SlideShare a Scribd company logo
บทนา
พลังงานเป็นปัจจัยที่มีความสาคัญมากต่อสิ่งมีชีวิตหรือเรียกว่าพลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญอย่างหนึ่งใน
ชีวิตประจาวัน และยังเป็นปัจจัยในการผลิตของธุรกิจหลายด้าน เช่น ด้านอุตสาหกรรม พลังงานจึงมีความเกี่ยวข้องกับเรา
ทุกคนทั้งอดีตปัจจุบันและอนาคต
การแบ่งประเภทของพลังงาน
1. พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พลังงานสิ้นเปลือง” หรือ พลังฟอสซิล ซึ่งเกิดจากการ
ทับถมของซากพืช ซากสัตว์เป็นเวลาหลายล้านปี เช่น หินน้ามัน ทรายน้ามัน ถ่านหิน น้ามัน ก๊าซ
ธรรมชาติ พลังงานเหล่านี้เมื่อใช้ไปนาน ๆ ก็จะหมดสิ้นไป จะหามาทดแทนไม่ทันเพราะการเกิดต้องใช้
เวลานานมาก พลังงานเหล่านี้จะอยู่ใต้พื้นดิน
2. พลังงานใช้ไม่หมดไป หรือ พลังงานหมุนเวียน พลังงานเหล่านี้ใช้แล้วสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น
เชื้อเพลงชีวภาพ ซึ่งเป็นเชื้อเพลงชีวภาพ ซึ่งเป็นเชื้อเพลงซึ่งได้จากมูลสัตว์ พลังงานน้า ซึ่งได้จากเขื่อน
พลังงานจากแสงอาทิตย์และพลังงานลมเป็นต้น
พลังงานในอนาคตเป็นพลังงานประเภทที่ 2 ซึ่งมีการนากลับมาใช้ใหม่ได้ หรือนามาใช้เป็นพลังงานทดแทน
 พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป
พลังงานส่วนใหญ่ที่ใช้กันอยู่กันผลิตทางอุตสาหกรรม การขนส่งคมนาคม และกิจกรรมอื่น ๆ ของมนุษย์ทุกวันนี้
ส่วนใหญ่ ได้แก่พลังงานที่ใช้แล้วสูญสิ้นไป เช่น พลังงานน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นต้น นับตั้งแต่การปฏิบัติ
อุตสาหกรรมได้เริ่มขึ้นในยุโรปเมื่อ ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา มนุษย์ได้ใช้พลังงานทั้งสามชนิดเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ ผู้เชี่ยวชาญ
บางท่านได้ประมาณไว้ว่าน้ามันในแหล่งใต้พื้นโลกที่มีอยู่ทั้งหมดที่ทาการสารวจพบ จะหมดลงภายในอีกไม่เกิน 10 ปี
ข้างหน้าถ้าหากปริมาณการใช้ยังมีการเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ อย่างที่เป็นอยู่ก็จะหมดเร็วกว่านั้น
พลังงานจากแหล่งที่ใช้แล้วสูญสิ้นไป ที่สาคัญก็คือ พลังงานจากเชื้อเพลงซากดึกดาบรรพ์ หรือแร่
เชื้อเพลิงหรือที่รู้จักกันนามของ ปิโตรเลี่ยม ซึ่งเป็นส่วนประกอบอันซับซ้อนของธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนที่เกิดสะสมอยู่
โต้ผิวโลก ที่อยู่ทั้งในรูปของเหลว หรือน้ามันดิบในรูปของก๊าซ เช่น ก๊าซธรรมชาติ และในรูปของแข็ง เช่น ถ่านหิน เป็น
ต้น
 พลังงานใช้ไม่หมดไป หรือ พลังงานที่ใช้แล้วหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้
ดังที่ทราบว่าแสงหรือรังสีจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกใน 100 หน่วย มีเพียงประมาณ 1 หน่วย เท่านั้นที่ตก
กระทบถึงพื้นผิวโลก จริง ๆ มีคุณูปการอันมหาศาลต่อสรรพสิ่งทั้งมวลบนโลกเป็นบ่อเกิดแห่งพลังงานทุกรูปแบบในโลกที่
มนุษย์ได้พยายามเก็บเกี่ยวมาใช้ประโยชน์ตลอดระยะเวลาแห่งวิวัฒนาการของมนุษย์ นอกเหนือจากพลังงานในรูปแบบที่เก็บ
กักอยู่ ภายใต้ผิวโลก และอาจหมดสิ้นไปได้ ก็ยังมีพลังงานในรูปแบบอื่น ๆ ที่นามาใช้ได้อย่างไม่มีหมด นั่นคือพลังงาน
แสงอาทิตย์ หรือพลังงานรูปแบบอื่น ๆ เช่น พลังงานลม พลังงานน้า พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานคลื่น พลังงานน้า
ขึ้นน้าลง เป็นต้น ซึ่งเพลิงงานเหล่านี้กาลังได้รับการพัฒนาเพื่อนามาใช้ทดแทนพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปในอนาคต

More Related Content

Viewers also liked

Ppt 02-flowchart
Ppt 02-flowchartPpt 02-flowchart
Ppt 02-flowchart
Pannathat Champakul
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
Varin D' Reno
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ออนจิลา บัวประเสริฐ
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
Nuttakit Wunprasert
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
oraneehussem
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
Microsoft power point ปิโตรเลียม
Microsoft power point   ปิโตรเลียมMicrosoft power point   ปิโตรเลียม
Microsoft power point ปิโตรเลียมThanyamon Chat.
 
