SlideShare a Scribd company logo
ภาพในงานเขียนแบบ 
ภาพที่ใช้ในงานเขียนแบบที่นิยมเขียนเป็นแบบทา งานนั้นนิยมเขียนภาพ 2 แบบ คือ 
• ภาพสามมิติ ( ภาพ 3 D ) 
• ภาพฉาย ( ภาพ 2 D ) 
ภาพสามมิติ 
ภาพสามมิติ (Pictorial View) เป็นภาพที่แสดงให้เห็นมิติของภาพได้ถึง 3 
ด้านด้วยกันในภาพเดียวกัน คือ ขนาดความกว้าง ความยาว และความลึกของชิ้นงาน 
มีลักษณะใกล้เคียงกับชิ้นงานจริง ในทางปฏิบัติไม่นิยมใช้ภาพ 3 มิติเป็นแบบทา งาน 
จะใช้สา หรับดูรูปร่างของชิ้นงาน ส่วนแบบในการปฏิบัติงานจะใช้ภาพฉาย โดยมีภาพ 3 
มิติดูประกอบการทา งาน 
ภาพสามมิตินั้นแบ่งออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ 
• ภาพออบลิก มี 2 แบบ คือ 
• แบบคาวาเรียร์ 
• แบบคาบิเนต 
• ทัศนียภาพ มี 3 แบบ คือ 
• แบบ 1 จุด 
• แบบ 2 จุด 
• แบบ 3 จุด 
• แบบแอกโซโนเมตริก มี 3 แบบ คือ 
• ภาพไดเมตริก 
• ภาพไตรเมตริก 
• ภาพไอโซเมตริก 
ตาราง แสดงการเปรียบเทียบระหว่างภาพแอกโซเมตริก ภาพออบลิก และทัศนียภาพ (นริศ, 2545 :129)
ภาพฉาย 
ในวงการอุตสาหกรรมนิยมใช้แบบภาพฉายเป็นแบบสั่งงานและการปฏิบัติงานของช่างฝีมือ 
เพื่อนา ไปสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ แบบของชิ้นงานนั้นต้องมีรายละเอียดอย่างครบถ้วน ดังนั้น 
จึงควรมีความจา เป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษา และทา ความเข้าใจกับภาพฉาย 
ตลอดจนการอ่านแบบและเขียนแบบภาพฉายได้อย่างถูกต้อง 
หลักการอ่านและการฉายภาพ 
ภาพฉายเป็นที่แสดงรูปลักษณะของงานแต่ละด้านเพื่อให้เห็นขนาดที่แท้จริง 
ปกติการเขียนภาพฉายนิยม 2-3 ด้าน คือ ภาพด้านหน้า (Front View : FV) ภาพด้านข้าง (Side View : SV) 
และภาพด่านบน (Top View : TV) 
การมองภาพฉายนั้นมีการมองด้วยกัน 2 แบบ คือ 
• การมองภาพฉายด้านที่ 1 (First - Angle Projection) 
• การมองภาพฉายมุมที่ 3 (Third - Angle Projection) 
ในที่นี้ผู้จัดทา จะขอกล่าวเฉพาะการฉายภาพมุมที่ 1 เท่านั้น เพราะเป็นการฉายภาพที่นิยมใช้ 
กันมากในแถบทวีปยุโรปและแถบทวีปเอเชีย ปัจจุบัน คือ ระบบ ISO ภาพที่ได้จากการฉายภาพจะอยู่มุมที่ 1 
ภาพด้านบนจะปรากฏในระนาบนอน ภาพด้านหน้าจะปรากฏในระนาบดิ่ง 
และภาพด้านข้างซ้ายปรากฏในระนาบข้าง ดังรูป 
รูปแสดงการเขียนภาพฉายมุมที่ 1 ( อา นวย , 2545 : บทเรียนที่ 6 หน้า 3) 
การเขียนภาพฉายตามมาตรฐาน ISO
รูปแสดงการมองภาพฉายตามมาตรฐาน ISO ( อา นวย , 2545 : บทเรียนที่ 6 หน้า 5) 
การมองภาพ การวางภาพ 
ภาพตามทิศทาง F แสดงภาพด้านหน้า (FRONT-VIEW) 1. ให้วางภาพด้านหน้าเป็นหลัก 
ภาพตามทิศทาง S แสดงภาพด้านหน้า (SIDE-VIEW) 2. ภาพด้านบนอยู่ด่านล่างภาพด้านหน้า 
ภาพตามทิศทาง T แสดงภาพด้านหน้า (TOP-VIEW) 3. 
ภาพด้านข้างจะวางอยู่ขวามือของภาพด้านหน้า 
การสร้างหรือผลิตชิ้นงานในงานเขียนแบบ 
ในการสร้างหรือผลิตชิ้นงานในงานเขียนแบบ มีกระบวนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 
• การวางแผน ( Plan) การวางแผนงานให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 
• ปฏิบัติ (Do) ลงมือปฏิบัติทา งานตามแผนที่กา หนด เพื่อให้งานสา เร็จตามเป้าหมาย 
• ประเมินผล (Check) การประเมินผลเป็นการตรวจสอบการทา งาน กระทา ได้ทั้งระหว่างการปฏิบัติงาน 
และหลังการปฏิบัติงาน 
• ปรับปรุง (Action) ปรับปรุงข้อบกพร่อง และพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพ 
บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ 
มาตราส่วน ในงานเขียนแบบ 
แบบงานถ้าเขียนเท่าขนดจริงได้จะดีมาก ทา ให้เขียนแบบได้ง่ายขึ้น แต่บางครั้งชิ้นงานมีขนาด 
ใหญ่หรือเล็กเกินไป
จึงจา เป็นต้องย่อหรือขยายการเขียนแบบลงในกระดาษในงานอุตสาหกรรมส่วนมากจะใช้มาตราส่วนย่อ 1 : 
2 , 1 : 4 หรือ 1 : 8 แต่ถ้ามีการขายขนาดก็จะเพิ่มเป็น 2 เท่า 
หรือ 4 เท่า เป็นต้น 
แสดงสเกลย่อและขยายที่ใช้ในงานเขียนแบบ (นริศ, 2545 : 38 ) 
ขนาดของแบบใหญ่กว่าขนาดจริง 
(Enlarged) 
ขนาดของแบบเท่ากับของจริง 
(Same Size) 
ขนาดของแบบเล็กกว่าของจริง 
(Reduced) 
2000 : 1 
1000 : 1 
500 : 1 
200 : 1 
100 : 1 
50 : 1 
20 : 1 
10 : 1 
5 : 1 
2 : 1 
1 : 1 1 : 2 
1 : 5 
1 : 10 
1 : 20 
1 : 50 
1 : 100 
1 : 200 
1 : 500 
1 : 1000 
1 : 2000 
ใบงาน
นักเรียนสามารถเขียนผังความคิด (Mind Mapping) งานเขียนแบบ ได้
ให้นักเรียนทุกคนเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) เกี่ยวกับภาพในงานเขียนแบบ 
แล้วให้นักเรียนแลกเปลี่ยนกันพิจารณาผังความคิด (Mind Mapping) 
และให้นักเรียนแต่ละคนสรุปผลการพิจารณาแผนผังความคิด (Mind Mapping) 
ของเพื่อนในกลุ่มพร้อมทั้งข้อเสนอแนะ(เวลา 15 นาที)
นักเรียนสามารถทา กิจกรรมกลุ่ม และนา เสนองานได้ 
นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 3-5 คน เลือกประธาน เลขานุการ แล้วอภิปราย แสดงข้อคิดเห็นในเรื่อง 
ความสา คัญงานเขียนแบบ เครื่องมือในงานเขียนแบบ มาตราส่วนในงานเขียนแบบ 
และภาพในงานเขียนแบบ (เวลา 30 นาที) 
ใบงานที่ 2.3
งานช่าง ชื่องานเขียนภาพสามมิติ 
จากภาพฉาย 
งานรายบุคคล 
รหัส 42101 เวลา 15 นาที 
จุดประสงค์ 1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือเขียนแบบเบื้องต้น 
2. เขียนภาพสามมิติ ตามใบงานกา หนดได้ 
แบบฝึกการเขียนภาพสามมิติจากภาพฉาย (อารมณ์.ใบงานเขียนแบบ , 2550 ) 
เครื่องมือ-อุปกรณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 
