SlideShare a Scribd company logo
2.2 กรรมวิธีการผลิตเหล็กชนิดต่าง ๆ
2.2.1 กรรมวิธีการผลิตเหล็กดิบ
เหล็กดิบผลิตขึ้นจากเตาสูง (Blast Furnace) โดยการหลอมสินแร่เหล็กกับถ่านโค๊กและหิน
ปูน ซึ่งคุณภาพของเหล็กดิบที่ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของสินแร่ที่นามาหลอม
1. การถลุงแร่เหล็กโดยใช้เตาลมพ่นหรือเตาสูง (Blast Furnace) เตาลมพ่นหรือเตาสูงมี
ลักษณะคล้ายปล่องไฟสูงประมาณ 30 เมตร กว้างประมาณ 10 เมตร ภายนอกเตาเป็นเหล็กแผ่น กรุภายในด้วยอิฐทนไฟ มีท่อ
น้าเหล็กเย็นแทรกระหว่างอิฐกาแพงเตาเพื่อควบคุมอุณหภูมิส่วนต่าง ๆ ของเตา
วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ
1. สินแร่เหล็ก (Iron Ore) ใส่เข้าไปเพื่อถลุงเอาเหล็กดิบ
2. ถ่านโค๊ก (Coke) ใส่เข้าไปเพื่อเป็นเชื้อเพลิงและตัวทาปฏิกิริยา
3. หินปูน (Limestone) หรือแคลเซียมคาร์บอเนต ใส่เข้าไปเพื่อดึงเอกสารมลทินออกจากสินแร่เหล็ก แยกตัว
ออกเป็นตะกรัน (Slag)
พิจารณาลักษณะเตาลมพ่นหรือเตาสูงได้ดังรูปที่ 2.1
รูปที่ 2.1 ลักษณะเตาลมพ่นหรือเตาสูง( Blast Furnace )
วิธีการถลุงเหล็กดิบ
แร่เหล็ก หินปูน และถ่านโค้ก จะถูกป้ อนทางด้านบนของเตาเรียงแยกกันมาเป็นชั้น ๆ ความร้อนในการถลุงได้มาจาก
การเผาไหม้ของถ่านโค้ก โดยมีลมร้อนเป่ามาจากด้านล่างของเตาเพื่อช่วยการเผาไหม้หินปูนจะรวมตัวกับสารมลทินและสิ่ง
สกปรกต่าง ๆ เกิดเป็นฟองขี้ตะกรัน (Salg) ส่วนเนื้อเหล็กจะหลอมละลายรวมตัวกับคาร์บอนในถ่านโค๊กแล้วจมลงด้านล่างของ
เตา โดยมีขี้ตะกรันลอยอยู่ด้านบนโลหะหลอมละลาย เมื่อโลหะหลอมตัวมีปริมาณมากถึงจานวนหนึ่งจะมีการเปิดรูตรงที่ขี้
ตะกรันลอยอยู่เพื่อให้โหลทิ้งออกไป แล้วจึงเปิดรูด้านล่างให้น้าเหล็กไหลออกมาเข้าแบบพิมพ์ที่รองรับไว้เมื่อน้าเหล็กเย็นตัว
ลงในแบบพิมพ์จะได้แท่งเหล็กที่เรียกว่า เหล็กดิบ
แท่งเหล็กดิบประกอบด้วยเนื้อเหล็กผสมกับคาร์บอนประมาณ 4.5% นอกจากนี้ยังมีสารอื่นปะปนอยู่ด้วย เช่น
ซิลิคอน กามะถัน ฟอสฟอรัส และแมงกานีส
พิจารณากระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่ด้วยเตาสูงได้ดังรูปที่ 2.2
รูปที่ 2.2 กระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่ด้วยเตาสูง
1. การถลุงแร่เหล็กแบบเหล็กพรุน (Sponge Iron) วิธีการผลิตเหล็กพรุนกระทาได้โดยบดแร่
เหล็กให้เป็นก้อนเล็ก ๆ ผสมกับสารลดออกซิเจนแล้วเผาในเตาปิด โดยใช้ความร้อนต่ากว่าจุดหลอมละลายของเหล็ก สารลด
ออกซิเจนดังกล่าวอาจใช้ถ่านโค้ก ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซไฮโดรเจนหรือน้ามันเตาก็ได้ผลผลิตที่ได้จะ
แข็งเป็นก้อนพรุนคล้ายฟองน้าหรือหินลาวาภูเขาไฟ เมื่อนาไปบดให้ละเอียดอีกครั้งหนึ่งแล้วใช้แม่เหล็กดูดจะทาให้ได้เหล็ก
พรุนที่มีปริมาณเหล็กสูง 80-90% และสามารถนาเหล็กพรุนไปใช้ผลิตเหล็กกล้าแทนเหล็กดิบที่ได้ถลุงจากเตาลมพ่นได้
พิจารณากระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่แบบเหล็กพรุนได้ดังรูปที่ 2.3
1 บรรจุแร่เหล็ก 6 แยกด้วยแม่เหล็ก 11 ถังเก็บ 16 ชั่งหาปริมาณ
2 บรรจุฟลักซ์ 7 บรรจุลงแบบ 12 บด 17 บรรจุเหล็กพรุนที่สาเร็จ
3 อบให้แห้ง 8 เผาลดออกซิเจน 13 แยกด้วยแม่เหล็ก
4 บด 9 เอาออกจากแบบ 14 ขัดและร่อนแยกขนาด
5 ร่อนคัดแยกขนาด 10 บดหยาบ 15 อบ
รูปที่ 2.4 กระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่แบบเหล็กพรุน
เตาในการผลิตเหล็กกล้ามี 2 แบบ
1. ผนังเตาแบบกรด (Acid Lining)
ผนังเตาแบบกรดนี้ จะใช้วัสดุพวกซิลิกา (SiO2) มาทาผนังเตา ข้อจากัดของการใช้ผนังเตาแบบ
กรด คือ ผนังเตาจะไม่ทาปฏิกิริยาทางเคมีกับธาตุฟอสฟอรัส ดังนั้นการผลิตเหล็กกล้าโดยใช้ผนังเตาแบบกรดจึงควรใช้กับ
เหล็กดิบที่มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสผสมอยู่ในเนื้อเหล็กน้อย
2. ผนังเตาแบบต่าง (Basic Lining)
ผนังเตาแบบด่างนี้ จะใช้วัสดุพวกแมกนีไซต์ (MgCo3) มาทาผนังเตา เพราะสามารถทาปฏิกิริยา
ทางเคมีกับซิลิคอน แมงกานีส กามะถันและฟอสฟอรัส ที่ผสมอยู่ในเนื้อเหล็กให้กลายเป็นสแลก
การผลิตเหล็กกล้า สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
1. การลดปริมาณธาตุคาร์บอน (Reduce Carbon) การนาเหล็กดิบที่ถลุงได้จากเตาสูงซึ่งมีสภาพ
เป็นของเหลวมาลดปริมาณธาตุคาร์บอนที่มีผสมอยู่ในเนื้อให้มีปริมาณน้อยที่สุดหรือให้หมดไป โดยการใช้ผนังเตาให้
เหมาะสมและใช้ออกซิเจนทาปฏิกิริยา ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น
1.1 การผลิตเหล็กกล้าแบบเบสเซเมอร์ (Bessemer Process)
การผลิตเหล็กกล้าแบบนี้ประดิษฐ์และตั้งขึ้นได้ โดย Henry Bessemer ในปี ค.ศ.1856 โครงสร้างของเตาจะตั้งอยู่
บนแกนซึ่งสามารถเอียงลงและตั้งขึ้นได้ตัวเตาด้านนอกเป็นเหล็กภายในบุด้วยอิฐทนไฟ จะมีท่อที่ใช้เป่าลมอยู่ที่ก้นเตา การ
ผลิตเหล็กกล้าทาได้โดยการนาน้าเหล็กดิบ หลอมละลายที่ได้จากการถลุงสินแร่เหล็กในเตาสูง เทลงไปในเตา ธาตุต่าง ๆ ที่มี
อยู่ในน้าเหล็กดิบ เช่น คาร์บอน ซิลิคอน แมงกานีส กามะถัน ฟอสฟอรัส จะทาปฏิกิริยากับผนังเตา กลายเป็นขี้ตะกรัน (Slag)
แต่จะยังไม่หมดจึงต้องเป่าลมเข้าไปในทางก้นเตา ก๊าซออกซิเจน (O) ที่มีอยู่ในอากาศจะเข้าไปทาปฏิกิริยากับธาตุคาร์บอน
กลายเป็นก๊าซคาร์บอนมานอกไซด์ (CO) ในขณะทาปฏิกิริยานี้ จะสังเกตได้ว่าจะมีเปลวไฟเกิดขึ้นและพุ่งออกมาจากทางปาก
ตา การ
ทาปฏิกิริยานี้ใช้เวลาประมาณจากทางปากตา การทาปฏิกิริยานี้ใช้เวลาประมาณ10 - 15 นาที น้าเหล็กที่อยู่ภายในเตาจะมี
อุณหภูมิประมาณ1,600 องศาเซลเซียส น้าเหล็กจะมีปริมาณคาร์บอนเหลืออยู่น้อยมาก หรือไม่มีอยู่เลย ถ้าเราต้องการจะผลิต
เหล็กกล้าชนิดไหนเราก็จะทาการเติมธาตุหรือโลหะต่าง ๆ ผสมเข้าไปเพื่อทาให้เหล็กกล้านั้นมีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะ
นาไปใช้งานตามความต้องการต่อไป
ภาพที่ 2.5 การผลิตเหล็กกล้าแบบเบสเซเมอร์
1.2 การผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส (Thomas Process)
การผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส พัฒนาขึ้นจากนักโลหะวิทยา ชื่อ Thomas เมื่อประมาณ ค.ศ.1950 เตาจะตั้งอยู่บน
แกน ซึ่งสามารถเอียงลงและตั้งขั้นได้ ตัวเตาทาจากเหล็กภายในบุด้วยอิฐทนไฟ แมกนีไซต์ (MgCO3) นาน้าเหล็กดิบหลอมเหลว
ที่ได้จากการถลุงสินแร่เหล็กในเตาสูง เทลงในเตา ธาตุต่าง ๆ ที่มีในเหล็กหลอมเหลว เช่น คาร์บอน ซิลิคอน แมงกานีส
ฟอสฟอรัส กามะถัน บางส่วนจะทาปฏิกิริยากับผนังเตากลายเป็นขี้ตะกรัน (Slag) แต่ยังไม่หมด เราจะเป่าอากาศเข้าไป เพื่อให้
ออกซิเจนทาปฏิกิริยากับธาตุ ต่างๆ ในน้าเหล็ก โดยเราจะเป่าอากาศเข้าไปในทางด้านบนของเตา ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-20
นาที เหล็กดิบที่นามาผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส โดยทั่วมักจะมีธาตุฟอสฟอรัส (P) มาก
ภาพที่ 2.6 การผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส
1.3 การผลิตเหล็กกล้าแบบ แอล ดี (L D Process)
การผลิตเหล็กกล้าแบบ L D พัฒนาขึ้นโดย Line และ Donauwitz แห่งประเทศออสเตรียโดยมีหลักการคล้ายกับ
การทาเหล็กกล้าแบบเบสเซเมอร์ แต่ใช้ออกซิเจนบริสุทธิ์เป่าเข้าไปทาปฏิกิริยากับธาตุต่าง ๆ ในน้าเหล็กแทนการใช้อากาศ
ธรรมดา เพราะว่าในอากาศธรรมดามีก๊าซไนโตรเจนอยู่ด้วย ถ้าเราเป่าอากาศธรรมดาเข้าไปเสียเวลา และเสียค่าใช้จ่ายโดย
เปล่าประโยชน์
2. การนาเหล็กกล้ามาหลอมใหม่ (Return Product) การนาเศษเหล็ก ชิ้นงานเครื่องจักรกลต่างๆ ที่ผลิตขึ้นจากเหล็กกล้า
ที่ชารุดหรือหมดสภาพการใช้งานแล้วนากลับมาหลอมละลายใหม่ ซึ่งการผลิตเหล็กกล้าด้วยวิธีการนี้สามารถทา
ได้หลายวิธีการ เช่น
2.1 การผลิตเหล็กกล้าแบบโอเพนฮาร์ท (Openheart Process)
การผลิตเหล็กแบบโอเพนฮาร์ท หรือเรียกว่าการผลิตเหล็กแบบเตากระทะพัฒนาขึ้นโดย
ซีเมนต์ (Siemens) และมาร์ติน (Martin) ประมาณ ค.ศ. 1860 เตาจะมีลักษณะเหมือนกระทะ เหนือขอบเตาจะมีท่อแก๊สเชื้อเพลิง
และท่ออากาศร้อนทั้ง 2 ข้าง ข้าง ละ 2 ท่อ เชื้อเพลิงที่ให้ความร้อนในการหลอมละลายคือ Producer Gas เมื่อเริ่มบรรจุวัตถุดิบเข้า
ตาแล้ว เตาจะทางานทีละข้าง Producer Gas เป็นก๊าซที่ได้จากการกลั่นทาลายถ่านหิน และอากาศร้อนจะพ่นออกไปรวมกันบริเวณ
เหนือวัตถุดิบในเตร ทาให้เกิดการเผาไหม้ขึ้น ความร้อนจะแพร่ไปในเตาเหนือวัตถุดิบ ความร้อนเหล่านี้จะผ่านออกจากเตาไป
ทางอีกข้างหนึ่งเข้าไปในห้องเผาอากาศ ซึ่งเป็นอิฐที่เรียงสลับกันไว้อิฐจะดูดเอาความร้อนนั้นไว้การทางานจะดาเนินไปเรื่อย
ๆ ห้องเผาอากาศจะค่อย ๆ มีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1,000 องศาเซลเซียส จากนั้นก็จะสลับข้างกันเช่นนี้เรื่อย ๆ ไปใช้เวลา
ประมาณ 4-6 ชั่วโมง วัตถุดิบที่อยู่ภายในเตาจะหลอมละลายเหล็ก เมื่อหลอมละลายเจ้าหน้าที่จะต้องนามาวิเคราะห์จนระดับ
ของคาร์บอนในเนื้อเหล็กเท่ากับเหล็กกล้าแต่ละชนิด
2.2 การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้ า (Electrical Furnace Process)
การผลิตเหล็กกล้าแบบนี้จะใช้เศษเหล็กกล้าที่ได้จากเครื่องจักร เครื่องกลต่าง ๆ ที่หมดสภาพการใช้งานแล้ว
นามาบรรจุในเตา จากนั้นจะให้ความร้อนแก่เศษเหล็กกล้าจากประกายไฟฟ้า (Electric Arc) ซึ่งกระโดดจากแท่งคาร์บอน
(electrodes) ไปยังเศษเหล็กซึ่งจะค่อย ๆ มีความร้อนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนหลอมละลายเป็นน้า โลหะหินปูน(Limestone) จะรวมตัวกับ
สิ่งที่เจือปนต่าง ๆ ในน้าเหล็ก เป็นขี้ตะกรัน ลอยอยุ่ข้างบนน้าโลหะ เตาไฟฟ้าให้ความร้อนได้รวดเร็ว ทาให้ผลิตเหล็กกล้าได้
เร็วกว่าการผลิตด้วยวิธีอื่น ๆ และให้อุณหภูมิสูงกว่าเตาชนิดอื่น สามารถใช้หลอมเหล็กกล้าผสมที่มีจุดหลอมเหลวสูง ๆ เช่น
เหล็กกล้าผสมทังสเตน เหล็กกล้าผสมโมลิบดีนัม หรือเหล็กเหนียวหล่อ (Cast Steel) ได้ดี
ภาพที่ 2.8 การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้า
2.3 การผลิตเหล็กกล้าแบบสุญญากาศ (Vacuum Furnace)
การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาสุญญากาศ มีลักษณะการทางานคล้ายกับการผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้า เพียงแต่
เตาชนิดนี้จะปิดเตามิดชิด และในขณะทาการหลอมเหลวโลหะจะปั๊มอากาศที่อยู่ในเตาออก ภายในเตาจะมีลักษณะเป็น
สุญญากาศ เหล็กจากขบวนการนี้จะไม่มีโอกาสสัมผัสกับออกซิเจน ไนโตรเจน ในอากาศเลย ทาให้เหล็กที่ได้มีโครงสร้างเม็ด
เกรนละเอียดมาก การผลิตเหล็กกล้าแบบนี้เหมาะสาหรับใช้ผลิตเหล็กกล้าที่ต้องการคุณภาพสูง หรือผลิตโลหะบางชนิดที่
ในขณะหลอมเหลวถ้าทาปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ จะทาให้เกิดความเสียหายขึ้นได้เหล็กกล้าที่ผลิตได้จากกรรมวิธีนี้
นาไปสร้างชิ้นส่วน อุปกรณ์ที่ต้องรับแรงอัดสูง ๆ หรือชิ้นงานที่ต้องใช้เหล็กที่มีความพิเศษมาก ๆ เช่น โครงสร้างเครื่องยนต์
แก๊สเทอร์ไบน์
ภาพที่ 2.9 การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้า
เหล็กกึ่งสาเร็จรูป (Semifenish Steel Product)
น้าเหล็กเมื่อผ่านวิธีการปรับสภาพให้เป็นเหล็กกล้าแล้ว น้าเหล็กกล้าจะถูกนาไปเทลงในแบบหล่อ (Mold) ให้เป็นอิน
กอท ทิ้งไว้ระยะหนึ่งน้าโลหะจะจับตัวเป็นรูปร่าง ยกแบบหล่อออกจากแท่งอินกอท จากนั้นลาเลียงแท่งอินกอท ทิ้งไว้ระยะ
หนึ่งน้าโลหะจะจับตัวเป็นรูปร่าง ยกแบบหล่อออกจากแท่งอินกอท จากนั้นลาเลียงแท่งอินกอทที่ยังร้อนแดงไปเก็บไว้ในเตา
อบ (Soaking Pit) ที่อุณหภูมิประมาณ 1,000 – 1,200 องศาเซลเซียส ทิ้งไว้ที่อุณหภูมินี้ระยะหนึ่ง เพื่อให้แท่งอินกอทมีอุณหภูมิ
สม่าเสมอกันทั้งแท่งจึงนาแท่งอินกอทไปทาการรีด เพื่อลดขนาดให้เล็กลง เหล็กกล้าที่ผ่านวิธีการขึ้นรูปครั้งแรกนี้เอง ซึ่งเรา
เรียกว่า “เหล็กกึ่งสาเร็จรูป”สาหรับนาไปทาการผลิตให้เป็นเครื่องมือเครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ ต่อไป
เหล็กกึ่งสาเร็จรูป แบ่งออกได้ 3 ชนิด
1. บลูม (Bloom) เป็นเหล็กที่ผ่านวิธีการรีดให้มีรูปร่างเป็นแท่งตัน นาไปใช้ในงานผลิตชิ้นส่วนเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง
ๆ
2. บิลเลท (Billet) เป็นเหล็กที่ผ่านวิธีการรีดให้มีรูปร่างเป็นแท่งตัน นาไปใช้ในงานผลิตชิ้นส่วนเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง
ๆ
3. สแลบ (Slab) เป็นเหล็กที่ผ่านวิธีการรีดให้เป็นแผ่นแบน นามาใช้งานทางวิศวกรรมทั่วไป
ภาพที่ 2.10 การผลิตเหล็กกล้า และเหล็กกึ่งสาเร็จรูป
เหล็กกล้า หมายถึง เหล็กที่มีคาร์บอนผสมอยู่ในเนื้อไม่เกิน 1.5% ซึ่งจะมีผลทาให้คุณสมบัติของเหล็กกล้านั้นแตกต่าง
กัน นอกจากธาตุคาร์บอนแล้วยังอาจจะมีธาตุอื่นผสมอยู่ด้วย เช่น ทังสเตน โครเมียม นิกเกิลโมลิบดีนัม วาเนเดียม เพื่อทาให้
เหล็กกล้ามีคุณสมบัติดีขึ้น เหมาะที่จะนาไปใช้งานในลักษณะต่างๆ ได้ดี และเมื่อเราผลิตเหล็กกล้า ได้แล้วก็จะนาเหล็กกล้า
นั้นมาผลิตเป็นเหล็กกึ่งสาเร็จรูปเพื่อจะนามาใช้ผลิตเป็นเครี่องมืออุปกรณ์และเครื่องจักรต่อไป
2.2.2 กรรมวิธีการผลิตเหล็กหล่อ
เหล็กหล่อผลิตจากการหลอมแท่งเหล็กดิบผสมกับเศษเหล็กหล่อและเหล็กกล้าเก่า ๆ โดยเผารวมกับถ่านโค้ก
และหินปูน (ในบางที่มีการผสมโซดาแอชและฟลูออสปาร์เข้าไปด้วย) ในเตาคิวโปลา เมื่อเผาจนเนื้อเหล็กหลอมละลายแล้วก็
จะนาน้าเหล็กนี้ไปเทใส่แบบทรายหรือแบบโลหะเพื่อให้ได้ชิ้นส่วนเป็นรูปร่างต่างๆ ตามความต้องการ
เตาคิวโปลา (Cupola Furnace) มีรูปร่างและลักษณะการทางานคล้ายกับเตาสูงแต่มีขนาดเล็กกว่า ประกอบด้วย
โครงสร้างที่เป็นเหล็กเหนียวรูปทรงกระบอก ภายในเรียงด้วยอิฐทนไฟ หรือวัตถุทนไฟอยู่รอบ ๆ และมีท่อลมเพื่อป้ อนลมเข้า
ไปช่วยในการลุกไหม้ให้สมบูรณ์ รวมทั้งมีรูให้น้าเหล็กและขี้ตะกรันไหลออกด้วย ประมาณช่วงกลางของเตาที่ด้านข้างจะมี
ช่องที่เปิดได้เพื่อใส่วัสดุที่ต้องการหลอม
พิจารณาลักษณะของเตาคิวโปลา ได้ดังรูปที่ 2.11
รูปที่ 2.11 ลักษณะของเตาคิวโปลา
โดยทั่วไปแล้วขนาดของเตาคิวโปลา ที่ใช้กันจะสูงประมาณ 12-24 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 0.4-2.5
เมตร และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 0.6 – 3.0 เมตร
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเหล็กหล่อ โดยการป้ อนเข้าเตาคิวโปลา มีดังนี้
1. เหล็กดิบ (Pig Iron)
2. เศษเหล็กเหนียว (Steel Scrap)
3. เศษเหล็กหล่อ (Cast Iron Scrap)
4. หินปูน (Limestone)
5. ถ่านโค้ก (Coke)
วิธีการหลอมเหล็กหล่อ ในการหลอมเหล็กหล่อกระทาได้โดยการนาเหล็กดิบเศษเหล็กเหนียว ถ่าน
โค้กและฟลักซ์ (โดยทั่วไปใช้หินปูนทาหน้าที่เป็นฟลักซ์)ใส่ลงไปในเตาสลับกันเป็นชั้น ๆ โดยที่ส่วนล่างสุดของเตาจะต้อง
รองด้วยถ่านโค้กเสียก่อน ถ่านโค้กที่รองก้นเตาเรียกว่า Bed Coke ถ่านโค้กรองก้นเตานี้ถ้ามีระดับสูงหรือต่าเกินไปจะมีผลดังนี้
1. ถ้า Bed Coke สูงเกินไป ระยะการหลอมละลายจะยึดออกไป
2. ถ้า Bed Coke มีระดับต่าเกินไป จะทาให้เหล็กหลอมละลายเร็วกว่าช่วงเวลาที่กาหนดและมี
อุณหภูมิต่า
ชั้นหรือระดับของถ่านโค้ก ซึ่งคั่นอยู่แต่ละชั้นของเหล็กเพื่อช่วยในการหลอมละลายเรียกว่า ชาร์จ
โค้ก (Charge Coke) ชาร์จโค้กมีระดับสูงอยู่ระหว่าง 6-9 นิ้ว
เหล็กดิบ เศษเหล็กหล่อ และเศษเหล็กเหนียวที่ใส่ลงในเตาแต่ละชิ้นเป็นสัดส่วนกับถ่านโค้กที่ใส่ลงไปแต่ละ
ชนิดถ้วย โดยทั่ว ๆ ไปจะใช้อัตราส่วน 5:1 ถึง 8:1 เช่นถ้าใส่ เหล็กดิบ 5 กิโลกรัม จะต้องใส่ถ่านโค๊ก 1 กิโลกรัม
ฟลักซ์ (Flux) เป็นวัสดุที่มีจุดหลอมละลายต่า ใช้ทาความสะอาดน้าเหล็ก ทาหน้าที่ประสมกับถ่านโค้กและออกไซด์
ของเหล็กออกมาในรูปของสแลก (Slag) หรือขี้ตะกรัน ฟลักซ์ที่ใช้ในการหลอมเหล็กหล่อ ได้แก่ หินปูน ฟลูออไรต์ โซดาไฟ
เมื่อทาการบรรจุวัตถุดิบเต็มเตาแล้วจึงให้ความร้อน ถ่านโค้กส่วนล่างุดจะเกิดการเผาไหม้ซึ่งในขณะที่มีการเผาไหม้
ก็จะผ่านลมร้อนเข้าไปในเตา เพื่อช่วยให้อุณหภูมิภายในเตาสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยที่อุณหภูมิในช่วงนี้จะอยู่ระหว่าง 1000-
1300 องศาเซลเซียส สามารถที่จะหลอมละลายเหล็กดิบและเศษเหล็กได้
เมื่อเหล็กดิบในชั้นแรกหลอมละลายจนหมดแล้ว ก็จะแทงรูเทให้น้าเหล็กไหลออกเพื่อนาไปเทลงในแบบให้มีรูปร่าง
ต่าง ๆ ตามต้องการ
กรรมวิธีเบสเซมเมอร์ (Bessemer Process) เตาเบสเซมเมอร์เป็นเตาที่มีลักษณะคล้ายถังขนาดใหญ่ ปากปล่องเตาเอียง ตัว
เตาตั้งอยู่บนแกนสองแกนและหมุนได้รอบแกนในแนวราบ สาหรับเอียงลงมารับการบรรจุเหล็กดิบและเทน้าเหล็กเมื่อเสร็จ
จากการถลุงแล้ว ที่ได้เตาจะเป็นห้องพ่นลมโดยลมจะต่อมาจากแกนหมุนของเตา
พิจารณาโครงสร้างและการทางานของเตาเบสเซมเมอร์ได้ดังรูปที่ 2.12
รูปที่ 2.12 โครงสร้างและการทางานของเตาเบสเซมเมอร์
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเหล็กกล้าสาหรับเตาเบสเซมเมอร์มีดังนี้
1. เหล็กดิบจากเตาสูง ในลักษณะที่ยังเป็นน้าเหล็กกาลังหลอมละลาย การเติมในแต่ละครั้งมีปริมาณ 5-25 กรัม
2. อากาศ โดยใช้ปั๊มลมเป่าเข้าตา ความดันประมาณ 150-200 kPa (ปริมาณ 700-1000 ลูกบาศก์เมตร/นาที)
กรรมวิธีเป่าออกซิเจนโดยตรง (Direct Oxygen Process) เป็นกรรมวิธีที่แก้ไขจากกรรมวิธีเบสเซมเมอร์ เนื่องจาก
อากาศที่พ่นเข้าเตานอกจากจะมีออกซิเจนแล้วยังมีไนโตรเจน ปะปนเข้าไปด้วยซึ่งไนโตรเจนจะทาปฏิกิริยากับ
เหล็กได้เหล็กไนไตรด์ เมื่อเหล็กเย็นตัวสารประกอบไนไตรด์จะอยู่ภายในเกรนของเหล็กทาให้เหล็กมีความแข็ง
เปราะ
พิจารณาโครงสร้างและการทางานของเตาที่ใช้กรรมวิธีเป่ าออกซิเจนโดยตรงได้ดังรูปที่ 2.13
รูปที่ 2.13 โครงสร้างและการทางานของเตาที่ใช้กรรมวิธีเป่าออกซิเจนโดยตรง

More Related Content

What's hot

หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56dockrupornpana55
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
Aphon Pleonphana
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 

What's hot (20)

หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
1 3
1 31 3
1 3
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
2 1
2 12 1
2 1
 
404
404404
404
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
แบบฟอร์มการแข่งขันโครงงาน+Sci show ส.ร.
 
401
401401
401
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 
304
304304
304
 
303
303303
303
 
302
302302
302
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

2 2

  • 1. 2.2 กรรมวิธีการผลิตเหล็กชนิดต่าง ๆ 2.2.1 กรรมวิธีการผลิตเหล็กดิบ เหล็กดิบผลิตขึ้นจากเตาสูง (Blast Furnace) โดยการหลอมสินแร่เหล็กกับถ่านโค๊กและหิน ปูน ซึ่งคุณภาพของเหล็กดิบที่ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของสินแร่ที่นามาหลอม 1. การถลุงแร่เหล็กโดยใช้เตาลมพ่นหรือเตาสูง (Blast Furnace) เตาลมพ่นหรือเตาสูงมี ลักษณะคล้ายปล่องไฟสูงประมาณ 30 เมตร กว้างประมาณ 10 เมตร ภายนอกเตาเป็นเหล็กแผ่น กรุภายในด้วยอิฐทนไฟ มีท่อ น้าเหล็กเย็นแทรกระหว่างอิฐกาแพงเตาเพื่อควบคุมอุณหภูมิส่วนต่าง ๆ ของเตา วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1. สินแร่เหล็ก (Iron Ore) ใส่เข้าไปเพื่อถลุงเอาเหล็กดิบ 2. ถ่านโค๊ก (Coke) ใส่เข้าไปเพื่อเป็นเชื้อเพลิงและตัวทาปฏิกิริยา 3. หินปูน (Limestone) หรือแคลเซียมคาร์บอเนต ใส่เข้าไปเพื่อดึงเอกสารมลทินออกจากสินแร่เหล็ก แยกตัว ออกเป็นตะกรัน (Slag) พิจารณาลักษณะเตาลมพ่นหรือเตาสูงได้ดังรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 ลักษณะเตาลมพ่นหรือเตาสูง( Blast Furnace )
  • 2. วิธีการถลุงเหล็กดิบ แร่เหล็ก หินปูน และถ่านโค้ก จะถูกป้ อนทางด้านบนของเตาเรียงแยกกันมาเป็นชั้น ๆ ความร้อนในการถลุงได้มาจาก การเผาไหม้ของถ่านโค้ก โดยมีลมร้อนเป่ามาจากด้านล่างของเตาเพื่อช่วยการเผาไหม้หินปูนจะรวมตัวกับสารมลทินและสิ่ง สกปรกต่าง ๆ เกิดเป็นฟองขี้ตะกรัน (Salg) ส่วนเนื้อเหล็กจะหลอมละลายรวมตัวกับคาร์บอนในถ่านโค๊กแล้วจมลงด้านล่างของ เตา โดยมีขี้ตะกรันลอยอยู่ด้านบนโลหะหลอมละลาย เมื่อโลหะหลอมตัวมีปริมาณมากถึงจานวนหนึ่งจะมีการเปิดรูตรงที่ขี้ ตะกรันลอยอยู่เพื่อให้โหลทิ้งออกไป แล้วจึงเปิดรูด้านล่างให้น้าเหล็กไหลออกมาเข้าแบบพิมพ์ที่รองรับไว้เมื่อน้าเหล็กเย็นตัว ลงในแบบพิมพ์จะได้แท่งเหล็กที่เรียกว่า เหล็กดิบ แท่งเหล็กดิบประกอบด้วยเนื้อเหล็กผสมกับคาร์บอนประมาณ 4.5% นอกจากนี้ยังมีสารอื่นปะปนอยู่ด้วย เช่น ซิลิคอน กามะถัน ฟอสฟอรัส และแมงกานีส พิจารณากระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่ด้วยเตาสูงได้ดังรูปที่ 2.2 รูปที่ 2.2 กระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่ด้วยเตาสูง 1. การถลุงแร่เหล็กแบบเหล็กพรุน (Sponge Iron) วิธีการผลิตเหล็กพรุนกระทาได้โดยบดแร่ เหล็กให้เป็นก้อนเล็ก ๆ ผสมกับสารลดออกซิเจนแล้วเผาในเตาปิด โดยใช้ความร้อนต่ากว่าจุดหลอมละลายของเหล็ก สารลด ออกซิเจนดังกล่าวอาจใช้ถ่านโค้ก ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซไฮโดรเจนหรือน้ามันเตาก็ได้ผลผลิตที่ได้จะ
  • 3. แข็งเป็นก้อนพรุนคล้ายฟองน้าหรือหินลาวาภูเขาไฟ เมื่อนาไปบดให้ละเอียดอีกครั้งหนึ่งแล้วใช้แม่เหล็กดูดจะทาให้ได้เหล็ก พรุนที่มีปริมาณเหล็กสูง 80-90% และสามารถนาเหล็กพรุนไปใช้ผลิตเหล็กกล้าแทนเหล็กดิบที่ได้ถลุงจากเตาลมพ่นได้ พิจารณากระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่แบบเหล็กพรุนได้ดังรูปที่ 2.3 1 บรรจุแร่เหล็ก 6 แยกด้วยแม่เหล็ก 11 ถังเก็บ 16 ชั่งหาปริมาณ 2 บรรจุฟลักซ์ 7 บรรจุลงแบบ 12 บด 17 บรรจุเหล็กพรุนที่สาเร็จ 3 อบให้แห้ง 8 เผาลดออกซิเจน 13 แยกด้วยแม่เหล็ก 4 บด 9 เอาออกจากแบบ 14 ขัดและร่อนแยกขนาด 5 ร่อนคัดแยกขนาด 10 บดหยาบ 15 อบ รูปที่ 2.4 กระบวนการผลิตเหล็กดิบจากสินแร่แบบเหล็กพรุน เตาในการผลิตเหล็กกล้ามี 2 แบบ 1. ผนังเตาแบบกรด (Acid Lining) ผนังเตาแบบกรดนี้ จะใช้วัสดุพวกซิลิกา (SiO2) มาทาผนังเตา ข้อจากัดของการใช้ผนังเตาแบบ
  • 4. กรด คือ ผนังเตาจะไม่ทาปฏิกิริยาทางเคมีกับธาตุฟอสฟอรัส ดังนั้นการผลิตเหล็กกล้าโดยใช้ผนังเตาแบบกรดจึงควรใช้กับ เหล็กดิบที่มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสผสมอยู่ในเนื้อเหล็กน้อย 2. ผนังเตาแบบต่าง (Basic Lining) ผนังเตาแบบด่างนี้ จะใช้วัสดุพวกแมกนีไซต์ (MgCo3) มาทาผนังเตา เพราะสามารถทาปฏิกิริยา ทางเคมีกับซิลิคอน แมงกานีส กามะถันและฟอสฟอรัส ที่ผสมอยู่ในเนื้อเหล็กให้กลายเป็นสแลก การผลิตเหล็กกล้า สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. การลดปริมาณธาตุคาร์บอน (Reduce Carbon) การนาเหล็กดิบที่ถลุงได้จากเตาสูงซึ่งมีสภาพ เป็นของเหลวมาลดปริมาณธาตุคาร์บอนที่มีผสมอยู่ในเนื้อให้มีปริมาณน้อยที่สุดหรือให้หมดไป โดยการใช้ผนังเตาให้ เหมาะสมและใช้ออกซิเจนทาปฏิกิริยา ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น 1.1 การผลิตเหล็กกล้าแบบเบสเซเมอร์ (Bessemer Process) การผลิตเหล็กกล้าแบบนี้ประดิษฐ์และตั้งขึ้นได้ โดย Henry Bessemer ในปี ค.ศ.1856 โครงสร้างของเตาจะตั้งอยู่ บนแกนซึ่งสามารถเอียงลงและตั้งขึ้นได้ตัวเตาด้านนอกเป็นเหล็กภายในบุด้วยอิฐทนไฟ จะมีท่อที่ใช้เป่าลมอยู่ที่ก้นเตา การ ผลิตเหล็กกล้าทาได้โดยการนาน้าเหล็กดิบ หลอมละลายที่ได้จากการถลุงสินแร่เหล็กในเตาสูง เทลงไปในเตา ธาตุต่าง ๆ ที่มี อยู่ในน้าเหล็กดิบ เช่น คาร์บอน ซิลิคอน แมงกานีส กามะถัน ฟอสฟอรัส จะทาปฏิกิริยากับผนังเตา กลายเป็นขี้ตะกรัน (Slag) แต่จะยังไม่หมดจึงต้องเป่าลมเข้าไปในทางก้นเตา ก๊าซออกซิเจน (O) ที่มีอยู่ในอากาศจะเข้าไปทาปฏิกิริยากับธาตุคาร์บอน กลายเป็นก๊าซคาร์บอนมานอกไซด์ (CO) ในขณะทาปฏิกิริยานี้ จะสังเกตได้ว่าจะมีเปลวไฟเกิดขึ้นและพุ่งออกมาจากทางปาก ตา การ ทาปฏิกิริยานี้ใช้เวลาประมาณจากทางปากตา การทาปฏิกิริยานี้ใช้เวลาประมาณ10 - 15 นาที น้าเหล็กที่อยู่ภายในเตาจะมี อุณหภูมิประมาณ1,600 องศาเซลเซียส น้าเหล็กจะมีปริมาณคาร์บอนเหลืออยู่น้อยมาก หรือไม่มีอยู่เลย ถ้าเราต้องการจะผลิต เหล็กกล้าชนิดไหนเราก็จะทาการเติมธาตุหรือโลหะต่าง ๆ ผสมเข้าไปเพื่อทาให้เหล็กกล้านั้นมีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะ นาไปใช้งานตามความต้องการต่อไป ภาพที่ 2.5 การผลิตเหล็กกล้าแบบเบสเซเมอร์
  • 5. 1.2 การผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส (Thomas Process) การผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส พัฒนาขึ้นจากนักโลหะวิทยา ชื่อ Thomas เมื่อประมาณ ค.ศ.1950 เตาจะตั้งอยู่บน แกน ซึ่งสามารถเอียงลงและตั้งขั้นได้ ตัวเตาทาจากเหล็กภายในบุด้วยอิฐทนไฟ แมกนีไซต์ (MgCO3) นาน้าเหล็กดิบหลอมเหลว ที่ได้จากการถลุงสินแร่เหล็กในเตาสูง เทลงในเตา ธาตุต่าง ๆ ที่มีในเหล็กหลอมเหลว เช่น คาร์บอน ซิลิคอน แมงกานีส ฟอสฟอรัส กามะถัน บางส่วนจะทาปฏิกิริยากับผนังเตากลายเป็นขี้ตะกรัน (Slag) แต่ยังไม่หมด เราจะเป่าอากาศเข้าไป เพื่อให้ ออกซิเจนทาปฏิกิริยากับธาตุ ต่างๆ ในน้าเหล็ก โดยเราจะเป่าอากาศเข้าไปในทางด้านบนของเตา ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-20 นาที เหล็กดิบที่นามาผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส โดยทั่วมักจะมีธาตุฟอสฟอรัส (P) มาก ภาพที่ 2.6 การผลิตเหล็กกล้าแบบโทมัส 1.3 การผลิตเหล็กกล้าแบบ แอล ดี (L D Process) การผลิตเหล็กกล้าแบบ L D พัฒนาขึ้นโดย Line และ Donauwitz แห่งประเทศออสเตรียโดยมีหลักการคล้ายกับ การทาเหล็กกล้าแบบเบสเซเมอร์ แต่ใช้ออกซิเจนบริสุทธิ์เป่าเข้าไปทาปฏิกิริยากับธาตุต่าง ๆ ในน้าเหล็กแทนการใช้อากาศ ธรรมดา เพราะว่าในอากาศธรรมดามีก๊าซไนโตรเจนอยู่ด้วย ถ้าเราเป่าอากาศธรรมดาเข้าไปเสียเวลา และเสียค่าใช้จ่ายโดย เปล่าประโยชน์ 2. การนาเหล็กกล้ามาหลอมใหม่ (Return Product) การนาเศษเหล็ก ชิ้นงานเครื่องจักรกลต่างๆ ที่ผลิตขึ้นจากเหล็กกล้า ที่ชารุดหรือหมดสภาพการใช้งานแล้วนากลับมาหลอมละลายใหม่ ซึ่งการผลิตเหล็กกล้าด้วยวิธีการนี้สามารถทา ได้หลายวิธีการ เช่น 2.1 การผลิตเหล็กกล้าแบบโอเพนฮาร์ท (Openheart Process) การผลิตเหล็กแบบโอเพนฮาร์ท หรือเรียกว่าการผลิตเหล็กแบบเตากระทะพัฒนาขึ้นโดย ซีเมนต์ (Siemens) และมาร์ติน (Martin) ประมาณ ค.ศ. 1860 เตาจะมีลักษณะเหมือนกระทะ เหนือขอบเตาจะมีท่อแก๊สเชื้อเพลิง และท่ออากาศร้อนทั้ง 2 ข้าง ข้าง ละ 2 ท่อ เชื้อเพลิงที่ให้ความร้อนในการหลอมละลายคือ Producer Gas เมื่อเริ่มบรรจุวัตถุดิบเข้า ตาแล้ว เตาจะทางานทีละข้าง Producer Gas เป็นก๊าซที่ได้จากการกลั่นทาลายถ่านหิน และอากาศร้อนจะพ่นออกไปรวมกันบริเวณ
  • 6. เหนือวัตถุดิบในเตร ทาให้เกิดการเผาไหม้ขึ้น ความร้อนจะแพร่ไปในเตาเหนือวัตถุดิบ ความร้อนเหล่านี้จะผ่านออกจากเตาไป ทางอีกข้างหนึ่งเข้าไปในห้องเผาอากาศ ซึ่งเป็นอิฐที่เรียงสลับกันไว้อิฐจะดูดเอาความร้อนนั้นไว้การทางานจะดาเนินไปเรื่อย ๆ ห้องเผาอากาศจะค่อย ๆ มีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1,000 องศาเซลเซียส จากนั้นก็จะสลับข้างกันเช่นนี้เรื่อย ๆ ไปใช้เวลา ประมาณ 4-6 ชั่วโมง วัตถุดิบที่อยู่ภายในเตาจะหลอมละลายเหล็ก เมื่อหลอมละลายเจ้าหน้าที่จะต้องนามาวิเคราะห์จนระดับ ของคาร์บอนในเนื้อเหล็กเท่ากับเหล็กกล้าแต่ละชนิด 2.2 การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้ า (Electrical Furnace Process) การผลิตเหล็กกล้าแบบนี้จะใช้เศษเหล็กกล้าที่ได้จากเครื่องจักร เครื่องกลต่าง ๆ ที่หมดสภาพการใช้งานแล้ว นามาบรรจุในเตา จากนั้นจะให้ความร้อนแก่เศษเหล็กกล้าจากประกายไฟฟ้า (Electric Arc) ซึ่งกระโดดจากแท่งคาร์บอน (electrodes) ไปยังเศษเหล็กซึ่งจะค่อย ๆ มีความร้อนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนหลอมละลายเป็นน้า โลหะหินปูน(Limestone) จะรวมตัวกับ สิ่งที่เจือปนต่าง ๆ ในน้าเหล็ก เป็นขี้ตะกรัน ลอยอยุ่ข้างบนน้าโลหะ เตาไฟฟ้าให้ความร้อนได้รวดเร็ว ทาให้ผลิตเหล็กกล้าได้ เร็วกว่าการผลิตด้วยวิธีอื่น ๆ และให้อุณหภูมิสูงกว่าเตาชนิดอื่น สามารถใช้หลอมเหล็กกล้าผสมที่มีจุดหลอมเหลวสูง ๆ เช่น เหล็กกล้าผสมทังสเตน เหล็กกล้าผสมโมลิบดีนัม หรือเหล็กเหนียวหล่อ (Cast Steel) ได้ดี ภาพที่ 2.8 การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้า 2.3 การผลิตเหล็กกล้าแบบสุญญากาศ (Vacuum Furnace) การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาสุญญากาศ มีลักษณะการทางานคล้ายกับการผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้า เพียงแต่ เตาชนิดนี้จะปิดเตามิดชิด และในขณะทาการหลอมเหลวโลหะจะปั๊มอากาศที่อยู่ในเตาออก ภายในเตาจะมีลักษณะเป็น สุญญากาศ เหล็กจากขบวนการนี้จะไม่มีโอกาสสัมผัสกับออกซิเจน ไนโตรเจน ในอากาศเลย ทาให้เหล็กที่ได้มีโครงสร้างเม็ด เกรนละเอียดมาก การผลิตเหล็กกล้าแบบนี้เหมาะสาหรับใช้ผลิตเหล็กกล้าที่ต้องการคุณภาพสูง หรือผลิตโลหะบางชนิดที่ ในขณะหลอมเหลวถ้าทาปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ จะทาให้เกิดความเสียหายขึ้นได้เหล็กกล้าที่ผลิตได้จากกรรมวิธีนี้ นาไปสร้างชิ้นส่วน อุปกรณ์ที่ต้องรับแรงอัดสูง ๆ หรือชิ้นงานที่ต้องใช้เหล็กที่มีความพิเศษมาก ๆ เช่น โครงสร้างเครื่องยนต์ แก๊สเทอร์ไบน์
  • 7. ภาพที่ 2.9 การผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาไฟฟ้า เหล็กกึ่งสาเร็จรูป (Semifenish Steel Product) น้าเหล็กเมื่อผ่านวิธีการปรับสภาพให้เป็นเหล็กกล้าแล้ว น้าเหล็กกล้าจะถูกนาไปเทลงในแบบหล่อ (Mold) ให้เป็นอิน กอท ทิ้งไว้ระยะหนึ่งน้าโลหะจะจับตัวเป็นรูปร่าง ยกแบบหล่อออกจากแท่งอินกอท จากนั้นลาเลียงแท่งอินกอท ทิ้งไว้ระยะ หนึ่งน้าโลหะจะจับตัวเป็นรูปร่าง ยกแบบหล่อออกจากแท่งอินกอท จากนั้นลาเลียงแท่งอินกอทที่ยังร้อนแดงไปเก็บไว้ในเตา อบ (Soaking Pit) ที่อุณหภูมิประมาณ 1,000 – 1,200 องศาเซลเซียส ทิ้งไว้ที่อุณหภูมินี้ระยะหนึ่ง เพื่อให้แท่งอินกอทมีอุณหภูมิ สม่าเสมอกันทั้งแท่งจึงนาแท่งอินกอทไปทาการรีด เพื่อลดขนาดให้เล็กลง เหล็กกล้าที่ผ่านวิธีการขึ้นรูปครั้งแรกนี้เอง ซึ่งเรา เรียกว่า “เหล็กกึ่งสาเร็จรูป”สาหรับนาไปทาการผลิตให้เป็นเครื่องมือเครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ ต่อไป เหล็กกึ่งสาเร็จรูป แบ่งออกได้ 3 ชนิด 1. บลูม (Bloom) เป็นเหล็กที่ผ่านวิธีการรีดให้มีรูปร่างเป็นแท่งตัน นาไปใช้ในงานผลิตชิ้นส่วนเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ 2. บิลเลท (Billet) เป็นเหล็กที่ผ่านวิธีการรีดให้มีรูปร่างเป็นแท่งตัน นาไปใช้ในงานผลิตชิ้นส่วนเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ 3. สแลบ (Slab) เป็นเหล็กที่ผ่านวิธีการรีดให้เป็นแผ่นแบน นามาใช้งานทางวิศวกรรมทั่วไป
  • 8. ภาพที่ 2.10 การผลิตเหล็กกล้า และเหล็กกึ่งสาเร็จรูป เหล็กกล้า หมายถึง เหล็กที่มีคาร์บอนผสมอยู่ในเนื้อไม่เกิน 1.5% ซึ่งจะมีผลทาให้คุณสมบัติของเหล็กกล้านั้นแตกต่าง กัน นอกจากธาตุคาร์บอนแล้วยังอาจจะมีธาตุอื่นผสมอยู่ด้วย เช่น ทังสเตน โครเมียม นิกเกิลโมลิบดีนัม วาเนเดียม เพื่อทาให้ เหล็กกล้ามีคุณสมบัติดีขึ้น เหมาะที่จะนาไปใช้งานในลักษณะต่างๆ ได้ดี และเมื่อเราผลิตเหล็กกล้า ได้แล้วก็จะนาเหล็กกล้า นั้นมาผลิตเป็นเหล็กกึ่งสาเร็จรูปเพื่อจะนามาใช้ผลิตเป็นเครี่องมืออุปกรณ์และเครื่องจักรต่อไป 2.2.2 กรรมวิธีการผลิตเหล็กหล่อ เหล็กหล่อผลิตจากการหลอมแท่งเหล็กดิบผสมกับเศษเหล็กหล่อและเหล็กกล้าเก่า ๆ โดยเผารวมกับถ่านโค้ก และหินปูน (ในบางที่มีการผสมโซดาแอชและฟลูออสปาร์เข้าไปด้วย) ในเตาคิวโปลา เมื่อเผาจนเนื้อเหล็กหลอมละลายแล้วก็ จะนาน้าเหล็กนี้ไปเทใส่แบบทรายหรือแบบโลหะเพื่อให้ได้ชิ้นส่วนเป็นรูปร่างต่างๆ ตามความต้องการ
  • 9. เตาคิวโปลา (Cupola Furnace) มีรูปร่างและลักษณะการทางานคล้ายกับเตาสูงแต่มีขนาดเล็กกว่า ประกอบด้วย โครงสร้างที่เป็นเหล็กเหนียวรูปทรงกระบอก ภายในเรียงด้วยอิฐทนไฟ หรือวัตถุทนไฟอยู่รอบ ๆ และมีท่อลมเพื่อป้ อนลมเข้า ไปช่วยในการลุกไหม้ให้สมบูรณ์ รวมทั้งมีรูให้น้าเหล็กและขี้ตะกรันไหลออกด้วย ประมาณช่วงกลางของเตาที่ด้านข้างจะมี ช่องที่เปิดได้เพื่อใส่วัสดุที่ต้องการหลอม พิจารณาลักษณะของเตาคิวโปลา ได้ดังรูปที่ 2.11 รูปที่ 2.11 ลักษณะของเตาคิวโปลา โดยทั่วไปแล้วขนาดของเตาคิวโปลา ที่ใช้กันจะสูงประมาณ 12-24 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 0.4-2.5 เมตร และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 0.6 – 3.0 เมตร วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเหล็กหล่อ โดยการป้ อนเข้าเตาคิวโปลา มีดังนี้ 1. เหล็กดิบ (Pig Iron) 2. เศษเหล็กเหนียว (Steel Scrap) 3. เศษเหล็กหล่อ (Cast Iron Scrap) 4. หินปูน (Limestone) 5. ถ่านโค้ก (Coke)
  • 10. วิธีการหลอมเหล็กหล่อ ในการหลอมเหล็กหล่อกระทาได้โดยการนาเหล็กดิบเศษเหล็กเหนียว ถ่าน โค้กและฟลักซ์ (โดยทั่วไปใช้หินปูนทาหน้าที่เป็นฟลักซ์)ใส่ลงไปในเตาสลับกันเป็นชั้น ๆ โดยที่ส่วนล่างสุดของเตาจะต้อง รองด้วยถ่านโค้กเสียก่อน ถ่านโค้กที่รองก้นเตาเรียกว่า Bed Coke ถ่านโค้กรองก้นเตานี้ถ้ามีระดับสูงหรือต่าเกินไปจะมีผลดังนี้ 1. ถ้า Bed Coke สูงเกินไป ระยะการหลอมละลายจะยึดออกไป 2. ถ้า Bed Coke มีระดับต่าเกินไป จะทาให้เหล็กหลอมละลายเร็วกว่าช่วงเวลาที่กาหนดและมี อุณหภูมิต่า ชั้นหรือระดับของถ่านโค้ก ซึ่งคั่นอยู่แต่ละชั้นของเหล็กเพื่อช่วยในการหลอมละลายเรียกว่า ชาร์จ โค้ก (Charge Coke) ชาร์จโค้กมีระดับสูงอยู่ระหว่าง 6-9 นิ้ว เหล็กดิบ เศษเหล็กหล่อ และเศษเหล็กเหนียวที่ใส่ลงในเตาแต่ละชิ้นเป็นสัดส่วนกับถ่านโค้กที่ใส่ลงไปแต่ละ ชนิดถ้วย โดยทั่ว ๆ ไปจะใช้อัตราส่วน 5:1 ถึง 8:1 เช่นถ้าใส่ เหล็กดิบ 5 กิโลกรัม จะต้องใส่ถ่านโค๊ก 1 กิโลกรัม ฟลักซ์ (Flux) เป็นวัสดุที่มีจุดหลอมละลายต่า ใช้ทาความสะอาดน้าเหล็ก ทาหน้าที่ประสมกับถ่านโค้กและออกไซด์ ของเหล็กออกมาในรูปของสแลก (Slag) หรือขี้ตะกรัน ฟลักซ์ที่ใช้ในการหลอมเหล็กหล่อ ได้แก่ หินปูน ฟลูออไรต์ โซดาไฟ เมื่อทาการบรรจุวัตถุดิบเต็มเตาแล้วจึงให้ความร้อน ถ่านโค้กส่วนล่างุดจะเกิดการเผาไหม้ซึ่งในขณะที่มีการเผาไหม้ ก็จะผ่านลมร้อนเข้าไปในเตา เพื่อช่วยให้อุณหภูมิภายในเตาสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยที่อุณหภูมิในช่วงนี้จะอยู่ระหว่าง 1000- 1300 องศาเซลเซียส สามารถที่จะหลอมละลายเหล็กดิบและเศษเหล็กได้ เมื่อเหล็กดิบในชั้นแรกหลอมละลายจนหมดแล้ว ก็จะแทงรูเทให้น้าเหล็กไหลออกเพื่อนาไปเทลงในแบบให้มีรูปร่าง ต่าง ๆ ตามต้องการ กรรมวิธีเบสเซมเมอร์ (Bessemer Process) เตาเบสเซมเมอร์เป็นเตาที่มีลักษณะคล้ายถังขนาดใหญ่ ปากปล่องเตาเอียง ตัว เตาตั้งอยู่บนแกนสองแกนและหมุนได้รอบแกนในแนวราบ สาหรับเอียงลงมารับการบรรจุเหล็กดิบและเทน้าเหล็กเมื่อเสร็จ จากการถลุงแล้ว ที่ได้เตาจะเป็นห้องพ่นลมโดยลมจะต่อมาจากแกนหมุนของเตา พิจารณาโครงสร้างและการทางานของเตาเบสเซมเมอร์ได้ดังรูปที่ 2.12 รูปที่ 2.12 โครงสร้างและการทางานของเตาเบสเซมเมอร์
  • 11. วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเหล็กกล้าสาหรับเตาเบสเซมเมอร์มีดังนี้ 1. เหล็กดิบจากเตาสูง ในลักษณะที่ยังเป็นน้าเหล็กกาลังหลอมละลาย การเติมในแต่ละครั้งมีปริมาณ 5-25 กรัม 2. อากาศ โดยใช้ปั๊มลมเป่าเข้าตา ความดันประมาณ 150-200 kPa (ปริมาณ 700-1000 ลูกบาศก์เมตร/นาที) กรรมวิธีเป่าออกซิเจนโดยตรง (Direct Oxygen Process) เป็นกรรมวิธีที่แก้ไขจากกรรมวิธีเบสเซมเมอร์ เนื่องจาก อากาศที่พ่นเข้าเตานอกจากจะมีออกซิเจนแล้วยังมีไนโตรเจน ปะปนเข้าไปด้วยซึ่งไนโตรเจนจะทาปฏิกิริยากับ เหล็กได้เหล็กไนไตรด์ เมื่อเหล็กเย็นตัวสารประกอบไนไตรด์จะอยู่ภายในเกรนของเหล็กทาให้เหล็กมีความแข็ง เปราะ พิจารณาโครงสร้างและการทางานของเตาที่ใช้กรรมวิธีเป่ าออกซิเจนโดยตรงได้ดังรูปที่ 2.13 รูปที่ 2.13 โครงสร้างและการทางานของเตาที่ใช้กรรมวิธีเป่าออกซิเจนโดยตรง