SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
: รายวิชา ประวัติศาสตร์ไทย รหัสวิชา
ส.32103
โดยอรรถพล พลวัฒน์
  คำาว่า “ประวัติศาสตร์” หรือ “History”
เป็นศัพท์ภาษาอังกฤษ มาจากภาษากรีก
เดิมว่า “Historeo” คำาว่า “Histor” หมาย
ถึง พยาน ผู้ตัดสินหรือใครก็ได้ที่รู้เห็น
ส่วนคำาว่า “Historeo” “แปลว่า การ
สอบสวน การค้นคว้า ไต่ถามหาความจริง
 การศึกษาประวัติศาสตร์จึงเป็นเรื่อง
ของการแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
ชีวิตมนุษย์ที่ผ่านมาในอดีต
 ที่มีความสำาคัญในช่วงระยะเวลาใด
เวลาหนึ่งหรือสมัยใดสมัยหนึ่ง
 ซึ่งจะต้องอธิบายเหตุการณ์ ต่างๆที่
เกิดขึ้นนั้นได้อย่าง มีเหตุผลและถูก
ต้องตามความเป็นจริง โดยผ่าน
การนับเวลาและการเทียบศักราช
 เฮโรโดตัส
(HERODOTUS)นัก
ปราชญ์ชาวกรีก ได้รับ
การยกย่องให้เป็นเป็น
บิดาแห่งวิชา
ประวัติศาสตร์
การนับเวลาและการ
เทียบศักราช
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์
เธอ กรมพระยาดำารง
ราชานุภาพ ถือได้ว่า
เป็นบิดาแห่ง
ประวัติศาสตร์ไทย
 เวลาเป็นสิ่งเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน
เนื่องจากยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของ
มนุษยชาติมีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน
หลายพันปี การศึกษาความต่อเนื่อง
ระหว่างยุคสมัยในประวัติศาสตร์ช่วงต่าง
ๆ จึงต้องอาศัยเวลาที่ปรากฏอยู่ในหลัก
ฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ใน
การลำาดับเหตุการณ์ เพื่อสามารถเชื่อม
โยงถึงปัจจุบัน ดังนั้นเวลาจึงมีความ
สำาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่าง
 การนับเวลาของประเทศไทยในปัจจุบัน
นิยมใช้การนับเวลาด้วยกัน 2 แบบ คือ
◦การนับเวลาแบบสุริยคติ
◦การนับเวลาแบบจันทรคติ
 การนับเวลาแบบสุริยคติ สุริยคติ คือ การนับ
โดยถือเอาตำาแหน่งดวงอาทิตย์เป็นหลัก
◦ วันทางสุริยคติคือวันที่ 1,2,3...30 หรือ 31
◦ เดือนทางสุริยคติมี 12 เดือนใน 1 ปี คือ
มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน
พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม
กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม
◦ 1 ปีมี 365 วัน เป็นปีปกติเรียกว่า ปีปกติสุรทิน
ถ้าปีใดมี 366 วันคือเพิ่ม 1 วันในเดือน กุมภาพันธ์
จาก 28 วัน เป็น 29 วัน ซึ่งทุก 4  ปีจะมีครั้ง เรียก
ว่าปี อธิกสุทิน
 จันทรคติหมายถึง การนับโดยถือเอาดวงจันทร์เป็นหลัก
วันทางจันทรคติ นับเป็นวันขึ้นกี่คำ่าและแรมกี่คำ่า
มีชื่อเรียกว่า “การนับดิถี” การนับแบบนี้เกิดจากคนใน
สมัยโบราณสังเกตดวงจันทร์ที่มองเห็นในแต่ละคืนว่า
เปลี่ยนไปจากคืนก่อนอย่างไร
◦   วันขึ้น...คำ่า เริ่มจากเห็นดวงจันทร์เป็นเสี้ยวเล็กๆจน
เห็นเต็มดวงในวันขึ้น 15 คำ่า
◦ วันแรม...คำ่า เริ่มจากเห็นดวงจันทร์เต็มค่อยๆแหว่ง
หายไปจนไม่เห็นเลยในแรม 14-15 คำ่า
◦ เดือนทางจันทรคติ มี 12 เดือน  เรียกเดือนอ้าย
เดือนยี่ เดือน 3,4...ไปจนถึงเดือน 12   เริ่มต้นเดือนวัน
ขึ้น 1 คำ่า แต่วันสิ้นเดือนจะแตกต่างกันเป็น 2 แบบ
 พุทธศักราช(พ.ศ.)
ในประเทศไทยเริ่มนับ
เมื่อพระพุทธเจ้า
ปรินิพพานแล้ว 1 ปี
พุทธศักราชเข้าสู่ดิน
แดนประเทศไทยพร้อม
กับพระพุทธศาสนาจาก
อินเดีย 
 สันนิษฐานว่าคงเริ่ม
ตั้งแต่เมื่อพระเจ้าอโศก
 จุลศักราช (จ.ศ.) จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุ
โสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปีพุทธศักราช
1181 โดยไทยรับเอาวิธีการนับเวลานี้มาใช้ใน
สมัยอยุธยา เพื่อการคำานวณทาง โหราศาสตร์
ใช้บอกเวลาในจารึก ตานาน พระราช
พงศาวดาร จดหมายเหตุ ต่างๆ จนมาถึงสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
หัว(รัชกาลที่5 ) จึงเลิกใช้
 มหาศักราช(ม.ศ.) การนับศักราชนี้จะพบใน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัย และ
อยุธยาตอนต้น โดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของ
 รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ)
การนับเวลาแบบนี้
พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
หัว(รัชกาลที่ 5) ทรงตั้ง
ขึ้นในปีพุทธศักราช 2432
โดยกำาหนดให้กำาหนดให้
นับปีที่พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช สถาปนากรุง
รัตนโกสินทร์ เมื่อปี
พุทธศักราช 2325 เป็น
 คริสต์ศักราช (ค.ศ.) ซึ่ง
เป็นศักราชของคริสต์
ศาสนา เริ่มนับเมื่อพระเยซู
ประสูติ (25 ธันวาคม) หลัง
พุทธศักราช 543 ปี ซึ่ง
พระเยซู เป็นศาสดาของ
คริสต์ศาสนา เริ่มนับเป็น
คริสต์ศักราช 1 (ค.ศ.1)
หรือ A.D.1 ย่อมาจากคำา
ว่า “Anno Domini” การ
นับศักราช ก่อนที่ พระ
เยซูประสูติ เรียกว่า before
christ เขียนย่อ ๆ ว่า B.C.
นครเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย
 ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.)
เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1165 เมื่อปีที่
ท่านนบีมุฮัมมัด อพยพจากเมือง
เมกกะ (มักกะหฺ) ไปยังเมืองเมดี
นา (มะดีนะหฺ) โดย ฮ.ศ. 1 ตรง
กับ พ.ศ. 1165 แต่การเทียบรอบ
ปี ของ ฮ.ศ. กับ พ.ศ. มี
ความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกัน
โดยทุก ๆ 32 ปีครึ่ง ของ ฮ.ศ. จะ
เพิ่มขึ้น 1ปี เมื่อเทียบกับ พ.ศ.
ปัจจุบัน ฮ.ศ. น้อยกว่า พ.ศ.
1122 ปีและน้อยกว่า ค.ศ. 579 ปี
ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) นิยม
ตารางการเปรียบ
เทียบศักราช
จากศักราชอื่นเปลี่ยน
มาเป็น พ.ศ.
จาก พ.ศ. เปลี่ยน
เป็นศักราชอื่น
ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. - 2324 =
ร.ศ.
จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. - 1181 =
จ.ศ.
ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. - 621 =
ม.ศ.
ค.ศ. + 543 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 =

More Related Content

What's hot

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์DuangdenSandee
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6Phanuphong Kangtrakun
 

What's hot (20)

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 

Similar to เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช

ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 

Similar to เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช (8)

ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
History 1
History 1History 1
History 1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 

เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช