้อมูลที่
ต้องการแสดงผลหรือไม่
4.ตัวแปลที่ต้องใช้
เป็นการวางแผนเพื่อกาหนดตัวแปรสาหรับใช้แทนข้อมูลนาเข้าแต่ละตัวและการ
กาหนดตัวแปลเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เกิดจากการประมวลผลของข้อมูลนาเข้า
5.วิธีการประมวลผล
เป็นการวิเคราะห์วิธีดาเนินการหลังจากได้สิ่งที่ต้องการ รูปแบบผลลัพธ์ข้อมูลนาเข้า
จนถึงตัวแปรที่ใช้มาแล้ว ซึ่งขั้นตอนนี้จะวิเคราะห์ความเป็นไปได้ที่จะต้องให้ได้ผลลัพธ์
ของการแก้ไขปัญหาตามต้องการ
 ผังงาน
ประเภทของผังงาน โดยทั่วไปผังงานคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่
 1.1 ฝังงานระบบ (System Flowchart)
เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการทางานภายในระบบหนึ่ง ๆ เพื่อให้เห็น
โครงสร้างโดยภาพรวมของระบบ ซึ่งจะแสดงถึงความเกี่ยวข้องของส่วนที่สาคัญ
ต่างๆ ในระบบนั้น เช่น เอกสารข้อมูลเบื้องต้น สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ ข้อมูลจะ
ส่งผ่านไปยังหน่วยงานใด มีกิจกรรมประมวลผลข้อมูลอะไรในหน่วยงานนั้น แล้ว
จะส่งต่อไปหน่วยงานใด เป็นต้น ดังนั้นผังงานระบบอาจเกี่ยวข้องกับข้อมูล สื่อ
หรือแหล่งบันทึกข้อมูล วัสดุปกรณ์ คน หรือฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแต่ละจุดจะ
ประกอบไปด้วย การนาข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล และการแสดงผลลัพธ์
(Input – Process - Output)
ภาพแสดงตัวอย่างผังงานระบบ
 1.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) หรือเรียกสั้นๆ ว่า ผังงาน
ผังงานประเภทนี้แสดงถึงขั้นตอนของคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรม ผังงานนี้อาจสร้าง
จากผังงานระบบโดยผู้เขียนผังงานจะดึงเอาแต่ละจุด ที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบมาเขียน เพื่อให้ทราบว่าถ้าจะใช้
คอมพิวเตอร์ทางานควรที่จะมีขั้นตอนคาสั่งอย่างไร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
และจะได้นามาเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไป
ดังนั้นการเขียนผังงานก็จะมีประโยชน์ เหมาะสาหรับผู้บริหาร ผู้วิเคราะห์
ระบบ ผู้เขียนโปรแกรม และบุคคลอื่นที่ต้องการศึกษา ทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของ
ระบบตั้งแต่เริ่มต้น ว่ามีการปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างไร ใช้วิธีการอะไรบ้าง สุดท้ายจะได้
ผลลัพธ์อะไรบ้าง เมื่อเข้าใจระบบงานหรือสิ่งที่กาลังศึกษาก็จะช่วยให้สามารถ
ปฏิบัติงานและแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังภาพ
ภาพแสดงตัวอย่างการกาหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของการเขียนผังงาน
 ประโยชน์ของผังงาน
ผังงานเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การศึกษาลาดับขั้นตอนของโปรแกรมง่ายขึ้น จึงนิยม
เขียนผังงานประกอบการเขียนโปรแกรมด้วยเหตุผลดังนี้
1. คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่
กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารได้ทุกภาษา
2. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของ
โปรแกรมให้ง่ายและสะดวกต่อการทาความเข้าใจ สามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้โดย
ไม่สับสน ซึ่งถ้าหากใช้ข้อความหรือคาพูดอาจจะสื่อความหมายผิดไปได้
3. ในงานโปรแกรมที่ไม่สลับซับซ้อน ช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องของลา
ดับขั้นตอน และแก้ไขโปรแกรมได้ง่ายเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
4. ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่ายสะดวก และ
รวดเร็วมากขึ้น
5. การบารุงรักษาโปรแกรมหรือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง ให้
มีประสิทธิภาพ ถ้าพิจารณาจากผังงานจะช่วยให้สามารถทบทวนงานในโปรแกรมก่อน
ปรับปรุง แก้ไขได้สะดวกและง่ายขึ้น
 ข้อจากัดของการเขียนผังงาน
นักเขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานก่อนที่จะเขียนโปรแกรมเพราะ
เสียเวลา ในการเขียนเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุผลอื่นๆได้แก่
1. ผังงานเป็นการสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะสื่อ
ความหมายบุคคลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาใดภาษาหนึ่ง ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรับรู้และเข้าใจว่าผังงานต้องการ
อะไร
2. ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บางคาสั่งได้
อย่างชัดเจน
3. กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง
แก้ไขจะทาได้ยากควรเขียนแยกเป็นส่วน ๆ แล้วค่อยสร้างจุดเชื่อมโยงในแต่ละส่วน
4. การเขียนผังงานอาจเป็นการสิ้นเปลืองกระดาษและอุปกรณ์อื่นๆประกอบการ
เขียนภาพ ทั้ง ๆ ที่การอธิบายงานหรือการเขียนโปรแกรมจะใช้เนื้อที่เพียง 3 - 4
บรรทัดเท่านั้น
 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน เป็นการเขียนแผนภาพเพื่อแสดงขั้นตอนการทางาน โดยนา
ภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน สัญลักษณ์ที่นิยมใช้ในการเขียนผังงานนั้น
หน่วยงานที่ชื่อว่า American National StandardsInstitute(ANSI) และ International
Standard Organization(ISO) ได้ร่วมกันกาหนดสัญลักษณ์มาตรฐานเพื่อใช้ในการ
เขียนผังงานดังแสดงในตาราง
ตัวอย่างสัญลักษณ์
หลักเกณฑ์ในการเขียนแผนผัง
1. การกาหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดโปรแกรม
โดยการเริ่มต้นผังงานจะใช้คาว่า Start และการสิ้นสุดจะใช้คาว่าStop ซึ่งข้อความ
ดังกล่าวจะอยู่ในสัญลักษณ์ ดังภาพ
2. การกาหนดค่าเริ่มต้นและการคานวณ
ในการเขียนผังงานโปรแกรม จะมีการกาหนดค่าเริ่มต้นหรือ การกาหนด
ค่าคงที่ ให้กับข้อมูล รวมถึงจะมีการคานวณข้อมูลในรูปของสูตรสมการคณิตศาสตร์
ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้จะเขียนข้อความภายในสัญลักษณ์กรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าดังภาพ
3. การรับข้อมูลนาข้า
เป็นการรับข้อมูลเข้าสู่โปรแกรม หรือข้อมูลที่ต้องป้อนให้คอมพิวเตอร์นาไป
ใช้ในการคานวณ หรือประมวลผลข้อมูลหากไม่ระบุว่าจะรับเข้าทางอุปกรณ์ใด จะ
เขียนข้อความรับค่า หรือ Read ข้อมูล ภายในสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมด้านขนาน ดังภาพ
ภาพแสดงการรับข้อมูล a , b เข้าสู่โปรแกรมโดยไม่ระบุอุปกรณ์นาเข้า
ภาพแสดงการรับข้อมูล a , b เข้าสู่โปรแกรมทางคีย์บอร์ด
4. การแสดงผลข้อมูล
เป็นการนาข้อมูลที่ได้จากการกาหนดค่าหรือ การคานวณ หรือการประมวลผลใดใด
มาแสดงผลออกทางอุปกรณ์ที่กาหนดจะเขียนข้อความแสดงผล หรือ Print ภายใน
สัญลักษณ์ ดังภาพ
ภาพแสดงการแสดงผลข้อมูล x , y โดยไม่ระบุอุปกรณ์แสดงผล
ภาพการแสดงผลข้อมูล x , y ออกทางจอภาพ ภาพการ
แสดงผลข้อมูล x , y ออกทางเครื่องพิมพ์
5. การตรวจสอบเงื่อนไข
เป็นการเปรียบเทียบเพื่อตรวจสอบเงื่อนไข ซึ่งจะได้ผลลัพธ์จากการตรวจสอบเป็น
ตรรกะ จริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยจะเขียนข้อความเงื่อนไขที่ต้องการ
เปรียบเทียบภายในสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ดังภาพ
ภาพแสดงการเปรียบเทียบเพื่อตรวจสอบข้อมูล G มีค่ามากกว่า 100 ใช่หรือไม่
ถ้าหากมากกว่าจริงให้แสดงข้อความ “Over” ถ้าหากเท็จ ให้แสดงข้อความ “Ok”
6. จุดต่อและการเชื่อมโยงผังงาน
ในการเขียนผังงานอาจมีลาดับการทางานหลายขั้นตอนต้องใช้กระดาษมากกว่า1
แผ่น หรือมีจุดต่อหลายจุดในหน้าเดียวกันจึงจาเป็นต้องใช้สัญลักษณ์เชื่อมโยงผังงาน
ดังกล่าวเพื่ออ้างอิงจุดเชื่อมต่อนั้นไปยังตาแหน่งที่มีชื่อหรืออักษรเดียวกัน ดังภาพ
ภาพแสดงจุดต่อ A เชื่อมโยงผังงานในหน้าเดียวกัน
ภาพแสดงจุดต่อ A เชื่อมโยงผังงานที่อยู่คนละหน้า
7.เส้นแสดงทิศทาง
เป็นสัญลักษณ์แสดงทิศทางการทางานของFlowchart
8.การอธิบายผังงาน
เป็นสัญลักษณ์แสดงการอธิบายผังงาน เพิ่มเติมหรือเป็นการหมายเหตุ
(Comment)
 แผนภาพการออกแบบโครงสร้าง
เนื่องจากผังงานเป็นการถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศที่มี
