SlideShare a Scribd company logo
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
การเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อื่นสามารถทาความเข้าใจถึงขั้นตอนวิธีการทางาน รูปแบบของสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับ 
เขียนผังงานต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่มกี ารใช้งานกันทั่วไป สัญลักษณ์ที่ใชส้ าหรับเขียนผังงานมีดังนี้ 
1.1 จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน 
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน ใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมปลายมุมคล้ายกับสนาม 
ฟุตบอล ดังรูปที่ 1.1 ภายสัญลักษณ์มีคาอธิบายสาหรับบอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดของผังงาน โดยใช้คาอธิบาย 
“Start” หรือ “Begin” หรือเริ่มต้น สาหรับจุดเริ่มต้นของผังงาน และคาอธิบาย “Stop” หรือ “End” หรือจบ สาหรับ 
จุดสิ้นสุดของผังงาน 
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน สามารถมีได้เพียงสัญลักษณ์ละ 1 แห่งเท่านั้น 
ในแต่ละผังงาน กล่าวคือ มีสัญลักษณ์จุดเริ่มต้นได้เพียงสัญลักษณ์เดียวและมีสัญลักษณ์จุดสิ้นสุดได้เพียงสัญลักษณ์ 
เดียวเท่านั้น 
รูปที่ 1.1 สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นและจุดสนิ้ สุดของผังงาน 
รูปที่ 1.2 การใช้งานสัญลักษณ์จุดเริ่มตน้ และจุดสิน้ สุดของผังงาน 
สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นของผังงาน ใช้คาอธิบาย “Start” สาหรับบอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นของผังงาน เนื่องจากเป็น 
จุดเริ่มต้น สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นของผังงานจะมีเพียงทิศทางออก ไม่มีทิศทางเข้า 
สัญลักษณ์จุดสิ้นสุดของผังงาน ใช้คาอธิบาย “End” สาหรับบอกว่าเป็นจุดสิ้นสุดของผังงาน หรือใช้คาอธิบาย 
“Stop” แทนก็ได้ เนื่องจากเป็นจุดสิ้นสุดของการทางาน สัญลักษณ์จุดสิ้นสุดของผังงานมีเพียงทิศทางเข้า ไม่มีทิศ 
ทางออก 
Start End 
สัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงาน
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
1.2 การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล 
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการกาหนดค่า (Assignment) การคานวณ (Computation) และการประมาณผล (Process) ของผังงานใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีคาอธิบายลักษณะการทางานอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สัญลักษณ์นี้มีทั้งทิศทางเข้าและทิศทางอก โดยมีเพียงทิศทางเข้า 1 ทิศทางและทิศทางออก 1 ทิศทาง 
รูปที่ 1.3 สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล 
การเขียนผังงานนิยมใช้เครื่องหมายลูกศร (⟵) แทนเครื่องหมายเท่ากับ (=) สาหรับการกาหนดค่าหรือการ คานวณ เครื่องหมายเท่ากับสาหรับการเขียนผังงานนิยมใช้สาหรับการเปรียบเทียบความเท่ากันระหว่างค่า 2 ค่า 
ตัวอย่างที่ 1.1 การใช้สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล 
รูปที่ 1.4 การใช้สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล 
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการกาหนดค่าให้ค่าของ N มีค่าเท่ากับ 5 
รูปที่ 1.5 การใช้สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล 
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการคานวณค่าของ ของ A บวกกับ ค่าของ B จากนั้นนาผลที่ได้ไปเก็บไว้ ในตัวแปร X 
N 5 
X A + B 5
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
1.3 การรับข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออก 
การรับข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออก กรณีไม่กาหนดอุปกรณ์สาหรับการนาข้อมูลเข้าและการนาข้อมูล 
ออก สัญลักษณ์ที่ใช้คือสัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ภายในสัญลักษณ์เป็นคาอธิบายลักษณะการทางาน โดยใช้ 
คาอธิบาย “Read” , “Input” หรือ “รับค่า” สาหรับการรับข้อมูลเข้า และใช้คาอธิบาย “Write” , “Output” , “Print” 
หรอื “แสดงคา่ ” สาหรับการนาข้อมูลออกสัญลักษณ์น้มี ทีั้งทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
รูปที่ 1.6 สัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าและขอ้ มูลอกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ 
ตัวอย่างที่ 1.2 การใช้สัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ 
Read A, B 
รูปที่ 1.7 การใช้งานสัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ 
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าข้อมูล 2 ค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่ 1 
ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที่ 2 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร B 
Write ANS 
รูปที่ 1.8 การใช้งานสัญลักษณ์การนาข้อมูลออกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ 
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
1.4 การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ 
สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้สาหรับการรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ ดังรูปที่ 1.9 ภายในสัญลักษณ์ คือ ตัวแปร 
ที่ใช้สาหรับรับค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากแป้นพิมพ์ สัญลักษณ์สาหรับการรับข้อมูลเข้าจากแป้นพิมพ์มีทิศทางเข้าและทิศ 
ทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
รูปที่ 1.9 สัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพมิ พ์ 
ตัวอย่างที่ 1.3 การใช้สัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ (Keyboard) 
A, B 
รูปที่ 1.10 การใชง้ านสัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพมิ พ์ 
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าจากแป้นพิมพ์จานวน 2 ค่ามาเก็บไว้ ในตัวแปร A และตัวแปร 
B โดยค่าที่ 1 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที่2 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร B 
1.5 การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ 
สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพของผังงาน ใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่1.11 โดยเขียนข้อมูล 
ที่ต้องการแสดงผลออกสู่จอภาพอยู่ภายในสัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพมีทิศ 
ทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
รูปที่ 1.11 สัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
ตัวอย่างที่ 1.4 การใช้สัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ 
ANS 
รูปที่ 1.12 การใชสั้ญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ 
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทางจอภาพ 
1.6 การแสดงผลข้อมูลออกทางเคร่อื งพิมพ์ 
สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์ ใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่ 1.13 โดยเขียน 
ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางเครื่องพิมพ์อยู่ภายในสัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการแสดงข้อมูลออกทาง 
เครื่องพิมพ์มีทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
รูปที่ 1.13 สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้ มูลออกทางเครื่องพิมพ์ 
ตัวอย่างที่ 1.5 การใช้สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์ 
ANS 
รูปที่ 1.14 การใชสั้ญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้ มูลออกทางเครื่องพิมพ์ 
การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทางเครื่องพิมพ์
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
1.7 การติดต่อกับอุปกรณ์ท่เี ป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ 
อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ เช่น เทปแม่เหล็ก สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการติดต่อ 
อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ ดังรูปที่ 1.15 ใช้ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงเทปแม่เหล็กหรือต้องการ 
อ่านข้อมูลจากเทปแม่เหล็ก 
รูปที่ 1.15 สัญลักษณ์สาหรับการตดิ ต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ 
1.8 การติดต่อกับอุปกรณ์ท่เี ป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบตรง 
อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบตรง เช่น จานบันทึกข้อมูล (Disc) สัญลักษณ์ที่ใช้ในการติดต่อกับ 
อุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกข้อมูลใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่ 1.16 ใช้ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงจานบันทึกข้อมูลหรอื อ่าน 
ข้อมูลจากจานบันทึกข้อมูล 
รูปที่ 1.16 สัญลักษณ์สาหรับการตดิ ต่ออุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกข้อมูล 
1.9 การตัดสินใจ 
สัญลักษณ์การตัดสินใจใช้สาหรับตรวจสอบเงื่อนไข เพื่อตัดสินใจเลือกกระทาขั้นตอนการทางานที่ต้องทา 
เป็นลาดับถัดไป สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้สาหรับการตัดสินใจเครื่องหมายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยมีเงื่อนไขสาหรับ 
การตัดสินใจอยู่ภายในสัญลักษณ์ สัญลักษณ์การตัดสินใจมีการใช้งานในผังงานที่มีการทางานแบบเลือกทา และการ 
ทางานแบบทาซ้า 
รูปที่ 1.17 สัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการตัดสินใจมีทิศทางเข้า 1 ทิศทาง ผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขที่อยู่ในสัญลักษณ์ 
การตัดสินใจจะมีอยู่ 2 กรณี คือ กรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริงและกรณีที่ผลการตรวจสอบเป็นเท็จ ดังนั้น 
ทิศทางที่ออกจากสัญลักษณ์การตัดสินใจจะมี 2 ทิศทางเช่นกัน โดยใช้คาอธิบาย “Yes” , “Y” , “True” หรือ “ใช่” 
กากับทิศทางในกรณีที่ผลการตรวจสอบเง่อื นไขเป็นจริง ใช้คาอธิบาย “No” , “N” , “False” หรือ “ไม่ใช่” กากับทิศทาง 
ในกรณีที่ผลการตรวจสอบเง่อื นไขเป็นเท็จ 
ตัวอย่างที่ 1.6 การใช้สัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ 
X 15 
Y N 
รูปที่ 1.18 การใช้งานสัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ 
จากสัญลักษณ์การตัดสินใจขั้นตอนการทางาน คือ พิจารณาค่าของ X ถ้าค่าของ X ขณะนั้นมีค่ามากกว่า 15 
ขั้นตอนการทางานที่ต้องการทาในลาดับถัดไป คือ การทางานในทิศทางที่มีตัวอักษร “Y” กากับ ถ้าค่าของ X ขณะนั้นไม่ 
มากกว่า 15 คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 ขั้นตอนการทางานที่ต้องทาเป็นลาดับถัดไป คือ การทางานในทิศทางที่มี 
ตัวอักษร “N” กากับ 
1.10 การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน 
การแสดงทิศทางของขั้นตอนการทางานของผังงาน ใช้ลูกศรสาหรับการบอกทิศทางของขั้นตอนการ 
ทางาน การใช้ลูกศรแสดงทิศทางของขั้นตอนการทางานนิยมเขียนจากด้านบนลงด้านล่างหรือจากด้านซ้ายไปด้านขวา 
ลูกศรที่ชี้เข้าสู่สัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้เข้าด้านบนของสัญลักษณ์ และลูกศรที่ชี้ออกจากสัญลักษณ์ของ 
ผังงานนิยมเขียนลูกศรช้อี อกทางดา้ นล่างของสัญลักษณ์ 
รูปที่ 1.19 สัญลักษณ์การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน 
การเขียนเส้นของลูกศรแสดงทิศทางการไหลของผังงานไม่นิยมเขียนเส้นตัดกัน ถ้ามีขั้นตอนการทางานที่ 
ต้องเขียนเส้นตัดกัน ต้องพยายามเลี่ยงโดยการปรับรูปของโครงสร้างผังงานใหม่หรือใช้เครื่องหมายจุดต่อช่วยในการ 
เขียนผังงาน
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
ตัวอย่างที่ 1.7 การใช้สัญลักษณ์สาหรับแสดงทิศทางการทางานของผังงาน 
Read A,B 
X = A + B 
รูปที่ 1.20 ทิศทางของลาดับขั้นตอนการทางาน 
ลาดับขั้นตอนการทางานของผังงาน รูปที่ 1.20 คือ ขั้นตอนแรก ทาการรับค่าข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร A 
และ B จากนั้นทาขั้นตอนของการคานวณค่าของ A บวกด้วยค่าของ B จากนั้นนาผลที่ได้ไปเก็บไว้ในตัวแปร X 
1.11 จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน 
สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้สาหรับเช่อื มการทางานของผังงานที่อยู่ในหนา้ เดียวกัน สัญลักษณ์ 
จุดต่อภายในหน้าเดียวกันใช้สัญลักษณ์ของวงกลม ภายในวงกลมระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุดต่อ 
แต่ละจุดต้องมีคู่ที่ต้องการเชื่อมถึงกันเสมอ 
การใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้ในกรณีที่เส้นสาหรับแสดงทิศทางการทางานของผังงานมี 
ความยาวมาก หรือมีจุดตัดของเส้นที่ใช้แสดงทิศทางการทางานเกิดขึ้น เพื่อลดความซับซ้อนของเส้นที่ใช้แสดงขั้นตอน 
การทางานของผังงาน ทาให้สามารถเห็นลาดับขั้นตอนการทางานได้อย่างไม่สับสน 
รูปที่ 1.21 สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน 
ตัวอย่างที่ 1.8 การใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน 
1 1 
รูปที่ 1.22 การใช้งานสัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้ เดียวกัน 
แสดงเครื่องหมายจุดต่อภายในหน้าเดียวกันหมายเลข 1 โดยที่ตั้ง 2 จุดต้องอยู่หน้าเดียวกัน การทางานของผัง 
งานเสมือนวา่ สองจุดน้คี อื จุดเดียวกัน และเช่อื มตอ่ ถึงกัน
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
เรื่องการเขียนผังงาน 
1.12 จุดต่อระหว่างหน้า 
สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้าของผังงานใช้สัญลักษณ์รูปห้าเหลี่ยม สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้าใช้ 
สาหรับเชื่อมการทางานของผังงานที่อยู่ต่างหน้ากัน ภายในสัญลักษณ์ระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุด 
ต่อแต่ละจุดต้องคู่ที่ต้องการเชื่อมถึงกันเสมอ 
การใช้งานของสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า มีการใช้งานเหมือนกับจุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ต่างกัน 
เพียงใช้สาหรับเชื่อมต่อจุดที่อยู่ต่างหน้ากัน 
รูปที่ 1.23 สัญลักษณ์จุดตอ่ ระหว่างหน้า 
ตัวอย่างที่ 1.9 การใช้สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า 
1 1 
รูปที่ 1.24 การใช้งานสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า 
แสดงเครื่องหมายจุดต่อระหว่างหน้าหมายเลข 1 โดยที่ทั้ง 2 จุดต้องอยู่ต่างหน้ากันการทางานของผังงาน 
เสมือนว่าสองจุดน้คี อื จุดเดียวกัน และเช่อื มตอ่ ถึงกัน