• ดินสอเกรด 2 H 
• ยางลบ 
• เทปใส 
• ศึกษาจากแบบภาพฉายด้านซ้ายมื 
อ 
• เขียนภาพสามมิติตามเส้นตาราง 
Isometric ที่กา หนดให้ 
• อภิปราย
องค์ประกอบของการออกแบบ (The Elements of Design) 
องค์ประกอบต่าง ๆ 
ของการออกแบบสามารถนามาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ 
และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบได้แก่ 
เส้น (Line) เส้นคือการเชื่อมต่อของจุดสองจุดด้วยจุดหรือเครื่องหมายใด ๆ อย่างต่อเนื่องกัน เส้นมีหลายลักษณะ เช่น 
เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นหนา เส้นบาง เส้นประ เป็นต้น 
การใช้เส้นในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• เป็นเส้นกรอบของรูปภาพหรือข้อความ 
• สร้างกริด (Grid) 
• จัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ 
• เน้นส่วนสา คัญ 
• เชื่อมส่วนประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน 
• สร้างกราฟหรือผังข้อมูล 
• สร้างลวดลายด้วยเส้นสายรูปแบบต่าง ๆ 
• นา สายตาผู้ดูไปยังจุดที่ต้องการ หรือสร้างความรู้สึกถึงการเคลื่อนไหว 
• สร้างอารมณ์หรือโน้มนาความรู้สึก 
รูปทรง (Shape) รูปทรงคือสิ่งที่มีความกว้างและความสูง มี 3 แบบคือ 
1. รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม เป็นต้น 
2. รูปทรงตามธรรมชาติ เช่น ภูเขา รูปร่างของคนและสัตว์ต่าง ๆ 
3. รูปทรงดัดแปลงซึ่งได้มาจากการนา รูปร่างธรรมชาติมาทา ให้เรียบง่ายขึ้น 
การใช้รูปร่างในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• จัดวางข้อความอยู่ภายในกรอบที่มีรูปทรงแบบต่าง ๆ 
• สร้างรูปแบบใหม่ ๆ 
• ใส่สีเป็นรูปทรงต่าง ๆ บนข้อความที่ต้องการเน้นหรือดึงดูดความสนใจ 
• ทา รูปทรงเฉพาะขึ้นแทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ 
• ตัดกรอบภาพเป็นรูปทรงที่แปลกออกไปเพื่อให้ดูน่าสนใจขึ้น 
พื้นผิว (Texture) พื้นผิวคือสิ่งที่มองเห็นหรือสัมผัสได้บนผิวหน้าของงาน 
พื้นผิวที่ไม่เหมือนกันทา ให้งานออกแบบเดียวกันดูแตกต่างกัน พื้นผิวจะเพิ่มมิติให้กับงาน
และผู้ดูสามารถสัมผัสกับพื้นผิวที่นักออกแบบใช้กับงานได้ 
การใช้พื้นผิวในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• เพื่อกระตุ้นอารมณ์และความรู้สึก 
• สร้างความแตกต่างเพื่อดึงดูดความสนใจ 
• ทา ให้งานมีเอกลักษณ์ 
• ลวงสายตาด้วยลวดลายและแสงเงาของพื้นผิว 
• สร้างมิติและความลึก 
ช่องไฟ (Space) ช่องไฟคือพื้นที่ว่างที่อยู่ระหว่างหรือโดยรอบวัตถุ หรือตัวอักษร 
ช่องไฟทา ให้สิ่งที่นา มาใส่ไว้ในหน้างานแยกออกจากกัน หรือดูเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทา ให้เกิดการเน้น 
และเป็นจุดพักสายตา 
การใช้ช่องไฟในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• ช่วยให้เรื่องราวในเลย์เอ้าท์ง่ายต่อการติดตาม 
• ช่วยให้แต่ละองค์ประกอบของงานดูเสมอกัน 
• เป็นจุดพักสายตา 
• ช่วยเน้นส่วนประกอบที่สา คัญ เช่น ปล่อยให้มีช่องว่างรอบๆส่วนประกอบนั้นมากกว่าที่อื่น 
• ทา ให้ตัวอักษรดูเด่นชัดขึ้น 
ขนาด (Size) ขนาดของวัตถุทั้งใหญ่หรือเล็กเป็นส่วนประกอบกันที่ทา ให้เลย์เอ้าท์มีรูปแบบขึ้นมา 
การจัดขนาดส่วนประกอบต่าง ๆ ได้ดีจะทา ให้เลย์เอ้าท์น่าสนใจยิ่งขึ้นและดูเป็นระเบียบขึ้น 
ขนาดจะทา ให้เห็นความสา คัญของสิ่งที่ต้องการเน้น ช่วยดึงดูดความสนใจ 
และช่วยให้เลย์เอ้าท์ประกอบเข้าด้วยกันได้อย่างเหมาะสม 
การใช้ขนาดในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• แสดงความสา คัญขององค์ประกอบ 
• ดึงดูดความสนใจ เช่น ใช้ขนาดที่ต่างกันเพื่อให้เกิดการตัดกัน 
• ทา ให้มองเห็นองค์ประกอบแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้น 
• ทา ให้งานดูมีความสม่า เสมอตลอดทั้งหน้า 
ค่าความดา (Value) ค่าความดา คือ ความมืดหรือความสว่างของพื้นที่หนึ่ง ๆ 
ซึ่งเกิดจากการไล่ค่าระดับความสว่างหรือความมืดที่อยู่ระหว่างขาวไปจนถึงดา ค่าความดา นี้จะแสดงเฉดของสีต่าง ๆ เป็นเฉดขเฉดสีเทาเหล่านี้จะมีค่าความดา จากอ่อนที่สุดไปถึงเข้มที่สุด ค่าความดา ทา ให้เกิดอารมณ์ ความหม่นมัวและความลึก
การใช้ค่าความดาในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• ทา ให้สิ่งของดูมีมิติ มีความลึก และมีแสงเงา 
• ทา ให้รู้สึกถึงสิ่งของใดอยู่ด้าน สิ่งใดอยู่ด้านหลัง 
• ทา ให้ภาพรวมเป็นภาพประเภทสว่าง (High Key) หรือมืด (Low Key) ตามปริมาณค่าความดา รวม 
• ใช้เน้นส่วนสา คัญ โดยให้ค่าความดา ของส่วนที่ต้องการเน้นแตกต่างกับส่วนที่อยู่โดยรอบ 
• ใช้นา สายตาไปยังจุดที่ต้องการ 
สี (Color) สีเป็นองค์ประกอบของการออกแบบที่มีความสา คัญมาก เพราะสีจะมีผลด้านอารมณ์ และความรู้สึก สียังทา ให้เกิดภาดึงดูดความสนใจ และบอกความรู้สึกของสิ่งต่าง ๆ ก่อนจะเลือกใช้สีต้องพิจารณาก่อนว่าต้องการใช้สีทา ให้เกิดผลในลักษณะใด 
และสีใดที่เหมาะกับวัตถุประสงค์นั้น ๆ 
การใช้สีในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• สามารถดึงดูดสายตาให้เกิดความสนใจ 
• ช่วยสร้างอารมณ์ ความรู้สึก 
• ช่วยดึงสายตาว่าจุดใดเป็นจุดแรกที่ต้องการให้มอง 
• สามารถจัดองค์ประกอบของงานรวมกลุ่มกัน หรือจะแยกมันออกจากกันด้วยการเลือกใช้สีที่ต่างกันไป 
• ช่วยผสมผสานให้ภาพรวมมีความสมดุล 
• ใช้เน้นข้อความสา คัญหรือหัวเรื่อง 
ตัวอักษร (Typography) ตวัอักษรเป็นองค์ประกอบที่แตกต่างไปจากองค์ประกอบอื่น 
ตัวอักษรสามารถเรียงร้อยบอกเล่าเรื่องราวให้ผู้อ่านได้โดยตรง ไม่ต้องแปลความหมายเหมือนเช่นองค์ประกอบอื่น 
ในขณะเดียวกันเราก็สามารถตกแต่งตัวอักษรโดยใช้รูปแบบ ขนาด และสีสัน มาจัดวางเป็นรูปแบบต่าง ๆ 
สร้างแรงดึงดูดให้สนใจและน่าติดตาม 
การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ 
• ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้ 
• ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ 
• จัดลา ดับความสา คัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทา หัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ 
• สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน 
• สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อกาและดูสวยงาม 
• ใช้ขยายความ หรืออธิบายภาพประกอบต่าง ๆ
หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์ (The Principles of Design) 
หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์เป็นหลักในการพิจารณาว่าจะใช้องค์ประกอบของการออกแบบอย่างไร 
และช่วยให้สามารถผสมผสานส่วนประกอบต่าง ๆ ของงานจนจัดวางเป็นเลย์เอ้าท์ที่ดีได้ 
หลักการออกแบบฯ มี 4 ข้อดังนี้ 
1. ความสมดุล (Balance) สมดุลคือการกระจายอย่างทั่วถึงของน้า หนัก ในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ น้า หนักของส่วนประกอบต่าเป็นน้า หนักที่สายตารู้สึกเมื่อมองส่วนประกอบนั้น ๆ ทุกส่วนบนเลย์เอ้าท์มีน้า หนักซึ่งรู้สึกได้จากขนาด ความมืดหรือความสว่าสีและความเข้มของสี ความหนาและบางของเส้น ความสมดุลมีสองแบบ คือสมดุลที่กระจายเท่ากันทั้งซ้ายขวาของศูนย์กลาง (Balance) และความสมดุลที่เกิดจากการนา ส่วนประกอบที่มีขนาดไม่เท่ากันมาจัดวางแต่เมื่อดูโดยรวมแล้วน้า หนักทั้งหมดสมดุ(Asymmetry Balance) องค์ประกอบของการออกแบบที่นา มาใช้เพื่อสร้างความสมดุลได้แก่ รูปร่าง ขนาด ค่าความดา สี 
Symmetrical Balance จะให้ความรู้สึกมั่นคง แข็งแรง เหมาะสา หรับสิ่งพิมพ์ที่ต้องการสื่อถึงความมีระเบียบแบบแผน 
และความอนุรักษ์นิยม 
Asymmetrical Balance จะสื่อถึงความขัดแย้ง ความหลากหลาย ความไม่เป็นระเบียบ และความประหลาดใจ 
การสร้างความสมดุล 
• กา หนดจุดศูนย์กลางของชิ้นงาน 
• ส่วนประกอบเล็กๆหลายชิ้นสามารถสมดุลกับส่วนประกอบใหญ่หนึ่งชิ้น 
• ใช้รูปร่างที่แปลกออกไปหนึ่งหรือสองชิ้นร่วมกับรูปร่างทั่ว ๆ ไป 
• เว้นช่องว่างสีขาวให้มากรอบ ๆ คอลัมน์สีเข้ม หรือรูปภาพมืด ๆ 
• ตัวอักษรที่หนาหนัก ควรมีภาพสีสว่าง สดใสมาช่วยให้สว่างขึ้น 
• ภาพถ่ายหรือภาพประกอบสีทึม ควรวางตัวหนังสือชิ้นเล็กๆหลายชิ้นประกอบเข้าไป และเว้นช่องไฟสีขาวโดยรอบเยอะ ๆ 
2. จังหวะ (Rhythm) จังหวะคือรูปแบบที่เกิดจากการซ้า กันขององค์ประกอบต่างๆ 
การซ้า กันขององค์ประกอบเดียวกันในลักษณะที่สม่า เสมอ และความแตกต่างเช่น การเปลี่ยนรูปร่าง ขนาด หรือตา แหน่งของอเป็นสิ่งที่ทา ให้เกิดการมองเห็นจังหวะในงานออกแบบ การวางองค์ประกอบซ้า ๆ กันที่ระยะห่างเท่า ๆ กันทา ให้เกิดความรู้สึกราจังหวะที่เท่า ๆ กัน สงบและผ่อนคลาย การเปลี่ยนขนาดและช่องไฟของส่วนประกอบอย่างฉับพลันจะทา ให้เกิดจังหวะเร็วและและสร้างความรู้สึกน่าตื่นเต้น 
การสร้างจังหวะในงานออกแบบ 
• วางองค์ประกอบเดิมซ้า กันและให้มีช่องไฟเท่ากัน 
• วางองค์ประกอบเดิมในขนาดที่ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ และขยายช่องไฟขึ้นให้รับกัน
• มีการกลับความหนาบางของตัวอักษร เช่นให้มีตัวอักษรบางเบา สลับกับตัวทึบหนา 
• วางองค์ประกอบเดิมในหลาย ๆ จุดบนเลย์เอ้าท์ 
• ถ้ามีหลายหน้าอาจวางองค์ประกอบเดิมที่จุดเดียวกันบนทุก ๆ หน้า 
3. การเน้น (Emphasis) การเน้นคือการทา ให้องค์ประกอบหนึ่งเป็นที่สังเกตเห็นก่อนส่วนอื่น 
ๆ จะเกิดขึ้นเมื่อองค์ประกอบนั้นแตกต่างจากองค์ประกอบอื่น 
บนงานออกแบบทุกชิ้นควรมีจุดเด่นนี้เพื่อดึงดูดสายตาของผู้ดูไปสู่ส่วนสา คัญของงาน 
แต่ถ้ามีจุดเด่นมากเกินไปก็อาจไม่เกิดผลตามที่ต้องการ 
การทาให้เกิดจุดสนใจ 
• วางรูปภาพที่ต้องการเน้นให้กรอบภาพมีรูปทรงแปลกออกไปท่ามกลางรูปที่มีกรอบสี่เหลี่ยมและมีช่องไฟเท่า ๆ กัน 
• ใช้เส้นโค้งเป็นรูปร่างของตัวอักษรที่จะเน้นท่ามกลางตัวอักษรตรง ๆ 
• ใช้ตัวอักษรสีหรือรูปแบบตัวอักษรที่ต่างออกไปเมื่อต้องการเน้น 
• ใช้ตัวอักษรขาวบนพื้นสีสา หรับสิ่งที่จะเน้น 
• ใช้ตัวหนาสา หรับหัวข้อและตัวอักษรที่บางลงสา หรับเนื้อหา 
4. เอกภาพ (Unity) เอกภาพทา ให้งานออกแบบดูเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งจะช่วยผู้อ่านรู้ว่าเป็นงานชิ้นเดียวกัน ใช้กริด 
(Grid) เพื่อวางกรอบโครงร่างของงาน (การเว้นคั่นหน้า คั่นหลัง คอลัมน์ การเว้นช่องไฟ และสัดส่วน) ให้เป็นระบบระเบียบ 
การจัดกลุ่มให้องค์ประกอบเป็นอันหนึ่งอันเดียวให้ดูเรื่องการซ้า กันของสี รูปร่างและพื้นผิว เพื่อทา ให้ผู้อ่านเห็นตัวอักษร หัวเรื่ภาพถ่าย เป็นงานเดียวกัน 
การสร้างเอกภาพ 
• ใช้ตัวอักษรเพียงหนึ่งหรือสองแบบตลอดชิ้นงาน ถ้าจะให้มีการตัดกันให้ใช้ขนาดที่แตกต่างกัน 
• ให้มีความสม่า เสมอในเรื่องแบบตัวอักษร ขนาดของหัวข้อ หัวข้อย่อย และข้อความ 
• เลือกภาพที่มีโครงสีคล้ายคลึงกัน 
• วางรูปภาพและคอลัมน์ในเส้นกริดเดียวกัน 
• เลือกใช้สีจากชุดสีเดียวกันตลอดทั้งงาน 
• ให้มีการซ้า กันของสี รูปร่างและพื้นผิวในที่ต่าง ๆ ตลอดทั้งงาน

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
kroojirat
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3mathawee wattana
 
In design cs5
In design cs5In design cs5
In design cs5School
 
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6  การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
Nattapong Manlee
 
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
Keerati Santisak
 
Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
smittichai chaiyawong
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Rattapadol Gunhakoon
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพNimanong Nim
 

What's hot (9)

ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
 
In design cs5
In design cs5In design cs5
In design cs5
 
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6  การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
 
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
 
Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
 
Caption5
Caption5Caption5
Caption5
 

Similar to Desing

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
Ppatbongga
 
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะเรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะTsheej Thoj
 
Design
DesignDesign
Design
Tolaha Diri
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Pakornkrits
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Pakornkrits
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมNuchy Geez
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Winwin Nim
 
หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design
Yaowaluck Promdee
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1Junya Punngam
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop csnoismart
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
korakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
korakate
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
Photoshop ict
Photoshop ictPhotoshop ict
Photoshop ict
Natda Wanatda
 
วิจัย
วิจัย วิจัย

Similar to Desing (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะเรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
เรามารู้จักกับโปรแกรม Paint กันเถอะ
 
Design
DesignDesign
Design
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1
 
Photoshop lab1
Photoshop lab1Photoshop lab1
Photoshop lab1
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Photoshop ict
Photoshop ictPhotoshop ict
Photoshop ict
 
Caption4
Caption4Caption4
Caption4
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 

More from halato

Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
halato
 

More from halato (9)

Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 

Desing

  • 1. ภาพในงานเขียนแบบ ภาพที่ใช้ในงานเขียนแบบที่นิยมเขียนเป็นแบบทา งานนั้นนิยมเขียนภาพ 2 แบบ คือ • ภาพสามมิติ ( ภาพ 3 D ) • ภาพฉาย ( ภาพ 2 D ) ภาพสามมิติ ภาพสามมิติ (Pictorial View) เป็นภาพที่แสดงให้เห็นมิติของภาพได้ถึง 3 ด้านด้วยกันในภาพเดียวกัน คือ ขนาดความกว้าง ความยาว และความลึกของชิ้นงาน มีลักษณะใกล้เคียงกับชิ้นงานจริง ในทางปฏิบัติไม่นิยมใช้ภาพ 3 มิติเป็นแบบทา งาน จะใช้สา หรับดูรูปร่างของชิ้นงาน ส่วนแบบในการปฏิบัติงานจะใช้ภาพฉาย โดยมีภาพ 3 มิติดูประกอบการทา งาน ภาพสามมิตินั้นแบ่งออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ • ภาพออบลิก มี 2 แบบ คือ • แบบคาวาเรียร์ • แบบคาบิเนต • ทัศนียภาพ มี 3 แบบ คือ • แบบ 1 จุด • แบบ 2 จุด • แบบ 3 จุด • แบบแอกโซโนเมตริก มี 3 แบบ คือ • ภาพไดเมตริก • ภาพไตรเมตริก • ภาพไอโซเมตริก ตาราง แสดงการเปรียบเทียบระหว่างภาพแอกโซเมตริก ภาพออบลิก และทัศนียภาพ (นริศ, 2545 :129)
  • 2. ภาพฉาย ในวงการอุตสาหกรรมนิยมใช้แบบภาพฉายเป็นแบบสั่งงานและการปฏิบัติงานของช่างฝีมือ เพื่อนา ไปสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ แบบของชิ้นงานนั้นต้องมีรายละเอียดอย่างครบถ้วน ดังนั้น จึงควรมีความจา เป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษา และทา ความเข้าใจกับภาพฉาย ตลอดจนการอ่านแบบและเขียนแบบภาพฉายได้อย่างถูกต้อง หลักการอ่านและการฉายภาพ ภาพฉายเป็นที่แสดงรูปลักษณะของงานแต่ละด้านเพื่อให้เห็นขนาดที่แท้จริง ปกติการเขียนภาพฉายนิยม 2-3 ด้าน คือ ภาพด้านหน้า (Front View : FV) ภาพด้านข้าง (Side View : SV) และภาพด่านบน (Top View : TV) การมองภาพฉายนั้นมีการมองด้วยกัน 2 แบบ คือ • การมองภาพฉายด้านที่ 1 (First - Angle Projection) • การมองภาพฉายมุมที่ 3 (Third - Angle Projection) ในที่นี้ผู้จัดทา จะขอกล่าวเฉพาะการฉายภาพมุมที่ 1 เท่านั้น เพราะเป็นการฉายภาพที่นิยมใช้ กันมากในแถบทวีปยุโรปและแถบทวีปเอเชีย ปัจจุบัน คือ ระบบ ISO ภาพที่ได้จากการฉายภาพจะอยู่มุมที่ 1 ภาพด้านบนจะปรากฏในระนาบนอน ภาพด้านหน้าจะปรากฏในระนาบดิ่ง และภาพด้านข้างซ้ายปรากฏในระนาบข้าง ดังรูป รูปแสดงการเขียนภาพฉายมุมที่ 1 ( อา นวย , 2545 : บทเรียนที่ 6 หน้า 3) การเขียนภาพฉายตามมาตรฐาน ISO
  • 3. รูปแสดงการมองภาพฉายตามมาตรฐาน ISO ( อา นวย , 2545 : บทเรียนที่ 6 หน้า 5) การมองภาพ การวางภาพ ภาพตามทิศทาง F แสดงภาพด้านหน้า (FRONT-VIEW) 1. ให้วางภาพด้านหน้าเป็นหลัก ภาพตามทิศทาง S แสดงภาพด้านหน้า (SIDE-VIEW) 2. ภาพด้านบนอยู่ด่านล่างภาพด้านหน้า ภาพตามทิศทาง T แสดงภาพด้านหน้า (TOP-VIEW) 3. ภาพด้านข้างจะวางอยู่ขวามือของภาพด้านหน้า การสร้างหรือผลิตชิ้นงานในงานเขียนแบบ ในการสร้างหรือผลิตชิ้นงานในงานเขียนแบบ มีกระบวนการปฏิบัติงาน ดังนี้ • การวางแผน ( Plan) การวางแผนงานให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ • ปฏิบัติ (Do) ลงมือปฏิบัติทา งานตามแผนที่กา หนด เพื่อให้งานสา เร็จตามเป้าหมาย • ประเมินผล (Check) การประเมินผลเป็นการตรวจสอบการทา งาน กระทา ได้ทั้งระหว่างการปฏิบัติงาน และหลังการปฏิบัติงาน • ปรับปรุง (Action) ปรับปรุงข้อบกพร่อง และพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ มาตราส่วน ในงานเขียนแบบ แบบงานถ้าเขียนเท่าขนดจริงได้จะดีมาก ทา ให้เขียนแบบได้ง่ายขึ้น แต่บางครั้งชิ้นงานมีขนาด ใหญ่หรือเล็กเกินไป
  • 4. จึงจา เป็นต้องย่อหรือขยายการเขียนแบบลงในกระดาษในงานอุตสาหกรรมส่วนมากจะใช้มาตราส่วนย่อ 1 : 2 , 1 : 4 หรือ 1 : 8 แต่ถ้ามีการขายขนาดก็จะเพิ่มเป็น 2 เท่า หรือ 4 เท่า เป็นต้น แสดงสเกลย่อและขยายที่ใช้ในงานเขียนแบบ (นริศ, 2545 : 38 ) ขนาดของแบบใหญ่กว่าขนาดจริง (Enlarged) ขนาดของแบบเท่ากับของจริง (Same Size) ขนาดของแบบเล็กกว่าของจริง (Reduced) 2000 : 1 1000 : 1 500 : 1 200 : 1 100 : 1 50 : 1 20 : 1 10 : 1 5 : 1 2 : 1 1 : 1 1 : 2 1 : 5 1 : 10 1 : 20 1 : 50 1 : 100 1 : 200 1 : 500 1 : 1000 1 : 2000 ใบงาน
  • 6. ให้นักเรียนทุกคนเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) เกี่ยวกับภาพในงานเขียนแบบ แล้วให้นักเรียนแลกเปลี่ยนกันพิจารณาผังความคิด (Mind Mapping) และให้นักเรียนแต่ละคนสรุปผลการพิจารณาแผนผังความคิด (Mind Mapping) ของเพื่อนในกลุ่มพร้อมทั้งข้อเสนอแนะ(เวลา 15 นาที)
  • 7.
  • 8. นักเรียนสามารถทา กิจกรรมกลุ่ม และนา เสนองานได้ นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 3-5 คน เลือกประธาน เลขานุการ แล้วอภิปราย แสดงข้อคิดเห็นในเรื่อง ความสา คัญงานเขียนแบบ เครื่องมือในงานเขียนแบบ มาตราส่วนในงานเขียนแบบ และภาพในงานเขียนแบบ (เวลา 30 นาที) ใบงานที่ 2.3
  • 9. งานช่าง ชื่องานเขียนภาพสามมิติ จากภาพฉาย งานรายบุคคล รหัส 42101 เวลา 15 นาที จุดประสงค์ 1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือเขียนแบบเบื้องต้น 2. เขียนภาพสามมิติ ตามใบงานกา หนดได้ แบบฝึกการเขียนภาพสามมิติจากภาพฉาย (อารมณ์.ใบงานเขียนแบบ , 2550 ) เครื่องมือ-อุปกรณ์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ดินสอเกรด 2 H • ยางลบ • เทปใส • ศึกษาจากแบบภาพฉายด้านซ้ายมื อ • เขียนภาพสามมิติตามเส้นตาราง Isometric ที่กา หนดให้ • อภิปราย
  • 10. องค์ประกอบของการออกแบบ (The Elements of Design) องค์ประกอบต่าง ๆ ของการออกแบบสามารถนามาใช้ประกอบกันเมื่อเริ่มคิดแบบและวางเลย์เอ้าท์ เป็นสิ่งที่ช่วยให้มีจุดยืนในการเริ่มต้นออกแบบ และเพิ่มความหลากหลายของงาน องค์ประกอบของการออกแบบได้แก่ เส้น (Line) เส้นคือการเชื่อมต่อของจุดสองจุดด้วยจุดหรือเครื่องหมายใด ๆ อย่างต่อเนื่องกัน เส้นมีหลายลักษณะ เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นหนา เส้นบาง เส้นประ เป็นต้น การใช้เส้นในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • เป็นเส้นกรอบของรูปภาพหรือข้อความ • สร้างกริด (Grid) • จัดข้อมูลให้เป็นระเบียบ • เน้นส่วนสา คัญ • เชื่อมส่วนประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน • สร้างกราฟหรือผังข้อมูล • สร้างลวดลายด้วยเส้นสายรูปแบบต่าง ๆ • นา สายตาผู้ดูไปยังจุดที่ต้องการ หรือสร้างความรู้สึกถึงการเคลื่อนไหว • สร้างอารมณ์หรือโน้มนาความรู้สึก รูปทรง (Shape) รูปทรงคือสิ่งที่มีความกว้างและความสูง มี 3 แบบคือ 1. รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม เป็นต้น 2. รูปทรงตามธรรมชาติ เช่น ภูเขา รูปร่างของคนและสัตว์ต่าง ๆ 3. รูปทรงดัดแปลงซึ่งได้มาจากการนา รูปร่างธรรมชาติมาทา ให้เรียบง่ายขึ้น การใช้รูปร่างในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • จัดวางข้อความอยู่ภายในกรอบที่มีรูปทรงแบบต่าง ๆ • สร้างรูปแบบใหม่ ๆ • ใส่สีเป็นรูปทรงต่าง ๆ บนข้อความที่ต้องการเน้นหรือดึงดูดความสนใจ • ทา รูปทรงเฉพาะขึ้นแทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ • ตัดกรอบภาพเป็นรูปทรงที่แปลกออกไปเพื่อให้ดูน่าสนใจขึ้น พื้นผิว (Texture) พื้นผิวคือสิ่งที่มองเห็นหรือสัมผัสได้บนผิวหน้าของงาน พื้นผิวที่ไม่เหมือนกันทา ให้งานออกแบบเดียวกันดูแตกต่างกัน พื้นผิวจะเพิ่มมิติให้กับงาน
  • 11. และผู้ดูสามารถสัมผัสกับพื้นผิวที่นักออกแบบใช้กับงานได้ การใช้พื้นผิวในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • เพื่อกระตุ้นอารมณ์และความรู้สึก • สร้างความแตกต่างเพื่อดึงดูดความสนใจ • ทา ให้งานมีเอกลักษณ์ • ลวงสายตาด้วยลวดลายและแสงเงาของพื้นผิว • สร้างมิติและความลึก ช่องไฟ (Space) ช่องไฟคือพื้นที่ว่างที่อยู่ระหว่างหรือโดยรอบวัตถุ หรือตัวอักษร ช่องไฟทา ให้สิ่งที่นา มาใส่ไว้ในหน้างานแยกออกจากกัน หรือดูเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทา ให้เกิดการเน้น และเป็นจุดพักสายตา การใช้ช่องไฟในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • ช่วยให้เรื่องราวในเลย์เอ้าท์ง่ายต่อการติดตาม • ช่วยให้แต่ละองค์ประกอบของงานดูเสมอกัน • เป็นจุดพักสายตา • ช่วยเน้นส่วนประกอบที่สา คัญ เช่น ปล่อยให้มีช่องว่างรอบๆส่วนประกอบนั้นมากกว่าที่อื่น • ทา ให้ตัวอักษรดูเด่นชัดขึ้น ขนาด (Size) ขนาดของวัตถุทั้งใหญ่หรือเล็กเป็นส่วนประกอบกันที่ทา ให้เลย์เอ้าท์มีรูปแบบขึ้นมา การจัดขนาดส่วนประกอบต่าง ๆ ได้ดีจะทา ให้เลย์เอ้าท์น่าสนใจยิ่งขึ้นและดูเป็นระเบียบขึ้น ขนาดจะทา ให้เห็นความสา คัญของสิ่งที่ต้องการเน้น ช่วยดึงดูดความสนใจ และช่วยให้เลย์เอ้าท์ประกอบเข้าด้วยกันได้อย่างเหมาะสม การใช้ขนาดในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • แสดงความสา คัญขององค์ประกอบ • ดึงดูดความสนใจ เช่น ใช้ขนาดที่ต่างกันเพื่อให้เกิดการตัดกัน • ทา ให้มองเห็นองค์ประกอบแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้น • ทา ให้งานดูมีความสม่า เสมอตลอดทั้งหน้า ค่าความดา (Value) ค่าความดา คือ ความมืดหรือความสว่างของพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดจากการไล่ค่าระดับความสว่างหรือความมืดที่อยู่ระหว่างขาวไปจนถึงดา ค่าความดา นี้จะแสดงเฉดของสีต่าง ๆ เป็นเฉดขเฉดสีเทาเหล่านี้จะมีค่าความดา จากอ่อนที่สุดไปถึงเข้มที่สุด ค่าความดา ทา ให้เกิดอารมณ์ ความหม่นมัวและความลึก
  • 12. การใช้ค่าความดาในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • ทา ให้สิ่งของดูมีมิติ มีความลึก และมีแสงเงา • ทา ให้รู้สึกถึงสิ่งของใดอยู่ด้าน สิ่งใดอยู่ด้านหลัง • ทา ให้ภาพรวมเป็นภาพประเภทสว่าง (High Key) หรือมืด (Low Key) ตามปริมาณค่าความดา รวม • ใช้เน้นส่วนสา คัญ โดยให้ค่าความดา ของส่วนที่ต้องการเน้นแตกต่างกับส่วนที่อยู่โดยรอบ • ใช้นา สายตาไปยังจุดที่ต้องการ สี (Color) สีเป็นองค์ประกอบของการออกแบบที่มีความสา คัญมาก เพราะสีจะมีผลด้านอารมณ์ และความรู้สึก สียังทา ให้เกิดภาดึงดูดความสนใจ และบอกความรู้สึกของสิ่งต่าง ๆ ก่อนจะเลือกใช้สีต้องพิจารณาก่อนว่าต้องการใช้สีทา ให้เกิดผลในลักษณะใด และสีใดที่เหมาะกับวัตถุประสงค์นั้น ๆ การใช้สีในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • สามารถดึงดูดสายตาให้เกิดความสนใจ • ช่วยสร้างอารมณ์ ความรู้สึก • ช่วยดึงสายตาว่าจุดใดเป็นจุดแรกที่ต้องการให้มอง • สามารถจัดองค์ประกอบของงานรวมกลุ่มกัน หรือจะแยกมันออกจากกันด้วยการเลือกใช้สีที่ต่างกันไป • ช่วยผสมผสานให้ภาพรวมมีความสมดุล • ใช้เน้นข้อความสา คัญหรือหัวเรื่อง ตัวอักษร (Typography) ตวัอักษรเป็นองค์ประกอบที่แตกต่างไปจากองค์ประกอบอื่น ตัวอักษรสามารถเรียงร้อยบอกเล่าเรื่องราวให้ผู้อ่านได้โดยตรง ไม่ต้องแปลความหมายเหมือนเช่นองค์ประกอบอื่น ในขณะเดียวกันเราก็สามารถตกแต่งตัวอักษรโดยใช้รูปแบบ ขนาด และสีสัน มาจัดวางเป็นรูปแบบต่าง ๆ สร้างแรงดึงดูดให้สนใจและน่าติดตาม การใช้ตัวอักษรในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ • ใช้บอกกล่าวข้อความที่องค์ประกอบอื่นไม่สามารถสื่อออกมาได้ • ดึงดูดให้เกิดความสนใจด้วยขนาด สีสันและข้อความที่เร้าใจ • จัดลา ดับความสา คัญและบอกเล่ารายละเอียดโดยจัดทา หัวข้อหลัก หัวข้อรอง และเนื้อหา ฯลฯ • สามารถจัดเรียงตัวอักษรประกอบเป็นภาพ หรือรูปทรงต่าง ๆ โดยใช้แบบอักษร ขนาด และสีสัน ที่ต่าง ๆ กัน • สามารถจัดแบ่งเป็นกลุ่มก้อน จัดวางและใช้ช่องไฟ สีสันตลอดจนองค์ประกอบอื่นในการแบ่งแยกให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อกาและดูสวยงาม • ใช้ขยายความ หรืออธิบายภาพประกอบต่าง ๆ
  • 13. หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์ (The Principles of Design) หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์เป็นหลักในการพิจารณาว่าจะใช้องค์ประกอบของการออกแบบอย่างไร และช่วยให้สามารถผสมผสานส่วนประกอบต่าง ๆ ของงานจนจัดวางเป็นเลย์เอ้าท์ที่ดีได้ หลักการออกแบบฯ มี 4 ข้อดังนี้ 1. ความสมดุล (Balance) สมดุลคือการกระจายอย่างทั่วถึงของน้า หนัก ในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ น้า หนักของส่วนประกอบต่าเป็นน้า หนักที่สายตารู้สึกเมื่อมองส่วนประกอบนั้น ๆ ทุกส่วนบนเลย์เอ้าท์มีน้า หนักซึ่งรู้สึกได้จากขนาด ความมืดหรือความสว่าสีและความเข้มของสี ความหนาและบางของเส้น ความสมดุลมีสองแบบ คือสมดุลที่กระจายเท่ากันทั้งซ้ายขวาของศูนย์กลาง (Balance) และความสมดุลที่เกิดจากการนา ส่วนประกอบที่มีขนาดไม่เท่ากันมาจัดวางแต่เมื่อดูโดยรวมแล้วน้า หนักทั้งหมดสมดุ(Asymmetry Balance) องค์ประกอบของการออกแบบที่นา มาใช้เพื่อสร้างความสมดุลได้แก่ รูปร่าง ขนาด ค่าความดา สี Symmetrical Balance จะให้ความรู้สึกมั่นคง แข็งแรง เหมาะสา หรับสิ่งพิมพ์ที่ต้องการสื่อถึงความมีระเบียบแบบแผน และความอนุรักษ์นิยม Asymmetrical Balance จะสื่อถึงความขัดแย้ง ความหลากหลาย ความไม่เป็นระเบียบ และความประหลาดใจ การสร้างความสมดุล • กา หนดจุดศูนย์กลางของชิ้นงาน • ส่วนประกอบเล็กๆหลายชิ้นสามารถสมดุลกับส่วนประกอบใหญ่หนึ่งชิ้น • ใช้รูปร่างที่แปลกออกไปหนึ่งหรือสองชิ้นร่วมกับรูปร่างทั่ว ๆ ไป • เว้นช่องว่างสีขาวให้มากรอบ ๆ คอลัมน์สีเข้ม หรือรูปภาพมืด ๆ • ตัวอักษรที่หนาหนัก ควรมีภาพสีสว่าง สดใสมาช่วยให้สว่างขึ้น • ภาพถ่ายหรือภาพประกอบสีทึม ควรวางตัวหนังสือชิ้นเล็กๆหลายชิ้นประกอบเข้าไป และเว้นช่องไฟสีขาวโดยรอบเยอะ ๆ 2. จังหวะ (Rhythm) จังหวะคือรูปแบบที่เกิดจากการซ้า กันขององค์ประกอบต่างๆ การซ้า กันขององค์ประกอบเดียวกันในลักษณะที่สม่า เสมอ และความแตกต่างเช่น การเปลี่ยนรูปร่าง ขนาด หรือตา แหน่งของอเป็นสิ่งที่ทา ให้เกิดการมองเห็นจังหวะในงานออกแบบ การวางองค์ประกอบซ้า ๆ กันที่ระยะห่างเท่า ๆ กันทา ให้เกิดความรู้สึกราจังหวะที่เท่า ๆ กัน สงบและผ่อนคลาย การเปลี่ยนขนาดและช่องไฟของส่วนประกอบอย่างฉับพลันจะทา ให้เกิดจังหวะเร็วและและสร้างความรู้สึกน่าตื่นเต้น การสร้างจังหวะในงานออกแบบ • วางองค์ประกอบเดิมซ้า กันและให้มีช่องไฟเท่ากัน • วางองค์ประกอบเดิมในขนาดที่ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ และขยายช่องไฟขึ้นให้รับกัน
  • 14. • มีการกลับความหนาบางของตัวอักษร เช่นให้มีตัวอักษรบางเบา สลับกับตัวทึบหนา • วางองค์ประกอบเดิมในหลาย ๆ จุดบนเลย์เอ้าท์ • ถ้ามีหลายหน้าอาจวางองค์ประกอบเดิมที่จุดเดียวกันบนทุก ๆ หน้า 3. การเน้น (Emphasis) การเน้นคือการทา ให้องค์ประกอบหนึ่งเป็นที่สังเกตเห็นก่อนส่วนอื่น ๆ จะเกิดขึ้นเมื่อองค์ประกอบนั้นแตกต่างจากองค์ประกอบอื่น บนงานออกแบบทุกชิ้นควรมีจุดเด่นนี้เพื่อดึงดูดสายตาของผู้ดูไปสู่ส่วนสา คัญของงาน แต่ถ้ามีจุดเด่นมากเกินไปก็อาจไม่เกิดผลตามที่ต้องการ การทาให้เกิดจุดสนใจ • วางรูปภาพที่ต้องการเน้นให้กรอบภาพมีรูปทรงแปลกออกไปท่ามกลางรูปที่มีกรอบสี่เหลี่ยมและมีช่องไฟเท่า ๆ กัน • ใช้เส้นโค้งเป็นรูปร่างของตัวอักษรที่จะเน้นท่ามกลางตัวอักษรตรง ๆ • ใช้ตัวอักษรสีหรือรูปแบบตัวอักษรที่ต่างออกไปเมื่อต้องการเน้น • ใช้ตัวอักษรขาวบนพื้นสีสา หรับสิ่งที่จะเน้น • ใช้ตัวหนาสา หรับหัวข้อและตัวอักษรที่บางลงสา หรับเนื้อหา 4. เอกภาพ (Unity) เอกภาพทา ให้งานออกแบบดูเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งจะช่วยผู้อ่านรู้ว่าเป็นงานชิ้นเดียวกัน ใช้กริด (Grid) เพื่อวางกรอบโครงร่างของงาน (การเว้นคั่นหน้า คั่นหลัง คอลัมน์ การเว้นช่องไฟ และสัดส่วน) ให้เป็นระบบระเบียบ การจัดกลุ่มให้องค์ประกอบเป็นอันหนึ่งอันเดียวให้ดูเรื่องการซ้า กันของสี รูปร่างและพื้นผิว เพื่อทา ให้ผู้อ่านเห็นตัวอักษร หัวเรื่ภาพถ่าย เป็นงานเดียวกัน การสร้างเอกภาพ • ใช้ตัวอักษรเพียงหนึ่งหรือสองแบบตลอดชิ้นงาน ถ้าจะให้มีการตัดกันให้ใช้ขนาดที่แตกต่างกัน • ให้มีความสม่า เสมอในเรื่องแบบตัวอักษร ขนาดของหัวข้อ หัวข้อย่อย และข้อความ • เลือกภาพที่มีโครงสีคล้ายคลึงกัน • วางรูปภาพและคอลัมน์ในเส้นกริดเดียวกัน • เลือกใช้สีจากชุดสีเดียวกันตลอดทั้งงาน • ให้มีการซ้า กันของสี รูปร่างและพื้นผิวในที่ต่าง ๆ ตลอดทั้งงาน