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6Seew609
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
Physics Lek
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 

Viewers also liked (18)

Ppt 02-flowchart
Ppt 02-flowchartPpt 02-flowchart
Ppt 02-flowchart
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
Microsoft power point ปิโตรเลียม
Microsoft power point   ปิโตรเลียมMicrosoft power point   ปิโตรเลียม
Microsoft power point ปิโตรเลียม
 
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 

Similar to 14 1

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
kasarin rodsi
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
sedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
sedwong Pam
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
fainaja
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
Araya Toonton
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 

Similar to 14 1 (16)

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

14 1

  • 1. บทนา พลังงานเป็นปัจจัยที่มีความสาคัญมากต่อสิ่งมีชีวิตหรือเรียกว่าพลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญอย่างหนึ่งใน ชีวิตประจาวัน และยังเป็นปัจจัยในการผลิตของธุรกิจหลายด้าน เช่น ด้านอุตสาหกรรม พลังงานจึงมีความเกี่ยวข้องกับเรา ทุกคนทั้งอดีตปัจจุบันและอนาคต การแบ่งประเภทของพลังงาน 1. พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พลังงานสิ้นเปลือง” หรือ พลังฟอสซิล ซึ่งเกิดจากการ ทับถมของซากพืช ซากสัตว์เป็นเวลาหลายล้านปี เช่น หินน้ามัน ทรายน้ามัน ถ่านหิน น้ามัน ก๊าซ ธรรมชาติ พลังงานเหล่านี้เมื่อใช้ไปนาน ๆ ก็จะหมดสิ้นไป จะหามาทดแทนไม่ทันเพราะการเกิดต้องใช้ เวลานานมาก พลังงานเหล่านี้จะอยู่ใต้พื้นดิน 2. พลังงานใช้ไม่หมดไป หรือ พลังงานหมุนเวียน พลังงานเหล่านี้ใช้แล้วสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น เชื้อเพลงชีวภาพ ซึ่งเป็นเชื้อเพลงชีวภาพ ซึ่งเป็นเชื้อเพลงซึ่งได้จากมูลสัตว์ พลังงานน้า ซึ่งได้จากเขื่อน พลังงานจากแสงอาทิตย์และพลังงานลมเป็นต้น พลังงานในอนาคตเป็นพลังงานประเภทที่ 2 ซึ่งมีการนากลับมาใช้ใหม่ได้ หรือนามาใช้เป็นพลังงานทดแทน  พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป พลังงานส่วนใหญ่ที่ใช้กันอยู่กันผลิตทางอุตสาหกรรม การขนส่งคมนาคม และกิจกรรมอื่น ๆ ของมนุษย์ทุกวันนี้ ส่วนใหญ่ ได้แก่พลังงานที่ใช้แล้วสูญสิ้นไป เช่น พลังงานน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นต้น นับตั้งแต่การปฏิบัติ อุตสาหกรรมได้เริ่มขึ้นในยุโรปเมื่อ ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา มนุษย์ได้ใช้พลังงานทั้งสามชนิดเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ ผู้เชี่ยวชาญ บางท่านได้ประมาณไว้ว่าน้ามันในแหล่งใต้พื้นโลกที่มีอยู่ทั้งหมดที่ทาการสารวจพบ จะหมดลงภายในอีกไม่เกิน 10 ปี ข้างหน้าถ้าหากปริมาณการใช้ยังมีการเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ อย่างที่เป็นอยู่ก็จะหมดเร็วกว่านั้น พลังงานจากแหล่งที่ใช้แล้วสูญสิ้นไป ที่สาคัญก็คือ พลังงานจากเชื้อเพลงซากดึกดาบรรพ์ หรือแร่ เชื้อเพลิงหรือที่รู้จักกันนามของ ปิโตรเลี่ยม ซึ่งเป็นส่วนประกอบอันซับซ้อนของธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนที่เกิดสะสมอยู่ โต้ผิวโลก ที่อยู่ทั้งในรูปของเหลว หรือน้ามันดิบในรูปของก๊าซ เช่น ก๊าซธรรมชาติ และในรูปของแข็ง เช่น ถ่านหิน เป็น ต้น  พลังงานใช้ไม่หมดไป หรือ พลังงานที่ใช้แล้วหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังที่ทราบว่าแสงหรือรังสีจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกใน 100 หน่วย มีเพียงประมาณ 1 หน่วย เท่านั้นที่ตก กระทบถึงพื้นผิวโลก จริง ๆ มีคุณูปการอันมหาศาลต่อสรรพสิ่งทั้งมวลบนโลกเป็นบ่อเกิดแห่งพลังงานทุกรูปแบบในโลกที่ มนุษย์ได้พยายามเก็บเกี่ยวมาใช้ประโยชน์ตลอดระยะเวลาแห่งวิวัฒนาการของมนุษย์ นอกเหนือจากพลังงานในรูปแบบที่เก็บ กักอยู่ ภายใต้ผิวโลก และอาจหมดสิ้นไปได้ ก็ยังมีพลังงานในรูปแบบอื่น ๆ ที่นามาใช้ได้อย่างไม่มีหมด นั่นคือพลังงาน แสงอาทิตย์ หรือพลังงานรูปแบบอื่น ๆ เช่น พลังงานลม พลังงานน้า พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานคลื่น พลังงานน้า ขึ้นน้าลง เป็นต้น ซึ่งเพลิงงานเหล่านี้กาลังได้รับการพัฒนาเพื่อนามาใช้ทดแทนพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปในอนาคต