SlideShare a Scribd company logo
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ฟิสิกส์ บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ตอนที่ 1 กระแสเหนี่ยวนำ 
หากเราเคลื่อนลวดตัวนำ หรือ ขดลวดตัวนำ 
ตัดสนามแม่เหล็ก หรือเคลื่อนฟลักซ์แม่เหล็กตัด 
ขดลวดตัวนำจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในตัว 
นำนั้น เรียกปรากฏการณ์นี้ว่าเป็น การเหนี่ยวนำ 
ทางไฟฟ้า (electromagnetic induction) 
กระแสไฟฟ้าที่เกิดเรียก กระแสเหนี่ยวนำ 
(induced current) 
แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เกิด เรียก แรงเคลื่อนไฟฟ้า 
เหนี่ยวนำ (induced electromotive force) 
กรณีลวดเส้นตรง เราหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าได้จาก 
97 
E = B L v 
เมื่อ L = ความยาวเส้นลวด (m) 
v = ความเร็วในการเคลื่อนที่ (m/s) 
กรณีใช้ขดลวดหมุนตัดสนามแม่เหล็กกระแสไฟ 
ฟ้าที่ไหลออกมาจะมีทิศกลับไปมากลับมา เรียกว่า 
กระแสไฟฟ้าสลับ 
1. B เป็นสนามแม่เหล็ก มีทิศพุ่งตั้งฉากลงใน 
กระดาษมีขนาด 1.0 เทสลา PQ เป็นตัวนำวาง 
อยู่บนรางโลหะ TS และ UR โดย PQ เคลื่อน 
ที่ไปทางซ้ายด้วยความเร็ว 8 เมตร/วินาที ระ 
หว่าง S และ R มีความต้านทานต่ออยู่ 5 โอห์ม 
แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในตัวนำ PQ มีค่า 
เท่าใดในหน่วยของโวลต์ (3.2) 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
หากเราเคลื่อนฟลักซ์แม่เหล็กตัดขดลวด ก็จะทำให้เกิดกระแสไหลเวียนในขดลวดนั้น 
เช่นกัน เราสามารถหาทิศการไหลวนของกระแสไฟฟ้าที่เกิดได้โดยใช้กฏมือซ้าย ดังนี้ 
1) ใช้มือซ้ายกำขดลวดตัวนำ โดยให้นิ้วหัวแม่มือชี้ตามทิศของสนามแม่เหล็ก 
2) หากฟลักซ์แม่เหล็กที่ไหลผ่านพื้นที่ขดลวดมีปริมาณเพิ่มขึ้น กระแสเหนี่ยวนำจะมีทิศ 
วนตามนิ้วทั้ง 4 ที่เหลือ แต่หากฟลักซ์มีปริมาณลดลง กระแสเหนี่ยวนำจะมีทิศ 
วนในทิศตรงกันข้ามกับนิ้วทั้ง 4 
2(มช 31) แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้าหาเรือออกจากขดลวดตัวนำ ทำให้มีกระแสเหนี่ยวนำเกิดขึ้น 
ในขดลวด อยากทราบว่ารูปใดถูกต้อง (ข้อ ง) 
ก. ข. 
ค. ง. 
98 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
3(มช 43) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก βB จะทำให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำในขดลวด 
ถ้า βB ชี้ทิศเดียวกับ B แสดงว่าสนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้น และถ้า βB ชี้ทิศตรงข้ามกับ B 
แสดงว่าสนามแม่เหล็กลดลง จงเลือกข้อที่ถูก (ข้อ 1) 
1. 2. 
3. 4. 
99 
วิธีทำ 
แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ 
ในกรณีของมอเตอร์กระแสตรงนั้น เราจะปล่อยกระแสไฟฟ้าไหลเข้าไปในขดลวด 
ที่อยู่ในสนามแม่เหล็กจะทำให้มอเตอร์เกิดการหมุน 
ในขณะเดียวกัน การหมุนนี้ก็ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า 
เหนี่ยวนำและแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ซึ่งจะมีทิศ 
ตรงกันข้ามกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เราใส่ (E) จึงเรียก 
แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ (e) 
ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้าลัพธ์ = E – e 
และกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามอเตอร์ จะหาค่าได้จาก 
I = ER Κ 
re 
Ι 
เมื่อ I = กระแสที่ไหลเข้ามอเตอร์ 
E = แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ใส่เข้าไป (โวลต์ ) 
e = แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ (โวลต์ ) 
r = ความต้านทานภายในของแหล่งกำเนิดไฟฟ้า (โอห์ม) 
R = ความต้านทานภายนอกแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ( ความต้านทานของมอเตอร์ ) 
จากสมการนี้ จะเห็นว่า ถ้ามอเตอร์ฝืด หรือ ไฟฟ้าตก จะทำให้มอเตอร์หมุนช้าลงทำให้ 
แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ(e) จะมีค่าน้อยลง ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้าลัพธ์ (E – e) จะมีค่า 
มาก ทำให้กระแสไฟฟ้า (I) ที่ไหลเข้ามอเตอร์มีค่ามากกว่าที่ควรอาจทำให้มอเตอร์ไหม้ได้
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
4(มช 28) แบตเตอรี่ขนาด 6 V มีความต้านทานภายใน 1 υ ต่อเข้ากับมอเตอร์กระแสตรง 
ซึ่งมีความต้านทานของขดลวดของมอเตอร์เท่ากับ 1υ ในขณะที่มอเตอร์หมุนสามารถวัด 
กระแสไฟฟ้า 0.5 A แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับมอเตอร์มีค่า 
ก. 7.5 V ข. 5.5 V ค. 5.0 V ง. 4.5 V (ข้อ ค) 
100 
วิธีทำ 
5. มอเตอร์เครื่องหนึ่งใช้กับแรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์ ขณะมอเตอร์กำลังทำงานจะเกิดแรง 
เคลื่อนไฟฟ้าต้านกลับ 10 โวลต์ และมีกระแสผ่านมอเตอร์ 8 แอมแปร์ ขดลวดของมอเตอร์ 
มีความต้านทานเท่าใด (0.25) 
วิธีทำ 
6(มช 38) ในขณะที่มอเตอร์หมุนด้วยอัตราเร็วคงที่ ขดลวดที่อยู่ภายในมอเตอร์จะมี 
1. โมเมนต์ของแรงคู่ควบเป็นศูนย์คงที่ 
2. ฟลักซ์แม่เหล็กเป็นศูนย์คงที่ 
3. กระแสไฟฟ้ามากกว่ากระแสไฟฟ้าที่ผ่านมอเตอร์ในขณะเริ่มหมุน 
4. แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำเกิดขึ้นในทิศตรงข้ามกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าเดิม (ข้อ 4) 
7(มช 30) ถ้ามอเตอร์ติดขัดจนทำให้มอเตอร์หยุดหมุนเป็นเวลานานจะทำให้มอเตอร์ไหม้เพราะ 
ก. มีความเสียดทานเกิดขึ้นตามจุดหมุนเป็น 
ข. เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำซึ่งมีทิศตรงกันข้ามกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าเดิม 
ค. ไม่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับเกิดขึ้น 
ง. ทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวดมีการเปลี่ยนแปลง เกิดกระแสเหนี่ยวนำขึ้นเป็น 
จำนวนมาก (ข้อ ค)
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
วงจรกรองกระแส 
วงจรกรองกระแสเป็นวงจรที่ใช้เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าตรงโดยการนำไดโอดไปต่ออนุกรม 
กับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าสลับ ไฟฟ้าที่ผ่านไดโอดออกมาจะเป็นไฟฟ้ากระแสตรงที่มีค่าไม่สม่ำ 
เสมอวงจรกรองกระแสนี้ อาจดัดเป็นประเภทครึ่งคลื่นหรือเต็มคลื่นได้ 
ไดโอดเป็นอุปกรณ์ทางไฟฟ้า ซึ่งยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ในทิศทางเดียว 
และเนื่องจากกระแสที่ได้จากเบื้องต้นยังมีค่าไม่สม่ำเสมอ ในวงจรกรองกระแสจึงต้อง 
เพิ่มตัวเก็บประจุเข้าไปอีกตัวหนึ่งดังรูป เพื่อทำให้กระแสไฟฟ้าตรงที่ได้ออกมามีค่าสม่ำเสมอ 
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 
101
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ตอนที่ 2 หม้อแปลงไฟฟ้า 
หม้อแปลงไฟฟ้า คือ เครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์ (หรือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า) ให้มีค่าสูงขึ้น 
หรือต่ำลงตามต้องการ หม้อแปลงไฟฟ้ามี 2 แบบใหญ่ ๆ คือ 
1. หม้อแปลงขึ้น (Set up Tramformer) 
ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์จากต่ำเป็นสูง 
2. หม้อแปลงลง (Step down Tranformer) 
ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์จากสูงเป็นต่ำ 
ส่วนประกอบของหม้อแปลงไฟฟ้า 
1. แกนเหล็กอ่อน ทำด้วยเหล็กอ่อนแผ่นบาง ๆ หลาย ๆ แผ่นวางซ้อนกัน นิยมตัดเป็น 
สี่เหลี่ยมจัตุรัสกลางกลวงหรือตัดเป็นรูปตัว E ทำหน้าที่รวมเส้นแม่เหล็กจากขดลวด 
2. ขดลวดปฐมภูมิ (Pimarycoil) เป็นขดลวดที่ปล่อยให้กระแสเข้า พันอยู่ที่ขาข้างหนึ่ง 
ของแกนเหล็ก 
3. ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary) เป็นขดลวดที่ส่งกระแสไฟฟ้าออก จะพันอยู่ที่ปลายอีก 
ข้างหนึ่งของแกนเหล็ก 
หลักการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า 
เมื่อให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า (E1) ผ่านไปยังขดลวด 
ปฐมภูมิ จะเกิดสนามแม่เหล็กวนรอบ ๆ ขดลวด 
ปฐมภูมิขึ้น และฟลักซ์แม่เหล็กที่เกิดขึ้น จะเหนี่ยว 
นำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า(E 2) ที่ขดลวดทุติยภูมิ 
ความสัมพันธ์ ของแรงเคลื่อนไฟฟ้าทั้งสองคือ 
102 
EE12 = NN12 = VV12 
เมื่อ E1 , E2 = แรงเคลื่อนไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตามลำดับ 
N1 , N2 = จำนวนขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตามลำดับ 
V1 , V2 = ความต่างศักย์ของขดลวดปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ ตามลำดับ 
ข้อควรรู้ 1. หม้อแปลงลง จะมีค่า E1  E2 และ V1  V2 และ N1  N2 
หม้อแปลงขึ้น จะมีค่า E1  E2 และ V1  V2 และ N1  N2
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
2. ถ้าหม้อแปลง มีประสิทธิภาพเต็ม 100% เราจะได้ว่า 
กำลังไฟฟ้าที่ขดลวดปฐมภูมิ = กำลังไฟฟ้าที่ขดลวดทุติยภูมิ 
P1 
103 
= P2 
I1 V1 = I2 V2 
8(มช 27) กระแสไฟฟ้าสลับในขดทุติยภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เนื่องจาก 
ก. การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้า ข. การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก 
ค. แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า ง. กระแสไฟฟ้าในขดปฐมภูมิ (ข้อ ข) 
9(En 44/1) หม้อแปลงไฟฟ้าซึ่งใช้ไฟฟ้า 110 โวลต์ มีขดลวดปฐมภูมิ 80 รอบ ถ้าต้องการให้ 
หม้อแปลงนี้สามารถจ่ายไฟฟ้าได้ 2200 โวลต์ ขดลวดทุติยภูมิต้องมีจำนวนรอบเท่าไร 
1. 8000 รอบ 2. 1600 รอบ 3. 2400 รอบ 4. 3200 รอบ (ข้อ 2) 
วิธีทำ 
10(En 42/1) หม้อแปลงไฟลงจาก 20000 โวลต์ เป็น 220 โวลต์ เกิดกำลังในขดลวดทุติยภูมิ 
5.4 กิโลวัตต์ หม้อแปลงมีประสิทธิภาพร้อยละ 90 กระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดปฐมภูมิมีค่าเท่าใด 
1. 0.24 A 2. 0.27 A 3. 0.30 A 4. 0.54 A (ข้อ 3) 
วิธีทำ 
11. เตารีดไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 20 โอห์ม ใช้กับความต่างศักย์ 110 โวลต์ แต่ไฟฟ้าที่ 
ใช้กันตามบ้านมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ จึงต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าช่วยเมื่อใช้เตารีดเครื่องนี้ 
ถ้าหม้อแปลงไฟฟ้ามีประสิทธิภาพ 75% จงหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดปฐมภูมิ 
ก. 2.06 A ข. 3.7 A ค. 2.75 A ง. 11 A
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
104 
วิธีทำ 
12(En 41/2) หม้อแปลงเครื่องหนึ่ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวด 
ทุติยภูมิเป็น 1 : 4 ถ้ามีกระแสและความต่างศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ากับ 10 แอมแปร์ 
และ 200 โวลต์ ตามลำดับ จงหากระแสและความต่างศักย์ในขดลวดปฐมภูมิ 
1. 40 A และ 50 V 2. 50 A และ 40 V 
3. 40 A และ 40 V 4. 50 A และ 50 V (ข้อ 1) 
วิธีทำ 
13(En 38) หม้อแปลงอุดมคติตัวหนึ่งมีจำนวน 
รอบของขดลวดปฐมภูมิเป็น 2000 รอบ 
และ จำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิเป็น 
1000 รอบ เมื่อนำมาใช้ในวงจรดังรูป ขนาด 
ของฟิวส์ที่ใช้ต้องมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่าไร 
1. 2 2. 3 A 3. 5 A 4. 11 A (ข้อ 2) 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ตอนที่ 3 ลักษณะของไฟฟ้ากระแสสลับ 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็กด้วยอัตราเร็วเชิงมุม 
ขนาดหนึ่ง จะทำให้เกิดความต่างศักย์ (แรงเคลื่อนไฟฟ้า) และกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตาม 
เวลาด้วยอัตราเร็วเชิงมุมเดียวกับอัตราเร็วเชิงมุมการหมุนขดลวด 
เราสามารถหาค่ากระแสสลับ ณ. จุดเวลาใด ๆ ได้จากสมการ 
it = im sin•t และ Vt = Vm sin•t 
เมื่อ it , Vt = กระแสไฟฟ้า , ความต่างศักย์ไฟฟ้า ณ.เวลา t ใด ๆ 
im , Vm = กระแสไฟฟ้า , ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด 
• = อัตราเร็วเชิงมุมการหมุนขดลวด 
105 
• = 2° f 
f = ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับ 
14. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องหนึ่งผลิตกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 20 แอมแปร์ ความ– 
ต่างศักย์สูงสุด 300 โวลต์ ความถี่กระแสไฟฟ้า 50 Hz จงหากระแสไฟฟ้า และความ 
ต่างศักย  ณ เวลา 6010 วนิาที หลงัจากเปดิเครอื่ง (10 A , 150 V) 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ค่ารากที่สองของกำลังสองเฉลี่ยของกระแสไฟฟ้าสลับ (Root Mean Square) 
ค่า rms อาจหาได้จากการทดลอง และค่า rms ที่ได้จากการทดลองอาจเรียกว่า ค่ายังผล 
อาจหาได้จากการใช้มิเตอร์วัด และค่า rms ที่ได้จากการใช้มิเตอร์วัดอาจเรียกว่า ค่ามิเตอร์ 
โดยทั่วไปมิเตอร์ที่ใช้วัดกระแสจะออกแบบมาเพื่อใช้วัดค่า rms โดยตรง 
ดังนั้นค่าที่ได้จากการใช้มิเตอร์วัด มักเป็นค่า rms 
ความสัมพันธ์ ระหว่างค่า rms และค่าสูงสุด 
i และ Vrms = 2 m 
106 
Irms = 2 m 
V 
เมื่อ irms = กระแสไฟฟ้ารากที่สองของกำลังสองเฉลี่ย 
im = กระแสไฟฟ้าสูงสุดของกระแสสลับ 
Vrms = ความต่างศักย์รากที่สองของกำลังสองเฉลี่ย 
vm = ความต่างศักย์สูงสุดของกระแสสลับ 
15(มช 40) ถ้ากล่าวว่าไฟฟ้าในบ้านมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ หมายความว่าความต่างศักย์สูง 
สุดมีค่ากี่โวลต์ (ข้อ 4.) 
1. 110 2. 220 3. 0.707 x 220 4. 220 2 
วิธีทำ 
16. แอมมิเตอร์กระแสไฟฟ้าสลับต่ออนุกรมกับหลอดไฟอ่านค่าได้ 0.25 แอมแปร์ และโวลต์ 
มิเตอร์ไฟสลับต่อคร่อมหลอดไฟอ่านความต่างศักย์ 110 โวลต์ จงหากระแสสูงสุด (i0) 
ที่ไหลผ่านหลอดไฟและความต่างศักย์มากสุด (v0) คร่อมหลอดไฟ (0.354 A, 155.56 V) 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ตอนที่ 4 ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และขดลวดเหนี่ยวนำในวงจรกระแสสลับ 
ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าสลับไหลผ่านตัวต้านทาน 
จะเกิดความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานนั้น 
เราสามารถหาค่าความต่างศักย์ที่เกิดได้จาก 
107 
V = i . R 
เมื่อ V คือ ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน 
i คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 
R คือ ค่าความต้านทาน (υ) 
Vm = im⌡R 
Vrms = irms R 
และค่ากระแส ณ เวลาใดๆ หาค่าได้จาก 
iR = im sin • t 
และ vR = vm sin • t 
เมื่อ iR ,VR = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์ของตัวต้านทาน ณ เวลา t ใด ๆ 
im , Vm = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์สูงสุดของตัวต้านทาน 
17(En 41/2) ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป ถ้า 
