SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ 
Aj Saroj Waikhongkha 
Multimedia Technology
การออกแบบคืออะไร (What is Design) 
การออกแบบ คือการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ การปรับปรุงสิ่งเดิมให้ดีขึ้น ด้วยการ 
ใช้หลักทัศนธาตุ องค์ประกอบทางศิลปะ ทฤษฎีต่างๆเป็นแนวทาง และใช้ 
วัสดุนานาชนิดในการสร้างสรรค์งาน ตามวิธีการที่เหมาะสม
จุดมุ่งหมายของการออกแบบแบ่งได้ 2 ประการ 
1. การออกแบบเพื่อประโยชน์ใช้สอย 
ผู้ออกแบบต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยเป็นจุดมุ่งหมายแรก ประโยชน์ที่ได้รับมีทั้งการ 
ใช้สอย และการสื่อสาร 
ประโยชน์ของการใช้สอยได้แก่ การออกแบบ อุปกรณ์ เครื่องมือทั่วไป (ทางตรง) 
ประโยชน์ของการสื่อสาร เน้นด้วยการสื่อสารด้วยภาษาและภาพ การออกแบบส่วนมาก 
เกี่ยวข้องในด้านจิตวิทยา ซึ่งให้ประโยชน์ในด้าน ศรัทธา ความเชื่อ การยอมรับ
2. การออกแบบเพื่อความงาม 
เน้นการใช้ประโยชน์ด้านจิตใจเป็นหลัก เกิดความพึงพอใจ การออกแบบได้แก่การ 
สร้างสรรค์ด้านจิตกรรม ประติมากรรม ตลอดงานตกแต่งต่างๆ
ในการทำงานศิลปะสิ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นก่อนการทำงานคือ...? 
แรงบันดาลใจ 
แรงบันดาลใจมีความสำคัญต่อการออกแบบ แรงบันดาลใจมีสิ่งที่มาแตกต่างกัน แรง 
บันดาลใจเกิดขึ้นได้ 2 ทางคือ 
1. สิ่งที่มองไม่เห็น (เกิดขึ้นจากภายใน) ผ่านทางสมองเรียกว่า “ความคิดหรือ 
จินตนาการ”
2. สิ่งที่มองเห็น 
เกิดจากความทรงจำและความรู้เดิม และสิ่งแวดล้อม เช่นธรรมชาติ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น 
หรือการศึกษาผลงาน 
จินตนาการเป็นสิ่งที่เร้นลับ ทำให้เกิดความคิดจินตนาการทางศิลปกรรมทั้งนามธรรม และ 
รูปธรรม เมื่อศิลปินมองดูสิ่งใด เป็นธรรมชาติ ไม่เป็นธรรมชาติ เป็นระเบียบ ไม่เป็น 
ระเบียบ ฟังดนตรี หรืออ่านหนังสือ ก็อาจได้รับแรงบันดาลใจ และทำให้เกิดแนวคิดเป็น 
งานศิลปะของตนเองขึ้น
แหล่งที่มาของแรงบันดาลใจ 
1 จินตนาการ 
แต่ละคนย่อมมีจินตนาการที่แตกต่างกัน ทั้งนี้เกิดจากสภาพจิตใจ สภาพร่างกาย หรือ 
ประสบการณ์ที่ได้สร้างสมมาของแต่ละคน 
2 ธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม 
เกิดได้ 2 ทางคือทางตรง และทางอ้อม 
ทางตรง คือการมองเห็นโดยตรง แล้วเกิดแรงบันดาลใจขึ้นในขณะนั้น
ทางอ้อม 
ไม่ได้เกิดจากสถานที่จริง อาจเห็นจากรูปภาพ จากหนังสือ ภาพยนตร์ แล้วเกิดแรงบันดาล 
ใจขึ้นมา การสร้างรูปแบบงานนี้อาจสร้างทั้งในรูปแบบ เหมือนจริงหรือ บิดเบือนความ 
เป็นจริงก็ได้
3 สังคม ศิลปะและวัฒนธรรม 
แรงบันดาลใจในลักษณะนี้เกิดจากความเชื่อ กิจวัตรประจำวัน ความนึกคิดแต่ละสถานที่ 
แต่ละประเทศ สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดแรงบันดาลใจทั้งทางตรงและทางอ้อม
ในการทำงานศิลปะ เราอาจจะต้องกำหนดรูปแบบเป็นความเฉพาะของตัวเองขึ้นมา 
เนื่องจากการสร้างงานศิลปะเป็นสิ่งที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้นเราจึงต้องกำหนด...รูปแบบมัน 
ขึ้นมา 
รูปแบบ (Style) 
งานศิลปะในช่วงแรกเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวีต ความเชื่อ ประสบการณ์ และนำไปสู่ใน 
เรื่องของจิตวิญญาณ และศาสนา
ช่วงต่อมา ศิลปินได้แสดงจินตนาการ รูปแบบความคิดของตนเองมากขึ้น มีการใช้ความรู้ 
ด้านวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วย ส่งผลให้ภาพที่ได้มีคุณภาพแบบการสร้างสรรค์ยิ่งขึ้นกว่าการ 
เขียนภาพเหมือนจริง 
ท่านอาจารย์ศิลป์ พีรศรี ได้กล่าวไว้ว่า รูปแบบของงานศิลปะเกิดขึ้นจากสาเหตุหลายๆ 
ประการคือ 
1 ลักษณะประจำชาติ แสดงถึงเอกลักษณ์ประจำชาติ 
2 ลักษณะพิเศษแต่ละท้องถิ่น นำผสมผสานกัน 
3 ศิลปินพยายามสร้างลักษณะเฉพาะตน
ดังนั้นคำจำกัดความของรูปแบบจึงหมายถึง 
ลักษณะพิเศษของผลงานศิลปะทุกแขนง ซึ่งแตกต่างไปตามความคิด นักออกแบบ 
เป็นผู้กำหนด เพิ่มเติม หรือแตกต่างไปจากธรรมชาติ เพื่อให้มีความเฉพาะตน ท้อง 
ถิ่น เป็นต้น 
รูปแบบของการออกแบบ มีอยู่หลายๆส่วนงาน ในเนื้อหาบทนี้ขอพูดถึงในส่วนขอยก 
ตัวอย่างงานในรูปแบบของประยุกตฺศิลป์ 
รูปแบบของการออกแบบประยุกต์ศิลป์ แบ่งได้กว้างๆเป็น 2 ประเภทคือ
1 รูปแบบโครงสร้าง 
เกี่ยวข้องกับรูปร่างและขนาดของวัตถุ มีคุณสมบัติทรงตัวด้วยตัวของมันเอง เช่น 
พีระมิดของอียีปต์ หรือเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ได้แสดงออกถึงสัจจะการใช้วัสดุ 
การสร้างอย่างชัดเจนโดยไม่บิดเบือน 
รูปแบบของโครงสร้างที่ดีจะต้องประกอบด้วย 
1 เรียบง่าย 
2 มีสัดส่วนที่ดี 
3 ใช้วัสดุที่เหมาะสม 
4 มีลักษณะเด่น 
และเหมาะสม
2 รูปแบบมัณฑนศิลป์ 
เกี่ยวข้องกับลวดลาย ประดับโครงสร้างพื้นฐาน หรือโครงสร้างหลัก เช่นลวดลาย 
ประดับหลังคา ลวดลายประดับหัวเสา หน้าจั่วโบสถ์ 
รูปแบบชนิดนี้มีอยู่ 3 ประเภทคือ 
2.1 รูปแบบเหมือนจริงธรรมชาติ
2.2 รูปแบบกำหนดนิยม หรือขนบนิยม 
รูปแบบที่เกิดจากธรรมชาติ แต่นักออกแบบนำมาดัดแปลง หรือประยุกต์ให้เหมาะสม 
กับสถานที่หรือที่ได้รับการตกแต่ง จนมีการยอมรับ 
2.3 รูปแบบนามธรรม
รูปแบบมัณฑนศิลป์ที่ดีนั้น มีหลักในการพิจารณาคือ 
- มีความเหมาะสม ส่งเสริมให้ดูงาม 
- ตำแหน่งที่ใช้ประดับ ถูกต้องมีเหตุผล 
- สัดส่วน เหมาะสมกับโครงสร้างเดิม
การทำงานศิลปะสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยในการเกิดรูปแบบใหม่ๆของงานขึ้นมา สิ่งสิ่งนั้นเราเรียก 
กระบวนการนี้ว่า 
การสร้างสรรค์
การสร้างสรรค์ 
การสร้างสรรค์ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆเกิดขึ้น 
เพื่อสนองความต้องการ อยากรู้ อยากเห็น หา 
ประสบการณ์ การสร้างสรรค์ของมนุษย์มีมาตั้งแต่สมัย 
โบราณในการทำสิ่งต่างๆให้ดีขึ้นกว่าเดิม มนุษย์จึงเป็น 
สัตว์ที่แตกต่างจากสัตว์ประเภทอื่นๆ
การสร้างสรรค์ 
การสร้างสรรค์เป็นคุณสมบัติที่มีอยู่ในมนุษย์ เพราะมนุษย์มีความเป็นธรรมชาติที่พิเศษ 
กว่าสัตว์อื่นคือ 
1 เป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ 
2 ยอมรับฟังความคิดเห็นใหม่ๆเสมอ 
3 เป็นผู้สะสมความรู้เสมอ 
4 เป็นผู้ที่จดบันทึกความคิดใหม่ๆไว้เสมอ 
5 เป็นผู้คิดในทางรูปธรรม วางแผนเป็นลำดับ 
ขั้นตอน
ส่วนประกอบของความคิดสร้างสรรค์ 
1 การรับรู้ 
มักพบเห็นสิ่งต่างๆมามาก มีการรับรู้มาก และพยามสังเกตสิ่งที่รับรู้นั้น 
2 จินตนาการ 
เป็นการรับรู้ด้วยประสาท รู้มาก 
เห็นมาก คิดมาก จินตนาการจึง 
เกิดจากการสะสมความรู้ทั้งมวล
3 ประสบการณ์ 
เป็นผลต่อการรับรู้ในการเรียน รู้ในการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาก่อนเก็บสะสมไว้ในสมอง 
และพร้อมที่จะแสดงออกมาในเวลาที่สมควร ประสบการณ์เป็นปัจจัยผลักดันให้เกิด 
การสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ใหม่ๆ ทำให้โลกมีสิ่งแวดล้อมทางความงามมากขึ้น 
แนวคิดของการสร้างสรรค์ 
1 มีความรู้ในวัตถุประสงค์ของงานที่จะสร้างสรรค์ วัตถุประสงค์ของการทำงาน ทำ 
เพื่ออะไร เพื่อใคร ที่ไหน อย่างไร ทั้งนี้อาจมีการนำอิธิพลจากศิลปินต่างๆมาปรับใช้ 
กับความคิดสร้างสรรค์ของตน แต่ไม่ใช่การลอกเลียนแบบทั้งหมด
แนวคิดของการสร้างสรรค์ 
2 เทคนิคในการทำงาน มีการสร้างสรรค์ผลงานให้เชี่ยวชาญเฉพาะงาน รู้เทคนิคการ 
ทำงาน ผู้ทำงานอาจจะต้องเลือกเทคนิควิธีให้เหมาะกับการทำงาน เลือกใช้เครื่องมือ 
วัตถุให้เหมาะกับการใช้สอย ใช้กระบวนการอย่างเป็นลำดับขั้นตอน
แนวคิดของการสร้างสรรค์ 
3 คุณค่าทางสุนทรียภาพ หมายถึงความงาม โครงสร้าง สัดส่วน สี ผิว และองค์ 
ประกอบที่เกี่ยวข้อง งานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์มีคุณค่าทางความงามที่กว้างขวาง 
มีทฤษฎีที่เป็นหลักคือ 
3.1 ความงามต้องประกอบไปด้วยเส้น สี รูปร่าง รูปทรง ผิว น้ำหนัก
แนวคิดของการสร้างสรรค์ 
3.2 สร้างสรรค์ตามหลักสุนทรียศาสตร์ คือ ดุลยภาพ ส่วนสัด ช่วงจังหวะ ความ 
กลมกลืน ความแตกต่าง จุดเด่น 
3.3 การใช้วัสดุตกแต่งพื้นผิว ให้ 
เหมาะสมกับหน้าที่ใช้สอย และ 
การสร้างสรรค์ให้เหมาะกับรูป 
ลักษณะของวัตถุ
งานชิ้นที่ 2 (10 คะแนน) 
คำสั่ง 
ให้นักศึกษาสร้างผลงานศิลปะ โดยได้แหล่งที่มาของแรงบันดาลใจ 
และจิตนาการ มาจากสิ่งต่อไปนี้ 
1 รูปทรงเลขาคณิต 
2 รูปทรงอิสระ 
3 รูปทรงธรรมชาติ 
ทำลงในสมุดสะเก็ต ลงเส้นและแสงเงาให้เรียบร้อย (ใช้ดินสอ 2B 
ขึ้นไป)

More Related Content

What's hot

ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์พัน พัน
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptPreeda Chanlutin
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะBordin Sirikase
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์actioncutpro
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้SeeGrundy
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพDashodragon KaoKaen
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริjeabjeabloei
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์Preeda Chanlutin
 

What's hot (20)

ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพ
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 

Viewers also liked

In design cs5
In design cs5In design cs5
In design cs5School
 
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นการใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นgemini_17
 
Buying Design Better : Sandra Dartnell
Buying Design Better : Sandra Dartnell Buying Design Better : Sandra Dartnell
Buying Design Better : Sandra Dartnell Sandra Dartnell
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 

Viewers also liked (8)

In design cs5
In design cs5In design cs5
In design cs5
 
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นการใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
 
Design and photoshop
Design and photoshop Design and photoshop
Design and photoshop
 
Buying Design Better : Sandra Dartnell
Buying Design Better : Sandra Dartnell Buying Design Better : Sandra Dartnell
Buying Design Better : Sandra Dartnell
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 

Similar to ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ

การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีkrunoommr
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกPakornkrits
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกPakornkrits
 
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3mathawee wattana
 
9789740331674
97897403316749789740331674
9789740331674CUPress
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรYuttana Sojantuek
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingTeetut Tresirichod
 
คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2Duangsuwun Lasadang
 
ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อมทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อมณัฐพล บัวพันธ์
 

Similar to ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ (20)

การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยี
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
 
9789740331674
97897403316749789740331674
9789740331674
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตร
 
เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
Chapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of designChapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of design
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinking
 
คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2
 
Poster format seminar pht 2013
Poster format seminar pht 2013Poster format seminar pht 2013
Poster format seminar pht 2013
 
ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อมทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
 
Chapter3 part1 2-3
Chapter3 part1 2-3Chapter3 part1 2-3
Chapter3 part1 2-3
 

ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