มานานแล้วจึงทาให้สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานรูปแบบของผังงานไม่สามารถ
สนองตอบต่อขั้นตอนของการแก้ปัญหาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาในปัจจุบัน
เพื่อให้การสื่อสารถ่ายทอดความคิด ขั้นตอนการแก้ปัญหานั้นเข้ากันได้กับ
ภาษาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงมีการพัฒนาแผนภาพใหม่ ซึ่งแผนภาพแบบนี้เรียกว่า
ดีเอสดี (DSD : design structurediagram)
 รหัสจาลองและพีดีแอล (PDL)
การอธิบายจาลองและพีดีแอล จะต้องใช้ภาษาที่สามารถสื่อสารเข้าใจได้ง่าย
และสั้นกะทัดรัดสื่อความหมายได้ทีที่อ่าน
ตัวอย่างการเขียนรหัสเทียม Pseudo Code
Algorithm Problem_1
Variables: mLoop, Sum, testScore,average
Begin
Input mLoop
Sum = 0
For I = 1 to mLoop
Input testScore
Sum = Sum + testScore
Next
 นายณัฐพงศ์ กือเย็น ชั้น ม.5/2 เลขที่ 4
 นายรณกร สาเนียงแจ่ม ชั้น ม.5/2 เลขที่ 8
 นายอนันต์ บุตรแดง ชั้น ม.5/2 เลขที่ 9
 นางสาวสิริวรรณ คาเตจ๊ะ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 20
 นางสาวดารุณี โพธิ์ด้วง ชั้น ม.5/2 เลขที่ 26
 นางสาวเบญจรัตน์ ศรอารา ชั้น ม.5/2 เลขที่ 31
 นางสาวกนกวรรณ ลัดดากุล ชั้น ม.5/2 เลขที่ 33
 นางสาวสโรชา บุญช่วย ชั้น ม.5/2 เลขที่ 35
 นางสาวเพ็ญพิชชา เทียนชัย ชั้น ม.5/2 เลขที่ 37
 http://dutch35698.blogspot.com/

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
Paradorn Sriarwut
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาNattapon
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
NuNa DeeNa
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
Tiger Tanatat
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศน้อย วิภาภรณ์
 
SA Chapter 9
SA Chapter 9SA Chapter 9
SA Chapter 9
Nuth Otanasap
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กฤศอนันต์ ชาญเชี่ยว
 
MS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - QueryMS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - Query
A-Pimzy OnePiece
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Kochakorn Noiket
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
kanjana Pongkan
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
SA Chapter 9
SA Chapter 9SA Chapter 9
SA Chapter 9
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
MS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - QueryMS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - Query
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 

Viewers also liked

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
Ja Phenpitcha
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Latcha MaMiew
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทBabymook Juku
 

Viewers also liked (13)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบท
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
Nunnaphat Chadajit
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Thitikorn Prakrongyad
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Hiz Hi
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1anusong
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Rattana Wongphu-nga
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]
chawisa44361
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาjack4212
 
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1Sanita Fakbua
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 (20)

หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
1
11
1
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Pbl8.2
Pbl8.2Pbl8.2
Pbl8.2
 
โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2