More Related Content

What's hot

การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานCai Ubru
 
ผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภาผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภา
ปณพล ดาดวง
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Jakkree Eiei
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมbpatra
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานChittraporn Phalao
 
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
Patipat04
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 

What's hot (20)

การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
ผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภาผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภา
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
Programmer1
Programmer1Programmer1
Programmer1
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงาน
 
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
1
11
1
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 

Similar to 1 3สัญลักษณ์ผังงาน

Programming
ProgrammingProgramming
Programmingsa
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์bpatra
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
Kornnicha Wonglai
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
Work3- 53
Work3- 53Work3- 53
Work3- 53
nookpntp
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นชญานิษฐ์ ทบวัน
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chartbbgunner47
 

Similar to 1 3สัญลักษณ์ผังงาน (18)

Programming
ProgrammingProgramming
Programming
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
Work3- 53
Work3- 53Work3- 53
Work3- 53
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
 
การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)
 
การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
Chapter1.1
Chapter1.1Chapter1.1
Chapter1.1
 
Chapter1.1
Chapter1.1Chapter1.1
Chapter1.1
 
Basic
BasicBasic
Basic
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

1 3สัญลักษณ์ผังงาน

  • 1. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน การเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อื่นสามารถทาความเข้าใจถึงขั้นตอนวิธีการทางาน รูปแบบของสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับ เขียนผังงานต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่มกี ารใช้งานกันทั่วไป สัญลักษณ์ที่ใชส้ าหรับเขียนผังงานมีดังนี้ 1.1 จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน ใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมปลายมุมคล้ายกับสนาม ฟุตบอล ดังรูปที่ 1.1 ภายสัญลักษณ์มีคาอธิบายสาหรับบอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดของผังงาน โดยใช้คาอธิบาย “Start” หรือ “Begin” หรือเริ่มต้น สาหรับจุดเริ่มต้นของผังงาน และคาอธิบาย “Stop” หรือ “End” หรือจบ สาหรับ จุดสิ้นสุดของผังงาน สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน สามารถมีได้เพียงสัญลักษณ์ละ 1 แห่งเท่านั้น ในแต่ละผังงาน กล่าวคือ มีสัญลักษณ์จุดเริ่มต้นได้เพียงสัญลักษณ์เดียวและมีสัญลักษณ์จุดสิ้นสุดได้เพียงสัญลักษณ์ เดียวเท่านั้น รูปที่ 1.1 สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นและจุดสนิ้ สุดของผังงาน รูปที่ 1.2 การใช้งานสัญลักษณ์จุดเริ่มตน้ และจุดสิน้ สุดของผังงาน สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นของผังงาน ใช้คาอธิบาย “Start” สาหรับบอกว่าเป็นจุดเริ่มต้นของผังงาน เนื่องจากเป็น จุดเริ่มต้น สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นของผังงานจะมีเพียงทิศทางออก ไม่มีทิศทางเข้า สัญลักษณ์จุดสิ้นสุดของผังงาน ใช้คาอธิบาย “End” สาหรับบอกว่าเป็นจุดสิ้นสุดของผังงาน หรือใช้คาอธิบาย “Stop” แทนก็ได้ เนื่องจากเป็นจุดสิ้นสุดของการทางาน สัญลักษณ์จุดสิ้นสุดของผังงานมีเพียงทิศทางเข้า ไม่มีทิศ ทางออก Start End สัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงาน
  • 2. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน 1.2 การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการกาหนดค่า (Assignment) การคานวณ (Computation) และการประมาณผล (Process) ของผังงานใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีคาอธิบายลักษณะการทางานอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สัญลักษณ์นี้มีทั้งทิศทางเข้าและทิศทางอก โดยมีเพียงทิศทางเข้า 1 ทิศทางและทิศทางออก 1 ทิศทาง รูปที่ 1.3 สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล การเขียนผังงานนิยมใช้เครื่องหมายลูกศร (⟵) แทนเครื่องหมายเท่ากับ (=) สาหรับการกาหนดค่าหรือการ คานวณ เครื่องหมายเท่ากับสาหรับการเขียนผังงานนิยมใช้สาหรับการเปรียบเทียบความเท่ากันระหว่างค่า 2 ค่า ตัวอย่างที่ 1.1 การใช้สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล รูปที่ 1.4 การใช้สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการกาหนดค่าให้ค่าของ N มีค่าเท่ากับ 5 รูปที่ 1.5 การใช้สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการคานวณค่าของ ของ A บวกกับ ค่าของ B จากนั้นนาผลที่ได้ไปเก็บไว้ ในตัวแปร X N 5 X A + B 5
  • 3. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน 1.3 การรับข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออก การรับข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออก กรณีไม่กาหนดอุปกรณ์สาหรับการนาข้อมูลเข้าและการนาข้อมูล ออก สัญลักษณ์ที่ใช้คือสัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ภายในสัญลักษณ์เป็นคาอธิบายลักษณะการทางาน โดยใช้ คาอธิบาย “Read” , “Input” หรือ “รับค่า” สาหรับการรับข้อมูลเข้า และใช้คาอธิบาย “Write” , “Output” , “Print” หรอื “แสดงคา่ ” สาหรับการนาข้อมูลออกสัญลักษณ์น้มี ทีั้งทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง รูปที่ 1.6 สัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าและขอ้ มูลอกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ ตัวอย่างที่ 1.2 การใช้สัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าและการนาข้อมูลออกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ Read A, B รูปที่ 1.7 การใช้งานสัญลักษณ์การนาข้อมูลเข้าโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าข้อมูล 2 ค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่ 1 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที่ 2 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร B Write ANS รูปที่ 1.8 การใช้งานสัญลักษณ์การนาข้อมูลออกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS
  • 4. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน 1.4 การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้สาหรับการรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ ดังรูปที่ 1.9 ภายในสัญลักษณ์ คือ ตัวแปร ที่ใช้สาหรับรับค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากแป้นพิมพ์ สัญลักษณ์สาหรับการรับข้อมูลเข้าจากแป้นพิมพ์มีทิศทางเข้าและทิศ ทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง รูปที่ 1.9 สัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพมิ พ์ ตัวอย่างที่ 1.3 การใช้สัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ (Keyboard) A, B รูปที่ 1.10 การใชง้ านสัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าทางแป้นพมิ พ์ การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าจากแป้นพิมพ์จานวน 2 ค่ามาเก็บไว้ ในตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่ 1 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร A และค่าที่2 ถูกนาไปเก็บไว้ในตัวแปร B 1.5 การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพของผังงาน ใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่1.11 โดยเขียนข้อมูล ที่ต้องการแสดงผลออกสู่จอภาพอยู่ภายในสัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพมีทิศ ทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง รูปที่ 1.11 สัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ
  • 5. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน ตัวอย่างที่ 1.4 การใช้สัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ ANS รูปที่ 1.12 การใชสั้ญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทางจอภาพ 1.6 การแสดงผลข้อมูลออกทางเคร่อื งพิมพ์ สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์ ใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่ 1.13 โดยเขียน ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางเครื่องพิมพ์อยู่ภายในสัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการแสดงข้อมูลออกทาง เครื่องพิมพ์มีทิศทางเข้าและทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง รูปที่ 1.13 สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้ มูลออกทางเครื่องพิมพ์ ตัวอย่างที่ 1.5 การใช้สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์ ANS รูปที่ 1.14 การใชสั้ญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้ มูลออกทางเครื่องพิมพ์ การใช้งานสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทางเครื่องพิมพ์
  • 6. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน 1.7 การติดต่อกับอุปกรณ์ท่เี ป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ เช่น เทปแม่เหล็ก สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการติดต่อ อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ ดังรูปที่ 1.15 ใช้ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงเทปแม่เหล็กหรือต้องการ อ่านข้อมูลจากเทปแม่เหล็ก รูปที่ 1.15 สัญลักษณ์สาหรับการตดิ ต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ 1.8 การติดต่อกับอุปกรณ์ท่เี ป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบตรง อุปกรณ์ที่เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบตรง เช่น จานบันทึกข้อมูล (Disc) สัญลักษณ์ที่ใช้ในการติดต่อกับ อุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกข้อมูลใช้สัญลักษณ์ ดังรูปที่ 1.16 ใช้ในกรณีที่ต้องการบันทึกข้อมูลลงจานบันทึกข้อมูลหรอื อ่าน ข้อมูลจากจานบันทึกข้อมูล รูปที่ 1.16 สัญลักษณ์สาหรับการตดิ ต่ออุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกข้อมูล 1.9 การตัดสินใจ สัญลักษณ์การตัดสินใจใช้สาหรับตรวจสอบเงื่อนไข เพื่อตัดสินใจเลือกกระทาขั้นตอนการทางานที่ต้องทา เป็นลาดับถัดไป สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้สาหรับการตัดสินใจเครื่องหมายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยมีเงื่อนไขสาหรับ การตัดสินใจอยู่ภายในสัญลักษณ์ สัญลักษณ์การตัดสินใจมีการใช้งานในผังงานที่มีการทางานแบบเลือกทา และการ ทางานแบบทาซ้า รูปที่ 1.17 สัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ
  • 7. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการตัดสินใจมีทิศทางเข้า 1 ทิศทาง ผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขที่อยู่ในสัญลักษณ์ การตัดสินใจจะมีอยู่ 2 กรณี คือ กรณีที่ผลการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริงและกรณีที่ผลการตรวจสอบเป็นเท็จ ดังนั้น ทิศทางที่ออกจากสัญลักษณ์การตัดสินใจจะมี 2 ทิศทางเช่นกัน โดยใช้คาอธิบาย “Yes” , “Y” , “True” หรือ “ใช่” กากับทิศทางในกรณีที่ผลการตรวจสอบเง่อื นไขเป็นจริง ใช้คาอธิบาย “No” , “N” , “False” หรือ “ไม่ใช่” กากับทิศทาง ในกรณีที่ผลการตรวจสอบเง่อื นไขเป็นเท็จ ตัวอย่างที่ 1.6 การใช้สัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ X 15 Y N รูปที่ 1.18 การใช้งานสัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ จากสัญลักษณ์การตัดสินใจขั้นตอนการทางาน คือ พิจารณาค่าของ X ถ้าค่าของ X ขณะนั้นมีค่ามากกว่า 15 ขั้นตอนการทางานที่ต้องการทาในลาดับถัดไป คือ การทางานในทิศทางที่มีตัวอักษร “Y” กากับ ถ้าค่าของ X ขณะนั้นไม่ มากกว่า 15 คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 ขั้นตอนการทางานที่ต้องทาเป็นลาดับถัดไป คือ การทางานในทิศทางที่มี ตัวอักษร “N” กากับ 1.10 การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน การแสดงทิศทางของขั้นตอนการทางานของผังงาน ใช้ลูกศรสาหรับการบอกทิศทางของขั้นตอนการ ทางาน การใช้ลูกศรแสดงทิศทางของขั้นตอนการทางานนิยมเขียนจากด้านบนลงด้านล่างหรือจากด้านซ้ายไปด้านขวา ลูกศรที่ชี้เข้าสู่สัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้เข้าด้านบนของสัญลักษณ์ และลูกศรที่ชี้ออกจากสัญลักษณ์ของ ผังงานนิยมเขียนลูกศรช้อี อกทางดา้ นล่างของสัญลักษณ์ รูปที่ 1.19 สัญลักษณ์การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน การเขียนเส้นของลูกศรแสดงทิศทางการไหลของผังงานไม่นิยมเขียนเส้นตัดกัน ถ้ามีขั้นตอนการทางานที่ ต้องเขียนเส้นตัดกัน ต้องพยายามเลี่ยงโดยการปรับรูปของโครงสร้างผังงานใหม่หรือใช้เครื่องหมายจุดต่อช่วยในการ เขียนผังงาน
  • 8. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน ตัวอย่างที่ 1.7 การใช้สัญลักษณ์สาหรับแสดงทิศทางการทางานของผังงาน Read A,B X = A + B รูปที่ 1.20 ทิศทางของลาดับขั้นตอนการทางาน ลาดับขั้นตอนการทางานของผังงาน รูปที่ 1.20 คือ ขั้นตอนแรก ทาการรับค่าข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และ B จากนั้นทาขั้นตอนของการคานวณค่าของ A บวกด้วยค่าของ B จากนั้นนาผลที่ได้ไปเก็บไว้ในตัวแปร X 1.11 จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้สาหรับเช่อื มการทางานของผังงานที่อยู่ในหนา้ เดียวกัน สัญลักษณ์ จุดต่อภายในหน้าเดียวกันใช้สัญลักษณ์ของวงกลม ภายในวงกลมระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุดต่อ แต่ละจุดต้องมีคู่ที่ต้องการเชื่อมถึงกันเสมอ การใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ใช้ในกรณีที่เส้นสาหรับแสดงทิศทางการทางานของผังงานมี ความยาวมาก หรือมีจุดตัดของเส้นที่ใช้แสดงทิศทางการทางานเกิดขึ้น เพื่อลดความซับซ้อนของเส้นที่ใช้แสดงขั้นตอน การทางานของผังงาน ทาให้สามารถเห็นลาดับขั้นตอนการทางานได้อย่างไม่สับสน รูปที่ 1.21 สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ตัวอย่างที่ 1.8 การใช้สัญลักษณ์จุดต่อภายในหน้าเดียวกัน 1 1 รูปที่ 1.22 การใช้งานสัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้ เดียวกัน แสดงเครื่องหมายจุดต่อภายในหน้าเดียวกันหมายเลข 1 โดยที่ตั้ง 2 จุดต้องอยู่หน้าเดียวกัน การทางานของผัง งานเสมือนวา่ สองจุดน้คี อื จุดเดียวกัน และเช่อื มตอ่ ถึงกัน
  • 9. วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการเขียนผังงาน 1.12 จุดต่อระหว่างหน้า สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้าของผังงานใช้สัญลักษณ์รูปห้าเหลี่ยม สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้าใช้ สาหรับเชื่อมการทางานของผังงานที่อยู่ต่างหน้ากัน ภายในสัญลักษณ์ระบุหมายเลขของจุดที่ต้องการต่อเชื่อมถึงกัน จุด ต่อแต่ละจุดต้องคู่ที่ต้องการเชื่อมถึงกันเสมอ การใช้งานของสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า มีการใช้งานเหมือนกับจุดต่อภายในหน้าเดียวกัน ต่างกัน เพียงใช้สาหรับเชื่อมต่อจุดที่อยู่ต่างหน้ากัน รูปที่ 1.23 สัญลักษณ์จุดตอ่ ระหว่างหน้า ตัวอย่างที่ 1.9 การใช้สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า 1 1 รูปที่ 1.24 การใช้งานสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหน้า แสดงเครื่องหมายจุดต่อระหว่างหน้าหมายเลข 1 โดยที่ทั้ง 2 จุดต้องอยู่ต่างหน้ากันการทางานของผังงาน เสมือนว่าสองจุดน้คี อื จุดเดียวกัน และเช่อื มตอ่ ถึงกัน