SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ประวัติศาสตร




                ประวัติศาสตร



                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




              ประวัติศาสตร (อังกฤษ: History) คือการศึกษาประวัติ
         ความเปนมาของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จากการที่ไดบันทึกเก็บไว
         หรือประสบการณจากผูมีอาวุโส ความหมายของคํานี้เกิด
         จากการสมาส
              คําศัพทภาษาบาลี "ประวัต" (ปวตฺต) ซึ่งหมายถึง
                                        ิ       ิ
         เรื่องราวความเปนไป และ
              คําศัพทภาษาสันสกฤต "ศาสตร" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลวา
         ความรู
              สําหรับศัพท "ประวัติศาสตร" ในภาษาไทยถูกบัญญัติขึ้น
                                                                                                รัชกาลที่ 6
         โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เพื่อ                                       http://images.google.co.th/

         เทียบเคียงกับคําวา "History" และเพื่อใหมีความหมาย
         ครอบคลุมมากกวาคําวา "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช
         กันมาแตเดิม
                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




                สําหรับคําวา
                history ในภาษาอังกฤษ
                histoire ในภาษาฝรั่งเศส
                storia ในภาษาอิตาลีมีที่มาจากคําวา historia ในภาษากรีก
                ซึ่งมีความหมายวาการไตสวนหรือคนควา




                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




             นักประวัติศาสตรจะคนพบขอมูลจากแหลงขอมูลทางประวัติศาสตรตาง ๆ
         ไดแก จากบันทึกที่เปนลายลักษณอักษร (การเขียนหรือการพิมพ) เชน
             จากบันทึกของ เฮโรโดตุส (Herodotus) นักประวัติศาสตรชาวกรีกที่บันทึก
        เรื่องราวตาง ๆ ในทวีปยุโรปเปนคนแรกของโลก เปนตน หรือ
             เรื่องราวที่เลาสืบตอกันโดยปากเปลา รวมทั้งหลักฐานทางโบราณคดีจากการ
        ขุดคนพบซากสิ่งของตาง ๆ เชน
             สุสานจิ๋นซีฮองเต ทั้งนี้ เหตุการณที่เกิดขึ้นกอนที่มนุษย
        รูจักลายลักษณอักษร ในยุคหินจะเรียกวายุคกอนประวัติศาสตร




                                                                                                  เฮโรโดตุส
                                                                   http://www.thaigoodview.com/files/u1341/0022_4_0.jpg
                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




        เฮโรโดตุส เกิดราว 484 B.C. ในครอบครัว
        แหง Halicarnassus ในเอเชียไมเนอร
        ทรราชย Lygdamis ขับเฮโรโดทัสออกจากเมืองไป
        หลังจากนั้นเฮโรโดทัสได หวนกลับมารวมกันชวยลมลาง
        ระบบทรราชย และชวยกันกอตั้งรัฐบาลขึ้น เชื่อวาเฮโร
        โดทัสมีสวนประพันธ โคลง Panyasia ระหวางที่ใชชีวิต
        อยูเกาะซามอสทั้งที่เฮโรโดทัสมีโอกาสรับใชบานเกิด
        เมืองนอนแตก็ไมมีผูยอมรับเทาที่ควรจนทําใหเฮโรโดทัส
        ตองจากบานเกิดเมืองนอนไปอีกครั้งเปนการถาวร ระยะ
        หลัง เฮโรโดทัสเขาไปอยูในอาณานิคมทีThurii ในอิตาลี
                                              ่
        ตอนใตเปนอาณานิคมของเอเธนส เฮโรโดทัสเสียชีวิตที่นี่                 http://www.usu.edu/markdamen/Cla
                                                                              sDram/images/02/herodotus.jpg
        พิธีฝงศพจัดทําบริเวณตลาดของอาณานิคมนี้

                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




         ผลงาน
            เฮโรโดทัส นักประวัติศาสตรชาวกรีก ผูเขียนประวัติศาสตรสงครามเปอรเซียน
         ในโลกโบราณยัง ไมมีการศึกษาคนควาประวัติสวนตัวของเฮโรโดทัสอยางละเอียด
         มากนัก เนื่องจากไมมีการบันทึกไวเปน ลายลักษณอักษร หลักฐานอางอิงประวัติชีวิต
         เฮโรโดทัสอยูกระจัดกระจายสวนใหญจะเปนผลงานที่อางถึง เฮโรโดทัส หลังจากที่
         เฮโรโดทัสไดเสียชีวิตแลว เชน ผลงานชื่อ The Suda ผลงานที่สําคัญคือ
         The History จะทําใหทราบประวัติเฮโรโดทัสมากที่สุด




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร



        ความหมายของ "ประวัติศาสตร"
            นักปรัชญาประวัติศาสตรที่มีชื่อเสียงใหคําอธิบายถึงคําวา "ประวัติศาสตร" ไว
        เชน
        อาร. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายวาประวัติศาสตรคือวิธีการ
        วิจัยหรือการไตสวน ... โดยมีจุดมุงหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณของ
        มนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต (history is a kind of research or inquiry ... action of
        human beings that have been done in the past.)
        อี. เอช. คาร (E. H. Carr) อธิบายวาประวัติศาสตรนั้นก็คือกระบวนการอัน
        ตอเนื่องของการปฏิสัมพันธระหวางนักประวัติศาสตรกับขอมูลของเขา
        ประวัติศาสตรคือบทสนทนาอันไมมีที่สิ้นสุดระหวางปจจุบันกับอดีต (What is
        history?, is that it is a continuous process of interaction between the present
        and the past.)

                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




                สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ
                          พระบิดาแหงประวัติศาสตรไทย
                      http://www.dhammajak.net/board/files/resize_of_paragraph_138.jpg




                                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




                                                   ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการดานประวัติศาสตร
                                                   เอเชียตะวันออกเฉียงใตในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึงคําวา
                                                   ประวัติศาสตรและเตือนผูศึกษา/อานประวัติศาสตรไว
                                                   นาสนใจ ดังนี้
                                                       "การเขาใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร ... เราตองเขาใจ
                                                   วาความรูเกี่ยวกับอดีตนั้นสรางใหมไดเรื่อยๆ เพราะ
                                                   ทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตรนั้นเปลี่ยนอยู
                                                   เสมอ ..."
       http://www.biolawcom.de/files/member/23/a
       rticle/184/14_204414_30.jpg




                                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร




            แหลงที่มาของขอมูล
            http://th.wikipedia.org/wiki
            http://www.biolawcom.de/files/member/23/article/
            http://www.dhammajak.net/board/files/
            http://www.google.co.th/
            http://www.thaigoodview.com/files/
            http://www.usu.edu/markdamen/ClasDram/




                                                               พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

More Related Content

Viewers also liked

02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5JulPcc CR
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้Natee Kongprapan
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4pageพัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นSupakij Paentong
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1pageพัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
พัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1page
พัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1pageพัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1page
พัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรีsangworn
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นkroobannakakok
 

Viewers also liked (20)

02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4pageพัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+dltvp4+55t2his p04 f10-4page
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1pageพัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f10-1page
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
พัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1page
พัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1pageพัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1page
พัฒนาการสมัยธนบุรี1+584+55t2his p05 f03-1page
 
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 

Similar to 01ความหมายประวัติศาสตร์

ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...Klangpanya
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1kurorma Bent
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 

Similar to 01ความหมายประวัติศาสตร์ (20)

ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์ ดร. (อนิล...
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 

More from JulPcc CR

12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

More from JulPcc CR (12)

12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 

01ความหมายประวัติศาสตร์

  • 1. ประวัติศาสตร ประวัติศาสตร พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร ประวัติศาสตร (อังกฤษ: History) คือการศึกษาประวัติ ความเปนมาของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จากการที่ไดบันทึกเก็บไว หรือประสบการณจากผูมีอาวุโส ความหมายของคํานี้เกิด จากการสมาส คําศัพทภาษาบาลี "ประวัต" (ปวตฺต) ซึ่งหมายถึง ิ ิ เรื่องราวความเปนไป และ คําศัพทภาษาสันสกฤต "ศาสตร" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลวา ความรู สําหรับศัพท "ประวัติศาสตร" ในภาษาไทยถูกบัญญัติขึ้น รัชกาลที่ 6 โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เพื่อ http://images.google.co.th/ เทียบเคียงกับคําวา "History" และเพื่อใหมีความหมาย ครอบคลุมมากกวาคําวา "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช กันมาแตเดิม พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร สําหรับคําวา history ในภาษาอังกฤษ histoire ในภาษาฝรั่งเศส storia ในภาษาอิตาลีมีที่มาจากคําวา historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายวาการไตสวนหรือคนควา พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร นักประวัติศาสตรจะคนพบขอมูลจากแหลงขอมูลทางประวัติศาสตรตาง ๆ ไดแก จากบันทึกที่เปนลายลักษณอักษร (การเขียนหรือการพิมพ) เชน จากบันทึกของ เฮโรโดตุส (Herodotus) นักประวัติศาสตรชาวกรีกที่บันทึก เรื่องราวตาง ๆ ในทวีปยุโรปเปนคนแรกของโลก เปนตน หรือ เรื่องราวที่เลาสืบตอกันโดยปากเปลา รวมทั้งหลักฐานทางโบราณคดีจากการ ขุดคนพบซากสิ่งของตาง ๆ เชน สุสานจิ๋นซีฮองเต ทั้งนี้ เหตุการณที่เกิดขึ้นกอนที่มนุษย รูจักลายลักษณอักษร ในยุคหินจะเรียกวายุคกอนประวัติศาสตร เฮโรโดตุส http://www.thaigoodview.com/files/u1341/0022_4_0.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร เฮโรโดตุส เกิดราว 484 B.C. ในครอบครัว แหง Halicarnassus ในเอเชียไมเนอร ทรราชย Lygdamis ขับเฮโรโดทัสออกจากเมืองไป หลังจากนั้นเฮโรโดทัสได หวนกลับมารวมกันชวยลมลาง ระบบทรราชย และชวยกันกอตั้งรัฐบาลขึ้น เชื่อวาเฮโร โดทัสมีสวนประพันธ โคลง Panyasia ระหวางที่ใชชีวิต อยูเกาะซามอสทั้งที่เฮโรโดทัสมีโอกาสรับใชบานเกิด เมืองนอนแตก็ไมมีผูยอมรับเทาที่ควรจนทําใหเฮโรโดทัส ตองจากบานเกิดเมืองนอนไปอีกครั้งเปนการถาวร ระยะ หลัง เฮโรโดทัสเขาไปอยูในอาณานิคมทีThurii ในอิตาลี ่ ตอนใตเปนอาณานิคมของเอเธนส เฮโรโดทัสเสียชีวิตที่นี่ http://www.usu.edu/markdamen/Cla sDram/images/02/herodotus.jpg พิธีฝงศพจัดทําบริเวณตลาดของอาณานิคมนี้ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร ผลงาน เฮโรโดทัส นักประวัติศาสตรชาวกรีก ผูเขียนประวัติศาสตรสงครามเปอรเซียน ในโลกโบราณยัง ไมมีการศึกษาคนควาประวัติสวนตัวของเฮโรโดทัสอยางละเอียด มากนัก เนื่องจากไมมีการบันทึกไวเปน ลายลักษณอักษร หลักฐานอางอิงประวัติชีวิต เฮโรโดทัสอยูกระจัดกระจายสวนใหญจะเปนผลงานที่อางถึง เฮโรโดทัส หลังจากที่ เฮโรโดทัสไดเสียชีวิตแลว เชน ผลงานชื่อ The Suda ผลงานที่สําคัญคือ The History จะทําใหทราบประวัติเฮโรโดทัสมากที่สุด พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร ความหมายของ "ประวัติศาสตร" นักปรัชญาประวัติศาสตรที่มีชื่อเสียงใหคําอธิบายถึงคําวา "ประวัติศาสตร" ไว เชน อาร. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายวาประวัติศาสตรคือวิธีการ วิจัยหรือการไตสวน ... โดยมีจุดมุงหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณของ มนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต (history is a kind of research or inquiry ... action of human beings that have been done in the past.) อี. เอช. คาร (E. H. Carr) อธิบายวาประวัติศาสตรนั้นก็คือกระบวนการอัน ตอเนื่องของการปฏิสัมพันธระหวางนักประวัติศาสตรกับขอมูลของเขา ประวัติศาสตรคือบทสนทนาอันไมมีที่สิ้นสุดระหวางปจจุบันกับอดีต (What is history?, is that it is a continuous process of interaction between the present and the past.) พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ พระบิดาแหงประวัติศาสตรไทย http://www.dhammajak.net/board/files/resize_of_paragraph_138.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการดานประวัติศาสตร เอเชียตะวันออกเฉียงใตในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึงคําวา ประวัติศาสตรและเตือนผูศึกษา/อานประวัติศาสตรไว นาสนใจ ดังนี้ "การเขาใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร ... เราตองเขาใจ วาความรูเกี่ยวกับอดีตนั้นสรางใหมไดเรื่อยๆ เพราะ ทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตรนั้นเปลี่ยนอยู เสมอ ..." http://www.biolawcom.de/files/member/23/a rticle/184/14_204414_30.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร แหลงที่มาของขอมูล http://th.wikipedia.org/wiki http://www.biolawcom.de/files/member/23/article/ http://www.dhammajak.net/board/files/ http://www.google.co.th/ http://www.thaigoodview.com/files/ http://www.usu.edu/markdamen/ClasDram/ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร