SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
๔๖

                       การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design
                       กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานเกษตร ๑                      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑          เวลา ๒ ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๕ การเพาะเมล็ด
๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้
                ้
    ๑. การเพาะเมล็ด
    ๒. การเตรี ยมเมล็ดพันธ์
                                           ผัง (Big Idea)

               การเพาะเมล็ด                                          การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์
                                          การเพาะเมล็ด


๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย
                               ้
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
         ั                                                                           ิ
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
          ั                                 ิ
   ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                      ั
   ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
   ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๔. เปาหมายการเรียนรู้
      ้
     ๑. ความเข้ าใจที่คงทน
         การเพาะเมล็ดต้องมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมเมล็ดจึงงอกได้ดี การเพาะเมล็ดมีหลายวิธี
แต่ละวิธีก็เหมาะกับพืชแต่ละชนิด จึงจาเป็ นต้องเลือกใช้วิธีที่ถกต้องเหมาะสมที่สุด การดูแลต้นกล้า
                                                              ู
เป็ นงานที่ตองระมัดระวัง และปฏิบติอย่างถูกต้องเพาะต้นกล้าเป็ นระยะที่อ่อนแอที่สุดของต้นพืช
            ้                     ั
๔๗

   ๒. จิตพิสัย
        ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้
        ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
       ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
   ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน
        ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
๒         ) ความสามารถในการคิด
        ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔         ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต
                                    ั
        ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
   ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
        ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต
๓)          มีวินย    ั
๔)          ใฝ่ เรี ยนรู้
๕)          อยูอย่างพอเพียง
                ่
๖)          มุ่งมันในการทางาน
                    ่
๗)          รักความเป็ นไทย
๘)          มีจิตสาธารณะ
๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
        ๑) บอกจุดประสงค์ของการเพาะเมล็ดได้
        ๒) ทดสอบความงอกงามของเมล็ดได้
๓) เพาะเมล็ดได้
๔) เก็บรักษาเมล็ดพันธุพืชได้
                          ์
๕) ดูแลต้นกล้าจนกระทังย้ายปลูกได้
                            ่
   ๖. ทักษะคร่ อมวิชา
        ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน
        ๒) การนาเสนอ การนาเสน              อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
        ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
๔๘

                                        แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
วิชา งานเกษตร ๑                                                              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๕ การเพาะเมล็ด                                          เวลา ๒ ชั่วโมง
๑. เปาหมายการเรียนรู้
     ้
       การเพาะเมล็ด การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์
๒. สาระสาคัญ
         การเพาะเมล็ดต้องมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมเมล็ดจึงงอกได้ดี การเพาะเมล็ดมีหลายวิธี
แต่ละวิธีก็เหมาะกับพืชแต่ละชนิด จึงจาเป็ นต้องเลือกใช้วิธีที่ถกต้องเหมาะสมที่สุด การดูแลต้นกล้า
                                                              ู
เป็ นงานที่ตองระมัดระวัง และปฏิบติอย่างถูกต้องเพาะต้นกล้าเป็ นระยะที่อ่อนแอที่สุดของต้นพืช
            ้                     ั
๓. มาตรฐานและตัวชี้วด      ั
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
             ั                                                                       ิ
และครอบครัว
    ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
           ั                                 ิ
    ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                       ั
    ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
    ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
    ๑. การเพาะเมล็ด
    ๒. การเตรี ยมเมล็ดพันธ์
๔๙

๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
          K (Knowledge)                       P (Practice)                       A (Attitude)
         ความรู้ ความเข้ าใจ                  การฝึ กปฏิบัติ        คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 ๑.   บอกจุดประสงค์ของการ         ๑.   สามารถบอกจุดประสงค์ของ      ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
      เพาะเมล็ดได้                     การเพาะเมล็ดได้             ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต
 ๒.   ทดสอบความงอกของเมล็ด        ๒.   สามารถทดสอบการงอกของ        ๓. มีวินย   ั
      ได้                              เมล็ดได้                    ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้
 ๓.   เพาะเมล็ดได้                ๓.   สามารถเพาะเมล็ดได้          ๕. อยูอย่างพอเพียง
                                                                          ่
 ๔.   เก็บรักษาเมล็ดพันธุพืชได้
                           ์      ๔.   เก็บรักษาเมล็ดพันธุพืชได้
                                                           ์       ๖. มุ่งมันในการทางาน
                                                                            ่
 ๕.   ดูแลต้นกล้าจนกระทัง    ่    ๕.   ดูแลต้นกล้าจนกระทัง   ่     ๗. รักความเป็ นไทย
      ย้ายปลูกได้                      ย้ายปลูกได้                 ๘. มีจิตสาธารณะ

๖. การวัดและประเมินผล
๑.        เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน             /หลังเรี ยน
          ๒) แบบทดสอบ
๓)              ใบงาน
๔           ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวดผล
        ั
          ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน
          ๒) ตรวจแบบทดสอบ
          ๓) ตรวจใบงาน
          ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
          ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
          ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕๐

    ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
        ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ
                    ่                                         ่
            คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน
        ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
        ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ
            การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
                                      ั
        ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
            เกินร้อยละ ๕๐
        ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
                                                            ่
        ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม
                                                                  ่ ั
            สภาพจริ ง
        ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั
            การประเมินตามสภาพจริ ง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑ . ผลการทาแบบทดสอบ
    ๒. ผลการทาใบงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
  ชั่วโมงที่ ๑
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๑) ครู ทบทวนเรื่ องปุ๋ ยที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น
  ขั้นสอน
๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การเพาะเมล็ด วัตถุประสงค์ของการเพาะเมล็ด การเตรี ยม
       เมล็ดพันธุ์ จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
         ั
   ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การเพาะเมล็ด จากหนังสือเรี ยน
       รายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา
                                                  ้
       นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
๕๑

   ขั้นสรุปและการประยุกต์
   ๕) ครู แนะนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ
                                          ั
   ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องการเพาะเมล็ด เพื่อให้เข้าใจร่ วมกัน
        ครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
             ั
   ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
        - กิจกรรมที่ ๑                           - กิจกรรมที่ ๔
        - กิจกรรมที่ ๒                           - ใบงานที่ ๕.๑
  ชั่วโมงที่ ๒
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๘) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การเพาะเมล็ดในกระบะเพาะ การเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ
       การดูแลต้นกล้า การย้ายต้นกล้าไปปลูก จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของ
       สานักพิมพ์เอมพันธ์
๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
        ั
   ขั้นสอน
    ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การเพาะเมล็ด จากหนังสือเรี ยน
          รายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา
                                                ้
   ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้
                                        ั
- การเพาะเมล็ด - การเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ
- การดูแลต้นกล้า - การย้ายต้นกล้าไปปลูก
โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้
                                      ั
- การวางแผนการทางาน
- ปฏิบติงานตามแผน
        ั
          - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม
นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้
- การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร
- ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่
- ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร
                  ้
- ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร
               ั
- ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง
๕๒

     ขั้นสรุปและการประยุกต์
     ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป
     ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม
                                                                        ้
     ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
     - กิจกรรมที่ ๓
     ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๕
              ั
 ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 ๑.       หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
 ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๑๐. การบูรณาการ
     บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
๕๓


คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด
                ั                             ู
๑. การปลูกพืชวิธีใดประหยัดเมล็ดที่สุด
     ก. หว่านเมล็ด                            ข. ประหยัดเมล็ดทุกวิธี
ค.       เพาะเมล็ดก่อนแล้วย้ายกล้า            ง. โรยเมล็ดเป็ นแถวในแปลงปลูก
๒. เมล็ดที่ดีควรมีความงอกกี่เปอร์เซนต์
ก.       ๕๐-๖๐ เปอร์เซนต์ ข.                       ๖๐-๗๐ เปอร์เซนต์
ค.       ๗๐-๘๐ เปอร์เซนต์                       ง. ๘๐-๙๐ เปอร์เซนต์
๓. การป้ องกันเชื้อโรคติดมากับเมล็ดควรทาอย่างไร
ก.       คลุกยากันรา ข.                            รี บนาลงปลูก
ค.       จุ่มในน้ าร้อนก่อน                   ง. ตากเมล็ดให้แห้ง
๔. ศัตรู ที่ชอบรบกวนต้นกล้าคืออะไร
ก.       นก หนู ข.                                 ค้างคาว
ค.       สัตว์เลี้ยง เช่น ไก่                 ง. แมลงและหนอนต่างๆ
๕. โรคสาคัญของต้นกล้าคือโรคอะไร
     ก. โรคใบหงิก                             ข.โรคใบต่างๆ
     ค. โรคใบไหม้                             ง. โรคเน่าคอดิน
๖. ประโยชน์ของการทดสอบความงอกของเมล็ดคือข้อใด
     ก. สะดวกในการจาหน่าย ข.                       ทราบจานวนเมล็ดที่ตองใช้
                                                                     ้
     ค. เป็ นการคัดเมล็ดไม่ดีทิ้งไป           ง. ทราบว่าบริ ษทใดผลิตเมล็ดพันธุดี
                                                               ั              ์
๗. ดินเพาะเมล็ดควรมีอตราส่วนผสมของดินร่ วนปุ๋ ยคอกและเศษพืชเท่าใด
                            ั
     ก. ๓ : ๑ : ๑ ข.                               ๔:๑:๑
     ค. ๔ : ๒ : ๒ ง.                               ๔๖ : ๒ : ๒
๘. การฉีดพ่นยารักษาโรคและแมลงด้วยสมุนไพรใช้สมุนไพรชนิดใด
     ก. บอระเพ็ด ข.                                สะเดา
      ค. ฟ้ าทะลายโจร ง.                           หญ้าหนวดแมว
๕๔

 ๙. การดูแลต้นกล้าควรทาอย่างไร
    ก. พรวนดินบ่อยๆ                           ข. รดด้วยปุ๋ ยยูเรี ย
    ค. รดน้ าทุกวัน เช้า – เย็น               ง. ถอนหญ้าอย่าให้ข้ ึนรก
๑๐. ข้อใดไม่ใช่วิธีการป้ องกันและกาจัดแมลงในแปลงเพาะกล้า
 ก.     ทาความสะอาดแปลงปลูกและรอบๆแปลงอย่าให้รกรุ งรัง
    ข. เมื่อต้นกล้างอกและสูงพอสมควรให้ถอนตัวที่อ่อนแอออก
 ค.     หมันตรวจตราดูแล ถ้าพบแมลงศัตรู พืชให้จบทาลาย
            ่                                  ั
 ง.     ฉีดพ่นด้วยสารสกัดสมุนไพรทุกๆ ๕-๗ วัน


                              เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
                                   ๑   ค           ๖   ข
                                   ๒   ง          ๗    ก
                                   ๓   ก          ๘    ข
                                   ๔   ง           ๙   ค
                                   ๕   ง          ๑๐   ก
๕๕

                                               บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                      ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน
                                                                                                                ู้
                                                            (...............................................)
                                                       วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย
                                           ี
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                                 ลงชื่อ...............................................................
                                                                       (............................................................)

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)Kruthai Kidsdee
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยkaimmikar123
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4mrtv3mrtv4
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชchunkidtid
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
Science
ScienceScience
Science
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร5

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรkruhome1
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01pannee
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Anny Na Sonsawan
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร5 (20)

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 

แผนการเรียนรู้เกษตร5

  • 1. ๔๖ การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๕ การเพาะเมล็ด ๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. การเพาะเมล็ด ๒. การเตรี ยมเมล็ดพันธ์ ผัง (Big Idea) การเพาะเมล็ด การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ การเพาะเมล็ด ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย ้ มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล ๔. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความเข้ าใจที่คงทน การเพาะเมล็ดต้องมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมเมล็ดจึงงอกได้ดี การเพาะเมล็ดมีหลายวิธี แต่ละวิธีก็เหมาะกับพืชแต่ละชนิด จึงจาเป็ นต้องเลือกใช้วิธีที่ถกต้องเหมาะสมที่สุด การดูแลต้นกล้า ู เป็ นงานที่ตองระมัดระวัง และปฏิบติอย่างถูกต้องเพาะต้นกล้าเป็ นระยะที่อ่อนแอที่สุดของต้นพืช ้ ั
  • 2. ๔๗ ๒. จิตพิสัย ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒ ) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔ ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต ๓) มีวินย ั ๔) ใฝ่ เรี ยนรู้ ๕) อยูอย่างพอเพียง ่ ๖) มุ่งมันในการทางาน ่ ๗) รักความเป็ นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑) บอกจุดประสงค์ของการเพาะเมล็ดได้ ๒) ทดสอบความงอกงามของเมล็ดได้ ๓) เพาะเมล็ดได้ ๔) เก็บรักษาเมล็ดพันธุพืชได้ ์ ๕) ดูแลต้นกล้าจนกระทังย้ายปลูกได้ ่ ๖. ทักษะคร่ อมวิชา ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน ๒) การนาเสนอ การนาเสน อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
  • 3. ๔๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๕ การเพาะเมล็ด เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. เปาหมายการเรียนรู้ ้ การเพาะเมล็ด การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ ๒. สาระสาคัญ การเพาะเมล็ดต้องมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมเมล็ดจึงงอกได้ดี การเพาะเมล็ดมีหลายวิธี แต่ละวิธีก็เหมาะกับพืชแต่ละชนิด จึงจาเป็ นต้องเลือกใช้วิธีที่ถกต้องเหมาะสมที่สุด การดูแลต้นกล้า ู เป็ นงานที่ตองระมัดระวัง และปฏิบติอย่างถูกต้องเพาะต้นกล้าเป็ นระยะที่อ่อนแอที่สุดของต้นพืช ้ ั ๓. มาตรฐานและตัวชี้วด ั มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. การเพาะเมล็ด ๒. การเตรี ยมเมล็ดพันธ์
  • 4. ๔๙ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้ าใจ การฝึ กปฏิบัติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. บอกจุดประสงค์ของการ ๑. สามารถบอกจุดประสงค์ของ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ เพาะเมล็ดได้ การเพาะเมล็ดได้ ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต ๒. ทดสอบความงอกของเมล็ด ๒. สามารถทดสอบการงอกของ ๓. มีวินย ั ได้ เมล็ดได้ ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓. เพาะเมล็ดได้ ๓. สามารถเพาะเมล็ดได้ ๕. อยูอย่างพอเพียง ่ ๔. เก็บรักษาเมล็ดพันธุพืชได้ ์ ๔. เก็บรักษาเมล็ดพันธุพืชได้ ์ ๖. มุ่งมันในการทางาน ่ ๕. ดูแลต้นกล้าจนกระทัง ่ ๕. ดูแลต้นกล้าจนกระทัง ่ ๗. รักความเป็ นไทย ย้ายปลูกได้ ย้ายปลูกได้ ๘. มีจิตสาธารณะ ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน /หลังเรี ยน ๒) แบบทดสอบ ๓) ใบงาน ๔ ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวดผล ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน ๒) ตรวจแบบทดสอบ ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 5. ๕๐ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ ่ ่ คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ั ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง ่ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม ่ ั สภาพจริ ง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั การประเมินตามสภาพจริ ง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑ . ผลการทาแบบทดสอบ ๒. ผลการทาใบงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๑) ครู ทบทวนเรื่ องปุ๋ ยที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน ๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การเพาะเมล็ด วัตถุประสงค์ของการเพาะเมล็ด การเตรี ยม เมล็ดพันธุ์ จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การเพาะเมล็ด จากหนังสือเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา ้ นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
  • 6. ๕๑ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครู แนะนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ ั ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องการเพาะเมล็ด เพื่อให้เข้าใจร่ วมกัน ครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ั ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - กิจกรรมที่ ๑ - กิจกรรมที่ ๔ - กิจกรรมที่ ๒ - ใบงานที่ ๕.๑ ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๘) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การเพาะเมล็ดในกระบะเพาะ การเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ การดูแลต้นกล้า การย้ายต้นกล้าไปปลูก จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของ สานักพิมพ์เอมพันธ์ ๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั ขั้นสอน ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การเพาะเมล็ด จากหนังสือเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา ้ ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้ ั - การเพาะเมล็ด - การเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ - การดูแลต้นกล้า - การย้ายต้นกล้าไปปลูก โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้ ั - การวางแผนการทางาน - ปฏิบติงานตามแผน ั - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้ - การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร - ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่ - ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร ้ - ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร ั - ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง
  • 7. ๕๒ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม ้ ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - กิจกรรมที่ ๓ ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๕ ั ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
  • 8. ๕๓ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด ั ู ๑. การปลูกพืชวิธีใดประหยัดเมล็ดที่สุด ก. หว่านเมล็ด ข. ประหยัดเมล็ดทุกวิธี ค. เพาะเมล็ดก่อนแล้วย้ายกล้า ง. โรยเมล็ดเป็ นแถวในแปลงปลูก ๒. เมล็ดที่ดีควรมีความงอกกี่เปอร์เซนต์ ก. ๕๐-๖๐ เปอร์เซนต์ ข. ๖๐-๗๐ เปอร์เซนต์ ค. ๗๐-๘๐ เปอร์เซนต์ ง. ๘๐-๙๐ เปอร์เซนต์ ๓. การป้ องกันเชื้อโรคติดมากับเมล็ดควรทาอย่างไร ก. คลุกยากันรา ข. รี บนาลงปลูก ค. จุ่มในน้ าร้อนก่อน ง. ตากเมล็ดให้แห้ง ๔. ศัตรู ที่ชอบรบกวนต้นกล้าคืออะไร ก. นก หนู ข. ค้างคาว ค. สัตว์เลี้ยง เช่น ไก่ ง. แมลงและหนอนต่างๆ ๕. โรคสาคัญของต้นกล้าคือโรคอะไร ก. โรคใบหงิก ข.โรคใบต่างๆ ค. โรคใบไหม้ ง. โรคเน่าคอดิน ๖. ประโยชน์ของการทดสอบความงอกของเมล็ดคือข้อใด ก. สะดวกในการจาหน่าย ข. ทราบจานวนเมล็ดที่ตองใช้ ้ ค. เป็ นการคัดเมล็ดไม่ดีทิ้งไป ง. ทราบว่าบริ ษทใดผลิตเมล็ดพันธุดี ั ์ ๗. ดินเพาะเมล็ดควรมีอตราส่วนผสมของดินร่ วนปุ๋ ยคอกและเศษพืชเท่าใด ั ก. ๓ : ๑ : ๑ ข. ๔:๑:๑ ค. ๔ : ๒ : ๒ ง. ๔๖ : ๒ : ๒ ๘. การฉีดพ่นยารักษาโรคและแมลงด้วยสมุนไพรใช้สมุนไพรชนิดใด ก. บอระเพ็ด ข. สะเดา ค. ฟ้ าทะลายโจร ง. หญ้าหนวดแมว
  • 9. ๕๔ ๙. การดูแลต้นกล้าควรทาอย่างไร ก. พรวนดินบ่อยๆ ข. รดด้วยปุ๋ ยยูเรี ย ค. รดน้ าทุกวัน เช้า – เย็น ง. ถอนหญ้าอย่าให้ข้ ึนรก ๑๐. ข้อใดไม่ใช่วิธีการป้ องกันและกาจัดแมลงในแปลงเพาะกล้า ก. ทาความสะอาดแปลงปลูกและรอบๆแปลงอย่าให้รกรุ งรัง ข. เมื่อต้นกล้างอกและสูงพอสมควรให้ถอนตัวที่อ่อนแอออก ค. หมันตรวจตราดูแล ถ้าพบแมลงศัตรู พืชให้จบทาลาย ่ ั ง. ฉีดพ่นด้วยสารสกัดสมุนไพรทุกๆ ๕-๗ วัน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๑ ค ๖ ข ๒ ง ๗ ก ๓ ก ๘ ข ๔ ง ๙ ค ๕ ง ๑๐ ก
  • 10. ๕๕ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน ู้ (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................................... (............................................................)