โวลต์มิเตอร์ V อ่านค่าความต่างศักย์ได้ 200 
โวลต์ จงหากระแสสูงสุดที่ผ่านความต้านทาน R 
1. 0.70 A 2. 1.41 A 
3. 2.0 A 4. 4.8 A (ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง) 
วิธีทำ 
R = 100 υ V 
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าสลับไหลผ่านตัวเก็บประจุ 
จะเกิดความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุนั้น 
เราสามารถหาค่าความต่างศักย์ที่เกิดได้จาก 
V = i . XC และ XC = 1C • = 2 1fC ° 
เมื่อ V คือ ความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุ 
i คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ 
Xc คือ ค่าความต้านทานเชิงความจุ (υ) 
C คือ ค่าความจุประจุ(ฟารัด) 
f คือ ความถี่กระแสไฟฟ้า (Hz) 
Vm = im⌡Xc 
Vrms = irms⌡Xc 
108 
และค่ากระแส ณ เวลาใด ๆ หาค่าได้จาก 
ic = im sin • t และ Vc = Vm sin (• t – 90o) 
เมื่อ ic ,Vc = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ ณ เวลา t ใด ๆ 
im , Vm = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์สูงสุดของตัวเก็บประจุ 
(• t – 90o) เป็นมุมเฟส 
18. เมื่อต่อตัวเก็บประจุอันมีค่าความต้านทานเชิงความจุ 1000 υ เข้ากับวงจรไฟฟ้ากระแส 
สลับ ปรากฏว่าเกิดความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุ 3 โวลต์ จงหาปริมาณกระแสไฟฟ้า 
ที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุนั้น (3 มิลลิแอมป์) 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
19. ความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุมีค่าเท่าใด จึงจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า 3.14 mA ในวงจร 
ตัว เก็บประจุที่มีความจุ 0.5 ↑F เมื่อความถี่ของกระแสไฟฟ้าเป็น 1 kHz (1 โวลต์) 
วิธีทำ 
20. ที่ความถี่เท่าไรตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 5 มิลลิฟารัด จึงจะมีค่าความต้านทานตัวเก็บ 
ประจุ 272 υ (100 Hz) 
วิธีทำ 
ขดลวดเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าสลับไหลผ่านขดลวดเหนี่ยว 
นำ จะเกิดความต่างศักย์คร่อมขดลวดเหนี่ยวนำนั้น 
เราสามารถหาค่าความต่างศักย์ที่เกิดได้จาก 
V = i . XL และ XL = •L = 2°fL 
เมื่อ V คือ ความต่างศักย์คร่อมขดลวดเหนี่ยวนำ 
i คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดเหนี่ยวนำ 
XL คือ ค่าความต้านทานเชิงหนี่ยวนำ (υ) 
L คือ ค่าความเหนี่ยวนำของขดลวด (เฮนรี) 
f คือ ความถี่กระแสไฟฟ้า (Hz) 
Vm = im⌡XL 
Vrms = irms⌡XL 
109
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
110 
และค่ากระแส ณ เวลาใด ๆ หาค่าได้จาก 
iL = im sin • t และ VL = Vm sin (• t + 90o) 
เมื่อ iL ,VL = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์ของขดลวดเหนี่ยวนำ ณ เวลา t ใด ๆ 
im , Vm = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์สูงสุดของขดลวดเหนี่ยวนำ 
(• t + 90o) เป็นมุมเฟส 
21. ตัวเหนี่ยวนำ 0.07 เฮนรี ต่อเป็นวงจรกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าสลับ ความต่างศักย์ 220 V 
50 Hz จะเกิดกระแสไหลในวงจรเท่าไร (10 A) 
วิธีทำ 
22(มช 42) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์ ประกอบด้วยตัวต้านทาน 20 โอห์ม 
และตัวเหนี่ยวนำ °20 มิลลิเฮนรี มีกระแสผ่าน 0.2 แอมแปร์ ความต่างศักย์ระหว่างปลาย 
ของตัวเหนี่ยวนำจะมีค่ากี่โวลต์ (0.4) 
วิธีทำ 
23(มช 37) วงจรกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์ ที่มีตัวต้านทานต่ออนุกรมกับตัวเหนี่ยวนำ 
วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรได้ 0.1 แอมแปร์ ความต่างศักย์คร่อมตัวเหนี่ยวนำ 22 โวลต์ 
ค่าความเหนี่ยวนำจะเป็น (ข้อ 2.) 
1. 14.4 ไมโครเฮนรี 2. 0.7 เฮนรี 3. 200 เฮนรี 4. 2.2 เฮนรี 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
24(มช 41) วงจรกระแสไฟฟ้าสลับดังรูป มีกระแส i เป็น i = 5 sin 1000 t แอมแปร์ 
วัดความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนำได้ 70.7 โวลต์ จงหาค่าความเหนี่ยวนำ 
ของตัวเหนี่ยวนำในหน่วยเฮนรี (ข้อ 2.) 
1. 12 x 10–3 2. 20 x 10–3 3. 28 x 10–3 4. 40 x 10–3 
111 
วิธีทำ 
25(En 41) ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับตามรูป (ก) มีกระแสที่ผ่าน และความต่าง 
ศักย์ระหว่างปลายทั้งสองสัมพันธ์กันตามรูป (ข) 
จงวิเคราะห์ว่าส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้านี้คือ 
อะไร 
1. ตัวเก็บประจุ 
2. ขดลวดเหนี่ยวนำ 
3. ตัวต้านทาน 
4. เป็นวงจรผสมของขดลวดเหนี่ยวนำและตัวต้านทาน (ข้อ 1.) 
วิธีทำ 
26(มช 44) ตัวเหนี่ยวนำ L = 50 มิลลิเฮนรี่ มีกระแสสลับเป็น i เมื่อ i = 3 sin 60 t แอมแปร์ 
จงหาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนำนี้ เมื่อเวลา t ใด ๆ 
1. VL = sin 60 t 2. VL = 150 sin 60 t 
3. VL = 150 cos (60t – 2° ) 4. VL 
= 9 sin (60t + 2° ) (ข้อ 4.) 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
ตอนที่ 5 วงจร RCL และ กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ 
การต่อตัวต้านทาน (R) ขดลวดเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) แบบอนุกรม 
สิ่งที่ควรทราบ 
1) iR = iC = iL = iรวม 
2) Z = R2 Ι (XL Κ XC)2 
3) Vรวม = 2 ) C V L (V 2R 
112 
V Ι Κ 
4) Vรวม = iรวม Z 
เมื่อ Z คือ ความต้านทานเชิงซ้อน (ความต้านทานรวมของวงจร) 
27(En 41/2) ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ 50 เฮิร์ตซ์ 
ดังรูป ถ้าโวลต์มิเตอร์ V อ่านค่าความต่างศักย์ได้ 
200 โวลต์ แอมมิเตอร์ A จะอ่านค่ากระแสได้กี่แอมแปร์ 
วิธีทำ (4 A) 
A 
XC = 40 υ 
28(En 42/2) ถ้าวงจรประกอบด้วยตัวต้านทานขนาด 20 โอห์ม ขดลวดเหนี่ยวนำที่มีค่าความ 
ต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ 30 โอห์ม และตัวเก็บประจุที่มีค่าความต้านทานเชิงประจุ 15 โอห์ม 
ต่อกันอย่างอนุกรมและต่อเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ 
จงหากระแสในวงจร (ข้อ 4.) 
1. 2.2 A 2. 4.4 A 3. 6.6 A 4. 8.8 A 
วิธีทำ 
V  R = 30 υ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
29(En 38) ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.2 เฮนรี่ และ ตัวเก็บประจุ 10 ไมโครฟารัด ต่ออนุกรมกับ 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่ให้ความต่างศักย์สูงสุด 100 โวลต์ และความเร็วเชิงมุม 
• = 1,000 เรเดียนต่อวินาที จงหากระแสที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์ (ข้อ 4.) 
1. 1 A 2. 1 
3 A 3. 2 A 4. 2 
113 
1 A 
วิธีทำ 
30(มช 43) จากวงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป ค่าความต่าง 
R=30υ C=2↑F 
ศักย์ VR คร่อมตัวต้านทานมีค่าเป็น VR = 0.15 sin500t 
VR VC 
จงหาค่าความต่างศักย์สูงสุดคร่อมตัวเก็บประจุ (5 โวลต์) 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
31. จากวงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป แหล่งกำเนิดไฟ 
ฟ้ากระแสสลับมีความถี่ 50 เฮิรตซ์ ให้ค่ายังผล 
ของแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Vrms) 100 โวลต์ เมื่อนำ 
VR VL 
โวลต์มิเตอร์วัดค่ายังผลของความต่างศักย์ระหว่าง 
 
ปลายของความต้านทาน (VR) และ ระหว่างปลาย 
ของตัวเหนี่ยวนำ (VL) ได้ค่าเท่ากัน โวลต์มิเตอร์จะอ่านได้กี่โวลต์ (ข้อ 3) 
1. 50 2. 100 3. 50 2 4. 100 2 
114 
วิธีทำ 
ความถี่เรโซแนนซ์ 
พิจารณาสมการ Z = R2 Ι (XL Κ XC)2 
จะเห็นว่า เมื่อ XL = XC ค่าความต้านทานเชิงซ้อนจะมีค่าต่ำสุด ทำให้กระแสไฟฟ้ามีค่าสูงสุด 
จาก XL = XC 
2°fL = 2 1 ° 
fC (2°f)2 = LC 1 
2°f = 1 
LC 
f = 
1 
2 ° 
LC 
ความถี่ที่ทำให้กระแสไฟฟ้าในวงจรมีค่ามากที่สุดนี้เรียก ความถี่เรโซแนนซ์
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
การต่อตัวต้านทาน (R) ขดลวดเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) แบบขนาน 
สิ่งที่ควรทราบ 
1) VR = VC = VL = Vรวม 
2) iรวม = 2 (iL iC)2 
115 
iR Ι Κ 
3) Z 1 
= ( ) 2 Ι ( XL 1 X1C )2 
1 
Κ 
R 4) Vรวม = iรวม Z 
เมื่อ Z คือ ความต้านทานเชิงซ้อน (ความต้านทานรวมของวงจร) 
32. ตัวเก็บประจุความต้านทาน 100 โอห์ม ตัวเหนี่ยวนำความต้านทาน 
200 โอห์ม และตัวต้านทานขนาด 50 โอห์ม ต่อกันอย่างขนานกัน 
แล้วต่อกับแหล่งกำเนิดไฟสลับ 200 โวลต์ , 50 เฮิรตซ์ จะเกิดกระ 
แสไหลในวงจรเท่าไร 
1. 4 A 2. 17 A 3. 5 A 4. 7 A (ข้อ 2.) 
วิธีทำ 
การหากำลังไฟฟ้ากระแสสลับ 
P = i V cos  
เมื่อ P = กำลังไฟฟ้าของวงจร (วัตต์) 
i = กระแสรวมในวงจร (แอมแปร์) 
V = ความต่างศักย์รวมในวงจร (โวลต์) 
cos  = Z R( เรียก ตัวประกอบกำลัง )
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
33(En 44/2) ถ้าเฟสของกระแสยังผลและความต่างศักย์ยังผลของวงจรไฟ 
ฟ้ากระแสสลับเป็นดังรูป กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่สูญเสียในวงจรนี้มีค่าเท่าใด 
1. 1.8 kW 2. 2.4 kW 
3. 3.0 kW 4. 3.5 kW (ข้อ 4.) 
116 
วิธีทำ 
34. แรงดันไฟฟ้า e = 100sin± โวลต์ และ กระแสไฟฟ้า i = 10sin (±–60o) แอมแปร์ 
กำลังไฟฟ้า P เท่ากับผลคูณของ e และ i กำลังไฟฟ้าสูงสุดจะมีค่าเท่าใด (ข้อ 3) 
1. 750 วัตต์ 2. 1000 วัตต์ 3. 500 วัตต์ 4. 250 วัตต์ 
วิธีทำ 
35. จากรูปวงจรต่อไปนี้ กำหนดให้ V = 2 sin 500t 
จงหาความต่างเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ารวม I กับ 
ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม V 
1. 30o 2. 45o 
3. 60o 4. 90o 
(ข้อ 2) 
วิธีทำ 
พิจารณา P = i V Z R 
P = i i Z Z R 
เนื่องจาก V = i Z 
P = i2R เนื่องจาก i = Z V 
P = Φ Γ2 
Z VR 
R I 
V 
2 υ C 1,000 ↑F
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
36. ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.03 เฮนรี และตัวต้านทาน 40 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า 
กระแสสลับ กระแสไฟฟ้าของวงจร( i ) มีค่าดังสมการ i = 5 sin ( 1000t ) แอมแปร์ จงหา 
กำลังเฉลี่ยของวงจร (500 W) 
วิธีทำ 
37. ตัวเหนี่ยวนำและตัวต้านทานต่ออนุกรมกันและต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่มีกระ 
แสไฟฟ้าที่เวลา t (วินาที) ใดๆ i = 4 sin 100 °t ถ้าวงจรมีความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ 
20 โอห์ม และมีความต้านทานเชิงซ้อนของวงจร 25 โอห์ม กำลังเฉลี่ยของวงจรเป็นกี่วัตต์ 
1. 120 2. 160 3. 200 4. 240 (ข้อ 1) 
117 
วิธีทำ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 
38. ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.03 เฮนรี และตัวต้านทาน 40 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า 
กระแสสลับ ความต่างศักย์ของวงจร( i ) มีค่าดังสมการ V = 100 sin (1000t ) โวลต์ จงหา 
กำลังสูงสุดของวงจร (160 วัตต์) 
วิธีทำ 
39(En 39) ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.03 เฮนรี และตัวต้านทาน 40 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิด 
ไฟฟ้ากระแสสลับ กระแสไฟฟ้าของวงจร ( i ) เปลี่ยนแปลงตามเวลา ( t ) ดังสมการ 
i = 5 sin (1000 t) แอมแปร์ จงหากำลังเฉลี่ยของวงจรและความต่างศักย์สูงสุดของวงจร 
เป็นดังข้อใด 
1. 500 W , 250 V 2. 875 W , 350 V 
3. 1000 W , 220 V 4. 1250 W , 250 V (ข้อ 1) 
118 
วิธีทำ 
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

More Related Content

What's hot

คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
Taweesak Poochai
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
Phanuwat Somvongs
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
Thepsatri Rajabhat University
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
Wijitta DevilTeacher
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
wiriya kosit
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 

Viewers also liked

เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
Rangsit
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
Chakkrawut Mueangkhon
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานPornsak Tongma
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์Niraporn Pousiri
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
kroopipat
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
Chakkrawut Mueangkhon
 
สรุปสูตรแรง
สรุปสูตรแรงสรุปสูตรแรง
สรุปสูตรแรง
bassoftballbassoftball
 

Viewers also liked (20)

เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
Diode
DiodeDiode
Diode
 
148
148148
148
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิตแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
สรุปสูตรแรง
สรุปสูตรแรงสรุปสูตรแรง
สรุปสูตรแรง
 

Similar to 172 130909011745-

Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
Kongrat Suntornrojpattana
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
ณรรตธร คงเจริญ
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
Electricity Systems
Electricity SystemsElectricity Systems
Electricity Systems
Kongrat Suntornrojpattana
 

Similar to 172 130909011745- (20)

Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Electricity acessories
Electricity acessoriesElectricity acessories
Electricity acessories
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Electricity Systems
Electricity SystemsElectricity Systems
Electricity Systems
 

172 130909011745-

  • 1. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ฟิสิกส์ บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ตอนที่ 1 กระแสเหนี่ยวนำ หากเราเคลื่อนลวดตัวนำ หรือ ขดลวดตัวนำ ตัดสนามแม่เหล็ก หรือเคลื่อนฟลักซ์แม่เหล็กตัด ขดลวดตัวนำจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในตัว นำนั้น เรียกปรากฏการณ์นี้ว่าเป็น การเหนี่ยวนำ ทางไฟฟ้า (electromagnetic induction) กระแสไฟฟ้าที่เกิดเรียก กระแสเหนี่ยวนำ (induced current) แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เกิด เรียก แรงเคลื่อนไฟฟ้า เหนี่ยวนำ (induced electromotive force) กรณีลวดเส้นตรง เราหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าได้จาก 97 E = B L v เมื่อ L = ความยาวเส้นลวด (m) v = ความเร็วในการเคลื่อนที่ (m/s) กรณีใช้ขดลวดหมุนตัดสนามแม่เหล็กกระแสไฟ ฟ้าที่ไหลออกมาจะมีทิศกลับไปมากลับมา เรียกว่า กระแสไฟฟ้าสลับ 1. B เป็นสนามแม่เหล็ก มีทิศพุ่งตั้งฉากลงใน กระดาษมีขนาด 1.0 เทสลา PQ เป็นตัวนำวาง อยู่บนรางโลหะ TS และ UR โดย PQ เคลื่อน ที่ไปทางซ้ายด้วยความเร็ว 8 เมตร/วินาที ระ หว่าง S และ R มีความต้านทานต่ออยู่ 5 โอห์ม แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในตัวนำ PQ มีค่า เท่าใดในหน่วยของโวลต์ (3.2) วิธีทำ
  • 2. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) หากเราเคลื่อนฟลักซ์แม่เหล็กตัดขดลวด ก็จะทำให้เกิดกระแสไหลเวียนในขดลวดนั้น เช่นกัน เราสามารถหาทิศการไหลวนของกระแสไฟฟ้าที่เกิดได้โดยใช้กฏมือซ้าย ดังนี้ 1) ใช้มือซ้ายกำขดลวดตัวนำ โดยให้นิ้วหัวแม่มือชี้ตามทิศของสนามแม่เหล็ก 2) หากฟลักซ์แม่เหล็กที่ไหลผ่านพื้นที่ขดลวดมีปริมาณเพิ่มขึ้น กระแสเหนี่ยวนำจะมีทิศ วนตามนิ้วทั้ง 4 ที่เหลือ แต่หากฟลักซ์มีปริมาณลดลง กระแสเหนี่ยวนำจะมีทิศ วนในทิศตรงกันข้ามกับนิ้วทั้ง 4 2(มช 31) แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้าหาเรือออกจากขดลวดตัวนำ ทำให้มีกระแสเหนี่ยวนำเกิดขึ้น ในขดลวด อยากทราบว่ารูปใดถูกต้อง (ข้อ ง) ก. ข. ค. ง. 98 วิธีทำ
  • 3. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 3(มช 43) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก βB จะทำให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำในขดลวด ถ้า βB ชี้ทิศเดียวกับ B แสดงว่าสนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้น และถ้า βB ชี้ทิศตรงข้ามกับ B แสดงว่าสนามแม่เหล็กลดลง จงเลือกข้อที่ถูก (ข้อ 1) 1. 2. 3. 4. 99 วิธีทำ แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ ในกรณีของมอเตอร์กระแสตรงนั้น เราจะปล่อยกระแสไฟฟ้าไหลเข้าไปในขดลวด ที่อยู่ในสนามแม่เหล็กจะทำให้มอเตอร์เกิดการหมุน ในขณะเดียวกัน การหมุนนี้ก็ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนำและแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ซึ่งจะมีทิศ ตรงกันข้ามกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เราใส่ (E) จึงเรียก แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ (e) ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้าลัพธ์ = E – e และกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามอเตอร์ จะหาค่าได้จาก I = ER Κ re Ι เมื่อ I = กระแสที่ไหลเข้ามอเตอร์ E = แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ใส่เข้าไป (โวลต์ ) e = แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ (โวลต์ ) r = ความต้านทานภายในของแหล่งกำเนิดไฟฟ้า (โอห์ม) R = ความต้านทานภายนอกแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ( ความต้านทานของมอเตอร์ ) จากสมการนี้ จะเห็นว่า ถ้ามอเตอร์ฝืด หรือ ไฟฟ้าตก จะทำให้มอเตอร์หมุนช้าลงทำให้ แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับ(e) จะมีค่าน้อยลง ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้าลัพธ์ (E – e) จะมีค่า มาก ทำให้กระแสไฟฟ้า (I) ที่ไหลเข้ามอเตอร์มีค่ามากกว่าที่ควรอาจทำให้มอเตอร์ไหม้ได้
  • 4. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 4(มช 28) แบตเตอรี่ขนาด 6 V มีความต้านทานภายใน 1 υ ต่อเข้ากับมอเตอร์กระแสตรง ซึ่งมีความต้านทานของขดลวดของมอเตอร์เท่ากับ 1υ ในขณะที่มอเตอร์หมุนสามารถวัด กระแสไฟฟ้า 0.5 A แรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับมอเตอร์มีค่า ก. 7.5 V ข. 5.5 V ค. 5.0 V ง. 4.5 V (ข้อ ค) 100 วิธีทำ 5. มอเตอร์เครื่องหนึ่งใช้กับแรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์ ขณะมอเตอร์กำลังทำงานจะเกิดแรง เคลื่อนไฟฟ้าต้านกลับ 10 โวลต์ และมีกระแสผ่านมอเตอร์ 8 แอมแปร์ ขดลวดของมอเตอร์ มีความต้านทานเท่าใด (0.25) วิธีทำ 6(มช 38) ในขณะที่มอเตอร์หมุนด้วยอัตราเร็วคงที่ ขดลวดที่อยู่ภายในมอเตอร์จะมี 1. โมเมนต์ของแรงคู่ควบเป็นศูนย์คงที่ 2. ฟลักซ์แม่เหล็กเป็นศูนย์คงที่ 3. กระแสไฟฟ้ามากกว่ากระแสไฟฟ้าที่ผ่านมอเตอร์ในขณะเริ่มหมุน 4. แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำเกิดขึ้นในทิศตรงข้ามกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าเดิม (ข้อ 4) 7(มช 30) ถ้ามอเตอร์ติดขัดจนทำให้มอเตอร์หยุดหมุนเป็นเวลานานจะทำให้มอเตอร์ไหม้เพราะ ก. มีความเสียดทานเกิดขึ้นตามจุดหมุนเป็น ข. เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำซึ่งมีทิศตรงกันข้ามกับแรงเคลื่อนไฟฟ้าเดิม ค. ไม่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าดันกลับเกิดขึ้น ง. ทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวดมีการเปลี่ยนแปลง เกิดกระแสเหนี่ยวนำขึ้นเป็น จำนวนมาก (ข้อ ค)
  • 5. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) วงจรกรองกระแส วงจรกรองกระแสเป็นวงจรที่ใช้เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าตรงโดยการนำไดโอดไปต่ออนุกรม กับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าสลับ ไฟฟ้าที่ผ่านไดโอดออกมาจะเป็นไฟฟ้ากระแสตรงที่มีค่าไม่สม่ำ เสมอวงจรกรองกระแสนี้ อาจดัดเป็นประเภทครึ่งคลื่นหรือเต็มคลื่นได้ ไดโอดเป็นอุปกรณ์ทางไฟฟ้า ซึ่งยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ในทิศทางเดียว และเนื่องจากกระแสที่ได้จากเบื้องต้นยังมีค่าไม่สม่ำเสมอ ในวงจรกรองกระแสจึงต้อง เพิ่มตัวเก็บประจุเข้าไปอีกตัวหนึ่งดังรูป เพื่อทำให้กระแสไฟฟ้าตรงที่ได้ออกมามีค่าสม่ำเสมอ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 101
  • 6. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ตอนที่ 2 หม้อแปลงไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า คือ เครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์ (หรือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า) ให้มีค่าสูงขึ้น หรือต่ำลงตามต้องการ หม้อแปลงไฟฟ้ามี 2 แบบใหญ่ ๆ คือ 1. หม้อแปลงขึ้น (Set up Tramformer) ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์จากต่ำเป็นสูง 2. หม้อแปลงลง (Step down Tranformer) ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์จากสูงเป็นต่ำ ส่วนประกอบของหม้อแปลงไฟฟ้า 1. แกนเหล็กอ่อน ทำด้วยเหล็กอ่อนแผ่นบาง ๆ หลาย ๆ แผ่นวางซ้อนกัน นิยมตัดเป็น สี่เหลี่ยมจัตุรัสกลางกลวงหรือตัดเป็นรูปตัว E ทำหน้าที่รวมเส้นแม่เหล็กจากขดลวด 2. ขดลวดปฐมภูมิ (Pimarycoil) เป็นขดลวดที่ปล่อยให้กระแสเข้า พันอยู่ที่ขาข้างหนึ่ง ของแกนเหล็ก 3. ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary) เป็นขดลวดที่ส่งกระแสไฟฟ้าออก จะพันอยู่ที่ปลายอีก ข้างหนึ่งของแกนเหล็ก หลักการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า เมื่อให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า (E1) ผ่านไปยังขดลวด ปฐมภูมิ จะเกิดสนามแม่เหล็กวนรอบ ๆ ขดลวด ปฐมภูมิขึ้น และฟลักซ์แม่เหล็กที่เกิดขึ้น จะเหนี่ยว นำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า(E 2) ที่ขดลวดทุติยภูมิ ความสัมพันธ์ ของแรงเคลื่อนไฟฟ้าทั้งสองคือ 102 EE12 = NN12 = VV12 เมื่อ E1 , E2 = แรงเคลื่อนไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตามลำดับ N1 , N2 = จำนวนขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตามลำดับ V1 , V2 = ความต่างศักย์ของขดลวดปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ ตามลำดับ ข้อควรรู้ 1. หม้อแปลงลง จะมีค่า E1 E2 และ V1 V2 และ N1 N2 หม้อแปลงขึ้น จะมีค่า E1 E2 และ V1 V2 และ N1 N2
  • 7. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 2. ถ้าหม้อแปลง มีประสิทธิภาพเต็ม 100% เราจะได้ว่า กำลังไฟฟ้าที่ขดลวดปฐมภูมิ = กำลังไฟฟ้าที่ขดลวดทุติยภูมิ P1 103 = P2 I1 V1 = I2 V2 8(มช 27) กระแสไฟฟ้าสลับในขดทุติยภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เนื่องจาก ก. การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้า ข. การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก ค. แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า ง. กระแสไฟฟ้าในขดปฐมภูมิ (ข้อ ข) 9(En 44/1) หม้อแปลงไฟฟ้าซึ่งใช้ไฟฟ้า 110 โวลต์ มีขดลวดปฐมภูมิ 80 รอบ ถ้าต้องการให้ หม้อแปลงนี้สามารถจ่ายไฟฟ้าได้ 2200 โวลต์ ขดลวดทุติยภูมิต้องมีจำนวนรอบเท่าไร 1. 8000 รอบ 2. 1600 รอบ 3. 2400 รอบ 4. 3200 รอบ (ข้อ 2) วิธีทำ 10(En 42/1) หม้อแปลงไฟลงจาก 20000 โวลต์ เป็น 220 โวลต์ เกิดกำลังในขดลวดทุติยภูมิ 5.4 กิโลวัตต์ หม้อแปลงมีประสิทธิภาพร้อยละ 90 กระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดปฐมภูมิมีค่าเท่าใด 1. 0.24 A 2. 0.27 A 3. 0.30 A 4. 0.54 A (ข้อ 3) วิธีทำ 11. เตารีดไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 20 โอห์ม ใช้กับความต่างศักย์ 110 โวลต์ แต่ไฟฟ้าที่ ใช้กันตามบ้านมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ จึงต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าช่วยเมื่อใช้เตารีดเครื่องนี้ ถ้าหม้อแปลงไฟฟ้ามีประสิทธิภาพ 75% จงหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดปฐมภูมิ ก. 2.06 A ข. 3.7 A ค. 2.75 A ง. 11 A
  • 8. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 104 วิธีทำ 12(En 41/2) หม้อแปลงเครื่องหนึ่ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวด ทุติยภูมิเป็น 1 : 4 ถ้ามีกระแสและความต่างศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ากับ 10 แอมแปร์ และ 200 โวลต์ ตามลำดับ จงหากระแสและความต่างศักย์ในขดลวดปฐมภูมิ 1. 40 A และ 50 V 2. 50 A และ 40 V 3. 40 A และ 40 V 4. 50 A และ 50 V (ข้อ 1) วิธีทำ 13(En 38) หม้อแปลงอุดมคติตัวหนึ่งมีจำนวน รอบของขดลวดปฐมภูมิเป็น 2000 รอบ และ จำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิเป็น 1000 รอบ เมื่อนำมาใช้ในวงจรดังรูป ขนาด ของฟิวส์ที่ใช้ต้องมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่าไร 1. 2 2. 3 A 3. 5 A 4. 11 A (ข้อ 2) วิธีทำ
  • 9. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ตอนที่ 3 ลักษณะของไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็กด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ขนาดหนึ่ง จะทำให้เกิดความต่างศักย์ (แรงเคลื่อนไฟฟ้า) และกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตาม เวลาด้วยอัตราเร็วเชิงมุมเดียวกับอัตราเร็วเชิงมุมการหมุนขดลวด เราสามารถหาค่ากระแสสลับ ณ. จุดเวลาใด ๆ ได้จากสมการ it = im sin•t และ Vt = Vm sin•t เมื่อ it , Vt = กระแสไฟฟ้า , ความต่างศักย์ไฟฟ้า ณ.เวลา t ใด ๆ im , Vm = กระแสไฟฟ้า , ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด • = อัตราเร็วเชิงมุมการหมุนขดลวด 105 • = 2° f f = ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับ 14. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเครื่องหนึ่งผลิตกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 20 แอมแปร์ ความ– ต่างศักย์สูงสุด 300 โวลต์ ความถี่กระแสไฟฟ้า 50 Hz จงหากระแสไฟฟ้า และความ ต่างศักย  ณ เวลา 6010 วนิาที หลงัจากเปดิเครอื่ง (10 A , 150 V) วิธีทำ
  • 10. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ค่ารากที่สองของกำลังสองเฉลี่ยของกระแสไฟฟ้าสลับ (Root Mean Square) ค่า rms อาจหาได้จากการทดลอง และค่า rms ที่ได้จากการทดลองอาจเรียกว่า ค่ายังผล อาจหาได้จากการใช้มิเตอร์วัด และค่า rms ที่ได้จากการใช้มิเตอร์วัดอาจเรียกว่า ค่ามิเตอร์ โดยทั่วไปมิเตอร์ที่ใช้วัดกระแสจะออกแบบมาเพื่อใช้วัดค่า rms โดยตรง ดังนั้นค่าที่ได้จากการใช้มิเตอร์วัด มักเป็นค่า rms ความสัมพันธ์ ระหว่างค่า rms และค่าสูงสุด i และ Vrms = 2 m 106 Irms = 2 m V เมื่อ irms = กระแสไฟฟ้ารากที่สองของกำลังสองเฉลี่ย im = กระแสไฟฟ้าสูงสุดของกระแสสลับ Vrms = ความต่างศักย์รากที่สองของกำลังสองเฉลี่ย vm = ความต่างศักย์สูงสุดของกระแสสลับ 15(มช 40) ถ้ากล่าวว่าไฟฟ้าในบ้านมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ หมายความว่าความต่างศักย์สูง สุดมีค่ากี่โวลต์ (ข้อ 4.) 1. 110 2. 220 3. 0.707 x 220 4. 220 2 วิธีทำ 16. แอมมิเตอร์กระแสไฟฟ้าสลับต่ออนุกรมกับหลอดไฟอ่านค่าได้ 0.25 แอมแปร์ และโวลต์ มิเตอร์ไฟสลับต่อคร่อมหลอดไฟอ่านความต่างศักย์ 110 โวลต์ จงหากระแสสูงสุด (i0) ที่ไหลผ่านหลอดไฟและความต่างศักย์มากสุด (v0) คร่อมหลอดไฟ (0.354 A, 155.56 V) วิธีทำ
  • 11. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ตอนที่ 4 ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และขดลวดเหนี่ยวนำในวงจรกระแสสลับ ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าสลับไหลผ่านตัวต้านทาน จะเกิดความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานนั้น เราสามารถหาค่าความต่างศักย์ที่เกิดได้จาก 107 V = i . R เมื่อ V คือ ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน i คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R คือ ค่าความต้านทาน (υ) Vm = im⌡R Vrms = irms R และค่ากระแส ณ เวลาใดๆ หาค่าได้จาก iR = im sin • t และ vR = vm sin • t เมื่อ iR ,VR = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์ของตัวต้านทาน ณ เวลา t ใด ๆ im , Vm = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์สูงสุดของตัวต้านทาน 17(En 41/2) ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป ถ้า โวลต์มิเตอร์ V อ่านค่าความต่างศักย์ได้ 200 โวลต์ จงหากระแสสูงสุดที่ผ่านความต้านทาน R 1. 0.70 A 2. 1.41 A 3. 2.0 A 4. 4.8 A (ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง) วิธีทำ R = 100 υ V 
  • 12. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าสลับไหลผ่านตัวเก็บประจุ จะเกิดความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุนั้น เราสามารถหาค่าความต่างศักย์ที่เกิดได้จาก V = i . XC และ XC = 1C • = 2 1fC ° เมื่อ V คือ ความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุ i คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ Xc คือ ค่าความต้านทานเชิงความจุ (υ) C คือ ค่าความจุประจุ(ฟารัด) f คือ ความถี่กระแสไฟฟ้า (Hz) Vm = im⌡Xc Vrms = irms⌡Xc 108 และค่ากระแส ณ เวลาใด ๆ หาค่าได้จาก ic = im sin • t และ Vc = Vm sin (• t – 90o) เมื่อ ic ,Vc = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ ณ เวลา t ใด ๆ im , Vm = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์สูงสุดของตัวเก็บประจุ (• t – 90o) เป็นมุมเฟส 18. เมื่อต่อตัวเก็บประจุอันมีค่าความต้านทานเชิงความจุ 1000 υ เข้ากับวงจรไฟฟ้ากระแส สลับ ปรากฏว่าเกิดความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุ 3 โวลต์ จงหาปริมาณกระแสไฟฟ้า ที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุนั้น (3 มิลลิแอมป์) วิธีทำ
  • 13. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 19. ความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุมีค่าเท่าใด จึงจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า 3.14 mA ในวงจร ตัว เก็บประจุที่มีความจุ 0.5 ↑F เมื่อความถี่ของกระแสไฟฟ้าเป็น 1 kHz (1 โวลต์) วิธีทำ 20. ที่ความถี่เท่าไรตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 5 มิลลิฟารัด จึงจะมีค่าความต้านทานตัวเก็บ ประจุ 272 υ (100 Hz) วิธีทำ ขดลวดเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าสลับไหลผ่านขดลวดเหนี่ยว นำ จะเกิดความต่างศักย์คร่อมขดลวดเหนี่ยวนำนั้น เราสามารถหาค่าความต่างศักย์ที่เกิดได้จาก V = i . XL และ XL = •L = 2°fL เมื่อ V คือ ความต่างศักย์คร่อมขดลวดเหนี่ยวนำ i คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดเหนี่ยวนำ XL คือ ค่าความต้านทานเชิงหนี่ยวนำ (υ) L คือ ค่าความเหนี่ยวนำของขดลวด (เฮนรี) f คือ ความถี่กระแสไฟฟ้า (Hz) Vm = im⌡XL Vrms = irms⌡XL 109
  • 14. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 110 และค่ากระแส ณ เวลาใด ๆ หาค่าได้จาก iL = im sin • t และ VL = Vm sin (• t + 90o) เมื่อ iL ,VL = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์ของขดลวดเหนี่ยวนำ ณ เวลา t ใด ๆ im , Vm = กระแสที่ไหล และความต่างศักย์สูงสุดของขดลวดเหนี่ยวนำ (• t + 90o) เป็นมุมเฟส 21. ตัวเหนี่ยวนำ 0.07 เฮนรี ต่อเป็นวงจรกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าสลับ ความต่างศักย์ 220 V 50 Hz จะเกิดกระแสไหลในวงจรเท่าไร (10 A) วิธีทำ 22(มช 42) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์ ประกอบด้วยตัวต้านทาน 20 โอห์ม และตัวเหนี่ยวนำ °20 มิลลิเฮนรี มีกระแสผ่าน 0.2 แอมแปร์ ความต่างศักย์ระหว่างปลาย ของตัวเหนี่ยวนำจะมีค่ากี่โวลต์ (0.4) วิธีทำ 23(มช 37) วงจรกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์ ที่มีตัวต้านทานต่ออนุกรมกับตัวเหนี่ยวนำ วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรได้ 0.1 แอมแปร์ ความต่างศักย์คร่อมตัวเหนี่ยวนำ 22 โวลต์ ค่าความเหนี่ยวนำจะเป็น (ข้อ 2.) 1. 14.4 ไมโครเฮนรี 2. 0.7 เฮนรี 3. 200 เฮนรี 4. 2.2 เฮนรี วิธีทำ
  • 15. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 24(มช 41) วงจรกระแสไฟฟ้าสลับดังรูป มีกระแส i เป็น i = 5 sin 1000 t แอมแปร์ วัดความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนำได้ 70.7 โวลต์ จงหาค่าความเหนี่ยวนำ ของตัวเหนี่ยวนำในหน่วยเฮนรี (ข้อ 2.) 1. 12 x 10–3 2. 20 x 10–3 3. 28 x 10–3 4. 40 x 10–3 111 วิธีทำ 25(En 41) ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับตามรูป (ก) มีกระแสที่ผ่าน และความต่าง ศักย์ระหว่างปลายทั้งสองสัมพันธ์กันตามรูป (ข) จงวิเคราะห์ว่าส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้านี้คือ อะไร 1. ตัวเก็บประจุ 2. ขดลวดเหนี่ยวนำ 3. ตัวต้านทาน 4. เป็นวงจรผสมของขดลวดเหนี่ยวนำและตัวต้านทาน (ข้อ 1.) วิธีทำ 26(มช 44) ตัวเหนี่ยวนำ L = 50 มิลลิเฮนรี่ มีกระแสสลับเป็น i เมื่อ i = 3 sin 60 t แอมแปร์ จงหาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนำนี้ เมื่อเวลา t ใด ๆ 1. VL = sin 60 t 2. VL = 150 sin 60 t 3. VL = 150 cos (60t – 2° ) 4. VL = 9 sin (60t + 2° ) (ข้อ 4.) วิธีทำ
  • 16. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) ตอนที่ 5 วงจร RCL และ กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ การต่อตัวต้านทาน (R) ขดลวดเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) แบบอนุกรม สิ่งที่ควรทราบ 1) iR = iC = iL = iรวม 2) Z = R2 Ι (XL Κ XC)2 3) Vรวม = 2 ) C V L (V 2R 112 V Ι Κ 4) Vรวม = iรวม Z เมื่อ Z คือ ความต้านทานเชิงซ้อน (ความต้านทานรวมของวงจร) 27(En 41/2) ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ 50 เฮิร์ตซ์ ดังรูป ถ้าโวลต์มิเตอร์ V อ่านค่าความต่างศักย์ได้ 200 โวลต์ แอมมิเตอร์ A จะอ่านค่ากระแสได้กี่แอมแปร์ วิธีทำ (4 A) A XC = 40 υ 28(En 42/2) ถ้าวงจรประกอบด้วยตัวต้านทานขนาด 20 โอห์ม ขดลวดเหนี่ยวนำที่มีค่าความ ต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ 30 โอห์ม และตัวเก็บประจุที่มีค่าความต้านทานเชิงประจุ 15 โอห์ม ต่อกันอย่างอนุกรมและต่อเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ จงหากระแสในวงจร (ข้อ 4.) 1. 2.2 A 2. 4.4 A 3. 6.6 A 4. 8.8 A วิธีทำ V  R = 30 υ
  • 17. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 29(En 38) ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.2 เฮนรี่ และ ตัวเก็บประจุ 10 ไมโครฟารัด ต่ออนุกรมกับ แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่ให้ความต่างศักย์สูงสุด 100 โวลต์ และความเร็วเชิงมุม • = 1,000 เรเดียนต่อวินาที จงหากระแสที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์ (ข้อ 4.) 1. 1 A 2. 1 3 A 3. 2 A 4. 2 113 1 A วิธีทำ 30(มช 43) จากวงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป ค่าความต่าง R=30υ C=2↑F ศักย์ VR คร่อมตัวต้านทานมีค่าเป็น VR = 0.15 sin500t VR VC จงหาค่าความต่างศักย์สูงสุดคร่อมตัวเก็บประจุ (5 โวลต์) วิธีทำ
  • 18. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 31. จากวงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป แหล่งกำเนิดไฟ ฟ้ากระแสสลับมีความถี่ 50 เฮิรตซ์ ให้ค่ายังผล ของแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Vrms) 100 โวลต์ เมื่อนำ VR VL โวลต์มิเตอร์วัดค่ายังผลของความต่างศักย์ระหว่าง  ปลายของความต้านทาน (VR) และ ระหว่างปลาย ของตัวเหนี่ยวนำ (VL) ได้ค่าเท่ากัน โวลต์มิเตอร์จะอ่านได้กี่โวลต์ (ข้อ 3) 1. 50 2. 100 3. 50 2 4. 100 2 114 วิธีทำ ความถี่เรโซแนนซ์ พิจารณาสมการ Z = R2 Ι (XL Κ XC)2 จะเห็นว่า เมื่อ XL = XC ค่าความต้านทานเชิงซ้อนจะมีค่าต่ำสุด ทำให้กระแสไฟฟ้ามีค่าสูงสุด จาก XL = XC 2°fL = 2 1 ° fC (2°f)2 = LC 1 2°f = 1 LC f = 1 2 ° LC ความถี่ที่ทำให้กระแสไฟฟ้าในวงจรมีค่ามากที่สุดนี้เรียก ความถี่เรโซแนนซ์
  • 19. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) การต่อตัวต้านทาน (R) ขดลวดเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) แบบขนาน สิ่งที่ควรทราบ 1) VR = VC = VL = Vรวม 2) iรวม = 2 (iL iC)2 115 iR Ι Κ 3) Z 1 = ( ) 2 Ι ( XL 1 X1C )2 1 Κ R 4) Vรวม = iรวม Z เมื่อ Z คือ ความต้านทานเชิงซ้อน (ความต้านทานรวมของวงจร) 32. ตัวเก็บประจุความต้านทาน 100 โอห์ม ตัวเหนี่ยวนำความต้านทาน 200 โอห์ม และตัวต้านทานขนาด 50 โอห์ม ต่อกันอย่างขนานกัน แล้วต่อกับแหล่งกำเนิดไฟสลับ 200 โวลต์ , 50 เฮิรตซ์ จะเกิดกระ แสไหลในวงจรเท่าไร 1. 4 A 2. 17 A 3. 5 A 4. 7 A (ข้อ 2.) วิธีทำ การหากำลังไฟฟ้ากระแสสลับ P = i V cos  เมื่อ P = กำลังไฟฟ้าของวงจร (วัตต์) i = กระแสรวมในวงจร (แอมแปร์) V = ความต่างศักย์รวมในวงจร (โวลต์) cos  = Z R( เรียก ตัวประกอบกำลัง )
  • 20. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 33(En 44/2) ถ้าเฟสของกระแสยังผลและความต่างศักย์ยังผลของวงจรไฟ ฟ้ากระแสสลับเป็นดังรูป กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่สูญเสียในวงจรนี้มีค่าเท่าใด 1. 1.8 kW 2. 2.4 kW 3. 3.0 kW 4. 3.5 kW (ข้อ 4.) 116 วิธีทำ 34. แรงดันไฟฟ้า e = 100sin± โวลต์ และ กระแสไฟฟ้า i = 10sin (±–60o) แอมแปร์ กำลังไฟฟ้า P เท่ากับผลคูณของ e และ i กำลังไฟฟ้าสูงสุดจะมีค่าเท่าใด (ข้อ 3) 1. 750 วัตต์ 2. 1000 วัตต์ 3. 500 วัตต์ 4. 250 วัตต์ วิธีทำ 35. จากรูปวงจรต่อไปนี้ กำหนดให้ V = 2 sin 500t จงหาความต่างเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ารวม I กับ ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม V 1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o (ข้อ 2) วิธีทำ พิจารณา P = i V Z R P = i i Z Z R เนื่องจาก V = i Z P = i2R เนื่องจาก i = Z V P = Φ Γ2 Z VR R I V 2 υ C 1,000 ↑F
  • 21. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 36. ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.03 เฮนรี และตัวต้านทาน 40 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ กระแสไฟฟ้าของวงจร( i ) มีค่าดังสมการ i = 5 sin ( 1000t ) แอมแปร์ จงหา กำลังเฉลี่ยของวงจร (500 W) วิธีทำ 37. ตัวเหนี่ยวนำและตัวต้านทานต่ออนุกรมกันและต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่มีกระ แสไฟฟ้าที่เวลา t (วินาที) ใดๆ i = 4 sin 100 °t ถ้าวงจรมีความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ 20 โอห์ม และมีความต้านทานเชิงซ้อนของวงจร 25 โอห์ม กำลังเฉลี่ยของวงจรเป็นกี่วัตต์ 1. 120 2. 160 3. 200 4. 240 (ข้อ 1) 117 วิธีทำ
  • 22. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก (2) 38. ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.03 เฮนรี และตัวต้านทาน 40 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ ความต่างศักย์ของวงจร( i ) มีค่าดังสมการ V = 100 sin (1000t ) โวลต์ จงหา กำลังสูงสุดของวงจร (160 วัตต์) วิธีทำ 39(En 39) ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.03 เฮนรี และตัวต้านทาน 40 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิด ไฟฟ้ากระแสสลับ กระแสไฟฟ้าของวงจร ( i ) เปลี่ยนแปลงตามเวลา ( t ) ดังสมการ i = 5 sin (1000 t) แอมแปร์ จงหากำลังเฉลี่ยของวงจรและความต่างศักย์สูงสุดของวงจร เป็นดังข้อใด 1. 500 W , 250 V 2. 875 W , 350 V 3. 1000 W , 220 V 4. 1250 W , 250 V (ข้อ 1) 118 วิธีทำ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