SlideShare a Scribd company logo
การศึก ษาในระบบ

Formal Education)

ผศ. ดร. ณรัฐ วัฒนพานิช
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษา
ศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
ความนำา
Introduction

 การศึกษา (Education) ในมาตรา 4 ของ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542

 ความหมายของการศึกษา มีความหมาย
ว่า กระบวนการเรียนรู้เพือความเจริญ
่
งอกงามของบุคคล และสังคม การฝึก
การถ่ายทอดความรู้ การอบรม การ
สืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์
จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การ
สร้างองค์ความรู้ อันเกิดจากการจัด

2
ความนำา
Introduction

 มาตรา 15 ได้กำาหนดระบบการ

ศึกษา ในการจัดการศึกษามีสาม
รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบการ
ศึกษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัย
3
การศึกษาในระบบ
(Formal Education)
 ความหมายการศึก ษาในระบบ
 คือการศึกษาที่กำาหนดจุดมุงหมาย
่
วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา
ของการศึกษาการวัด และประเมิน
ผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำาเร็จ
การศึกษา ที่แน่นอน
4
วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน
ระบบ

1)ถ่ายทอดหรือปลูกฝัง เนื้อหา

ความรู้ ความเข้าใจที่เหมาะสม
เพือให้ผู้ได้รบการศึกษาวางตัว
่
ั
ได้เหมาะสมในสังคม และมี
ความสามารถประกอบอาชีพ
ตามความถนัด ความสนใจ
หรือตามโอกาสของแต่ละ

5
วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน
ระบบ

2) เตรียมเด็กก่อนวัยเรียน ให้มี
ความพร้อมในการเรียนรู้และจัด
ให้เด็กในวัยเรียน ได้รับการ
ศึกษาเพื่อเรียนรู้ และพัฒนา
ตนเองต่อเนื่องเพื่อให้มี
พัฒนาการทั้งทางร่างกาย
เชาวน์ปัญญา ความสนใจที่

6
วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน
ระบบ
3) เพื่อพัฒนาเด็กในวัยเรียนทุกระดับให้ได้รับการ
ศึกษา เพื่อประโยชน์สำาหรับการเตรียมตัวระดับ
พื้นฐาน และเพื่อมีความรู้ ความสามารถในการ
ประกอบอาชีพการงานต่อไป

7
วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน
ระบบ
4) ตอบสนองความต้องการทางการ
ศึกษาระดับสูงในเชิงคุณภาพ มุ่งส่ง
เสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้พัฒนา
ความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน เพือ
่
ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ ซึ่ง
อาจดำาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษา
ที่เน้นการวิเคราะห์ วิจัยระดับสูง มุง
่
คิดค้นเนือหาสาระทีแปลกใหม่จากเดิม
้
่

8
วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน
ระบบ

5) พัฒนาศักยภาพของบุคคลเต็มความ
สามารถและตอบสนองวิสยทัศน์ใน
ั
การพัฒนาประเทศ เน้นพัฒนากลุมเป้า
่
หมายในลักษณะบูรณาการ คือ มี
ความสมบูรณ์ครบถ้วนทุกด้าน ทังทาง
้
ร่างกาย สติปญญาคุณธรรม ความคิด
ั
ความสำานึก ความรับผิดชอบ ฯลฯ ซึ่ง
ตามปกติเป็นหน้าทีของสถานศึกษา
่
และอาจจัดเสริมเติมในลักษณะฝึก

9
เป้า หมายของการจัด การศึก ษา
ในระบบ

1) บุคคลก่อนวัยเรียน (ปฐมวัย)
เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะการเตรี
ยมความพร้อมเพือส่งเสริมทัง 4 ด้าน
่
้
คือ
1.1 ด้านร่างกาย ได้แก่ กิจกรรม
การเคลือนไหวตามจังหวะ
่
1.2 อารมณ์ ได้แก่ กิจกรรมกลาง
แจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์

10
เป้า หมายของการจัด การศึก ษา
ในระบบ

2) บุคคลในวัยเรียน เป็นการจัดการศึกษา
ให้กับกลุ่มเป้าหมายดังต่อไปนี้
    2.1) การศึกษาขันพืนฐาน ซึ่งได้แก่
้ ้
การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา
และระดับมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพืน
้
ฐานนั้น มักใช้เวลาประมาณสิบสองปี เป็น
ส่วนใหญ่ ในช่วงปลายของการศึกษา
เยาวชนที่สนใจสายอาชีพ แทนที่จะศึกษา
สายสามัญ ก็อาจเลือกเข้าเรียนในสถาน
ศึกษา สายอาชีพได้ ซึ่งได้แก่ โรงเรียน
อาชีวศึกษา ประเภทต่าง ๆ
     2.2) การศึกษาระดับอุดมศึกษา เมือ
่

11
องค์ป ระกอบของการจัด การศึก ษา
ในระบบ
1. สาระเนื้อหาในการศึกษา การจัดการ
ศึกษาในระบบ จะจัดทำาหลักสูตรเป็นตัว
กำาหนดเนื้อหาสาระหลักสูตรในหลักสูตร
กลางแต่ละระดับ แต่ขณะเดียวกันก็เปิด
โอกาสให้สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถจัด
เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับท้องถิ่นได้ด้วย
โดยมีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย ทันต่อ
เหตุการณ์ เหมาะสมกับความต้องการของ
ผู้เรียน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
การจัดการศึกษา ทั้งนี้ต้องทบทวนเนื้อหา
12
องค์ป ระกอบของการจัด การ
ศึก ษาในระบบ
2. ครู ครูผู้สอน หรือผู้ให้การเรียนรู้
หมายถึง ผู้ถายทอด เนื้อหาสาระ
่
ได้แก่ ครู และอาจารย์ ซึ่งถือเป็นผู้
ประกอบอาชีพชั้นสูง บุคคลเหล่านี้
ต้องได้รับการอบรมทั้งในด้าน
เนื้อหา และวิธีการถ่ายทอด เพื่อให้
สามารถถ่ายทอดความรู้ และสาระ
วิชาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนได้
13
องค์ป ระกอบของการจัด การ
ศึก ษาในระบบ

3. สือ และอุปกรณ์สำาหรับการศึกษา
่
เช่น อาคารสถานที่ โต๊ะเก้าอี้ กระดาน
เขียน หนังสือ แบบเรียน สมุด ดินสอ
ตลอดทังอุปกรณ์ที่ทนสมัยที่มราคา
้
ั
ี
แพงทังหลาย เช่น อุปกรณ์ในห้อง
้
ปฏิบัตการทางวิทยาศาสตร์ เครื่อง
ิ
คอมพิวเตอร์ เป็นต้น สื่อและอุปกรณ์
เหล่านีเป็นส่วนประกอบทีจำาเป็น
้
่

14
องค์ป ระกอบของการจัด การ
ศึก ษาในระบบ
4. รูปแบบวิธีการเรียนการสอน การ
ศึกษาในระบบยุคปฏิรูปการศึกษา
เน้นความสำาคัญที่ตัวผู้เรียน รูป
แบบวิธีการเรียนการสอนใหม่แตก
ต่างไปจากเดิม ซึ่งมีกระบวนการ
เรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น
การระดมความคิด การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน การนำาชมนอก

15
องค์ป ระกอบของการจัด การ
ศึก ษาในระบบ
5. สถานศึกษาและบรรยากาศ
แวดล้อม การจัดการศึกษาในระบบ
ยังต้องอาศัยชั้นเรียนยังเป็นสิ่ง
จำาเป็น ดังนั้นอาคารสถานที่
ห้องเรียน และบรรยากาศแวดล้อม
ที่ใช้ในการจัดการศึกษาเป็นสิ่ง
จำาเป็นซึ่งจะต้องจัดบรรยากาศ

16
องค์ป ระกอบของการจัด การ
ศึก ษาในระบบ

6. ผู้เรียน หรือผู้ศึกษา ถือเป็นองค์ประกอบ
สำาคัญที่สุดของการจัดการศึกษา เพราะผู้
เรียนคือผู้รับการศึกษาและเป็นเป้าหมาย
หลักของการจัดการศึกษา การปรับเปลี่ยน
ความรู้และพฤติกรรมของผูเรียน เป็นดัชนี
้
ชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา การ
จัดการศึกษาจึงครอบคลุมขั้นตอนที่เกี่ยว
กับการเรียนรู้ของผู้เรียนตั้งแต่การเตรียม
การเตรี
ความพร้อม สำาหรับการเรียนรู้ การให้การ

17
สรุป
  การศึกษาในระบบ (Formal Education) เป็นการ

ศึกษาทีมรูปแบบและระบบแบบแผนชัดเจน มีการ
่ ี
กำาหนดวัตถุประสงค์ หลักสูตรวิธีการจัดการเรียนการ
สอน การวัดผล และการประเมินผลทีแน่นอน ซึ่งการ
่
ศึกษาในระบบของไทยประกอบไปด้วยการศึกษาขั้น
พื้นฐานและการศึกษาในขั้นอุดมศึกษา โดยการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ถูกแบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆ คือ ระดับก่อน
ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอน
ต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ยังถูกแบ่งเป็นประเภทสามัญ
ศึกษาและประเภทอาชีวศึกษาอีกด้วย สำาหรับในการ
ศึกษาขั้นอุดมศึกษานัน แบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆคือ ตำ่า
้
กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต

18
เอกสารและแหล่งอ้างอิง
 สำานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน

คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2)
่
พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวา
นกราฟฟิค จำากัด.

19
การศึก ษานอกระบบ

Non-Formal Education)
ผศ. ดร. ณรัฐ วัฒนพานิช
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษา
ศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
ความนำา
Introduction

 ในปัจจุบนวิถีการเรียนรู้ของมนุษย์
ั

เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
 อันเป็นผลสืบเนื่องมา จากความก้าวหน้า
ขององค์ความรู้และวิทยาการสมัยใหม่
 การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร
 และสังคมในโลกยุคโลกาภิวัตน์
(Globalization)
 ตลอดจนพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจที่

21
ความนำา
Introduction

 ทำาให้เกิดความต้องการการเรียนรู้อย่าง

กว้างขวางในแทบทุกกิจกรรมของสังคมวิถี
การเรียนรู้ของคน
 จึงขยายขอบเขตจากการศึกษาในระบบ
ไปสูการเรียนรู้จากการศึกษานอกระบบ
่
และการศึกษาตามอัธยาศัย
 ทำาให้เกิดกิจกรรมการศึกษาและแหล่งการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย การศึกษานอกระบบ
จึงมีบทบาทสำาคัญต่อวิถีชีวิตของมนุษย์

22
ความหมายของการศึกษานอกระบบ
  การศึกษานอกระบบ หรือ Non-formal

Education (NFE)ได้เกิดขึ้นครั้งแรกใน ปี
ค.ศ. 1967 ในการประชุมของ UNESCO

เรื่องThe World Educational Crisis
 ซึ่งได้นิยามการศึกษานอกระบบ หมายถึง
การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบ แต่นอกกรอบของการจัดการศึกษา
ในระบบโรงเรียนปกติ โดยมุ่งบริการให้คน
กลุ่มต่าง ๆ ของประชากร ทั้งที่เป็นผู้ใหญ่

23
ความหมายของการศึกษานอกระบบ
 การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-

Formal Education) เป็นแนวทาง
หนึ่งในการจัดการศึกษาซึ่งเปิดโอกาส
ให้กับผู้ที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษาใน
ระบบโรงเรียนตามปกติ
 ในปัจจุบนการศึกษานอกระบบ คือ
ั
กระบวนการจัดการพัฒนาสมรรถนะ
ของผู้เรียน ทังที่เป็นทัศนคติ ทักษะ
้
และความรู้
 ซึ่งทำาได้ยืดหยุ่นกว่าการเรียนในระบบ
โรงเรียนทัวไป
่

24
ความหมายของการศึกษานอกระบบ

 ได้มโอกาสศึกษาหาความรู้ พัฒนา
ี

ตนเอง ให้สามารถดำารงตนอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข
 เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะอ่อน
ตัวให้ผู้เรียนมีความสะดวกเลือกเรียน
ได้หลายวิธี
 จึงก่อให้เกิดประโยชน์ตอตัวผู้เรียน
่
และสังคมเป็นอย่างยิ่ง
25
ความหมายของการศึกษานอกระบบ

 การศึกษานอกโรงเรียนมีความหมาย

ครอบคลุมถึงมวลประสบการณ์การเรียนรู้
ทุกชนิดที่บคคลได้รับจากการเรียนรู้
ุ
 ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ตามธรรมชาติการ
เรียนรู้จากสังคม และการเรียนรู้ที่ได้รับ
จากโปรแกรมการศึกษาที่จัดขึ้นนอกเหนือ
ไปจากการศึกษาในโรงเรียนตามปกติ
 เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้
บุคคลที่มิได้อยู่ในระบบโรงเรียนปกติ ได้มี
โอกาสแสวงหาความรู้ ทักษะ ทัศนคติ เพือ
่

26
การศึกษานอกระบบยุคใหม่จึงเน้นการเรียน
รู้และสมรรถนะ (Learning and
Competency)
 สมรรถนะที่เกิดจากการศึกษานอกระบบมีตั้งแต่
(จรวยพร  ธรณินทร์, 2550 )

1. ทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2. การทำางานเป็นกลุ่ม
3. การแก้ไขความขัดแย้ง
4. การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
5. การเป็นผู้นำา
6. การแก้ปญหาร่วมกัน
ั
7. การสร้างความเชื่อมั่น
8. ความรับผิดชอบและความมีวินัย

27
หลัก การของการศึก ษานอก
ระบบ
1. เน้นความเสมอภาคในโอกาส

ทางการศึกษาการกระจาย
โอกาสทางการศึกษาให้ครอบคลุม และ
ทัวถึง
่
2. ส่งเสริมการจัดการศึกษาอย่างต่อ
เนื่องตลอดชีวิต มี
ความยืดหยุ่นในเรื่องกฎเกณฑ์ ระเบียบ
ต่าง ๆ

28
หลัก การของการศึก ษานอก
ระบบ
3. จัดการศึกษาให้สนองความต้องการ
ของกลุมเป้าหมาย
่
ให้เรียนรู้ในสิงที่สมพันธ์กบชีวิต
่
ั
ั
4. จัดการศึกษาหลากหลายรูปแบบ
คำานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ผู้สอนมิได้จำากัดเฉพาะ
ครู อาจจะเป็นผู้รู้

29
สรุป
 การศึกษานอกระบบ เป็นกระบวนการ

จัดการศึกษาให้ผู้พลาดโอกาสเรียนจาก
ระบบการศึกษาปกติ หรือผูต้องการพัฒนา
้
ตนเอง ได้รับการเรียนรู้ โดยเน้นการเพิ่ม
ศักยภาพของผูเรียน ตามกฎหมายว่าด้วย
้
การศึกษาแห่งชาติตามบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้
ประชาชนทุกคนได้รับโอกาสทางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามสิทธิมนุษยชนที่ทุก
คนพึงได้รับดังกล่าว ส่งผลให้ประชาชนได้
รับการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตได้

30
สรุป
 เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ที่กว้างขวางและ

เป็นไปในอัตราที่รวดเร็ว อันจะส่งผลให้
ประเทศมีศักยภาพและขีดความสามารถใน
การแข่งขันและการพัฒนาโดยรวมเพิ่มสูง
ขึ้น อีกทั้งเป็นการพัฒนาที่ยงยืน เพราะ
ั่
เป็นการพัฒนาที่ยดคนเป็นศูนย์กลางของ
ึ
การพัฒนาโดยมุ่งเน้นให้คนมีคณธรรมนำา
ุ
ความรู้ อันจะเป็นสะพานทอดนำาไปสูสงคม
่ ั
แห่งการเรียนรู้และภูมิปญญาต่อไป
ั
31
การศึก ษาตามอัธ ยาศัย
_

ผศ. ดร. ณรัฐ วัฒนพานิช
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษา
ศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
ความนำา
 การศึกษาตามอัธยาศัย ไม่ใช่ของใหม่ แต่

เป็นการศึกษาที่มีมาตั้งแต่มนุษย์เกิดขึ้นในโลก
มนุษย์เรียนรู้จากธรรมชาติ เช่นในสังคม
เกษตรกรรมมนุษย์เรียนรู้การหนีภัยจาก
ธรรมชาติ และการหาอาหาร การทำาสวนครัว
จากพ่อแม่ หรือสมาชิกในครอบครัว แต่ใน
สังคม อุตสาหกรรม มนุษย์เรียนรู้มากขึ้นจาก
การติดต่อค้าขาย การอ่านการเขียน การฟัง
วิทยุ การดูโทรทัศน์ ในปัจจุบนสังคมมีการ
ั
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ทำาให้มนุษย์ต้องมี

33
ความหมายของการศึก ษาตาม
อัธ ยาศัย
 “การศึก ษาตามอัธ ยาศัย ”

หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ใน
วิถีชวิตประจำาวันของบุคคลซึ่งบุคคล
ี
สามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่างต่อ
เนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความ
ต้องการ โอกาส ความพร้อม และ
ศักยภาพในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล
(พรบ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ
ศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551)

34
ความหมายของการศึก ษาตาม
อัธ ยาศัย
 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

ฉบับ พุทธศักราช 2542 มาตรา 15
ได้นยามไว้วา “การศึก ษาตาม
ิ
่
อัธ ยาศัย ” เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ
ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดย
ศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม
สภาพแวดล้อม สือ หรือแหล่งความรู้
่

35
รูป แบบการจัด การศึก ษาตาม
อัธ ยาศัย

 จัดกิจกรรมในแหล่งการเรียนรู้ประเภท
ต่างๆ เช่นห้องสมุดประชาชน การ
เรียนรู้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์
พิพธภัณฑ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ิ
จากภูมปัญญาชาวบ้าน การจัดกลุม
ิ
่
เสวนา หรือการอภิปราย กิจกรรมทาง
ศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมส่งเสริม
การอ่าน การเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล
36
รูป แบบการจัด การศึก ษาตาม
อัธ ยาศัย

 ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการ

จัดการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่
สนับสนุนสือแก่หน่วยงานและแหล่ง
่
ความรู้ตางๆ
่
 ส่งเสริมให้หน่วยงานเครือข่ายจัดการ
ศึกษาตามอัธยาศัย เช่น ห้องสมุดใน
สถานทีราชการ สถานประกอบการ
่
ฯลฯ

37
หลัก การจัด การศึก ษาตาม
อัธ ยาศัย

 จัดให้สนองกลุมเป้าหมาย ทุกเพศและ
่

วัย ตามความสนใจ และความต้องการ
• จัดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต
• จัดโดยวิธีหลากหลายโดยใช้สื่อต่างๆ
• จัดให้ยืดหยุ่น โดยไม่ยึดรูปแบบใดๆ
• จัดให้ทันต่อเหตุการณ์
• จัดได้ทุกกาลเทศะ
• จัดบรรยากาศ สถานการณ์ และสภาพ
แวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

38
สรุป
 อาจกล่าวได้ว่า การศึกษาตามอัธยาศัย

ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ การเรียนรู้ตลอด
ชีวิต (Lifelong learning) ที่เติมเต็มความ
ต้องการของมนุษย์ที่แสวงหา ต้องการ
เรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ นอกเหนือการ
เรียนในระบบโรงเรียน โอกาสของการ
เรียนรู้ตามอัธยาศัยเกิดขึ้นได้ ในทุกเวลา
ไม่จำากัดสถานที่ และเรียนรู้ได้จากสื่อต่างๆ
(อาทิ รายการวิทยุ-โทรทัศน์กระจายเสียง

39

More Related Content

What's hot

บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
JeeraJaree Srithai
 
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
teerawut123
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้Katekyo Sama
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
T5
T5T5
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
tanongsak
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
sitharukkhiansiri
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
sitharukkhiansiri
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
Tawatchai Bunchuay
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
sitharukkhiansiri
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
 

What's hot (19)

บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
Bp
BpBp
Bp
 
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
T5
T5T5
T5
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 

Similar to บทที่ 1

ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
งาน
งานงาน
งาน
kimegapong
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745
CUPress
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
guest283582b
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
ประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน Isประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน IsPrasong Somarat
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 

Similar to บทที่ 1 (20)

Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
C
CC
C
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
ประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน Isประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน Is
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

บทที่ 1

  • 1. การศึก ษาในระบบ Formal Education) ผศ. ดร. ณรัฐ วัฒนพานิช ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
  • 2. ความนำา Introduction  การศึกษา (Education) ในมาตรา 4 ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542  ความหมายของการศึกษา มีความหมาย ว่า กระบวนการเรียนรู้เพือความเจริญ ่ งอกงามของบุคคล และสังคม การฝึก การถ่ายทอดความรู้ การอบรม การ สืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การ สร้างองค์ความรู้ อันเกิดจากการจัด 2
  • 3. ความนำา Introduction  มาตรา 15 ได้กำาหนดระบบการ ศึกษา ในการจัดการศึกษามีสาม รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบการ ศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย 3
  • 4. การศึกษาในระบบ (Formal Education)  ความหมายการศึก ษาในระบบ  คือการศึกษาที่กำาหนดจุดมุงหมาย ่ วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา ของการศึกษาการวัด และประเมิน ผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำาเร็จ การศึกษา ที่แน่นอน 4
  • 5. วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน ระบบ 1)ถ่ายทอดหรือปลูกฝัง เนื้อหา ความรู้ ความเข้าใจที่เหมาะสม เพือให้ผู้ได้รบการศึกษาวางตัว ่ ั ได้เหมาะสมในสังคม และมี ความสามารถประกอบอาชีพ ตามความถนัด ความสนใจ หรือตามโอกาสของแต่ละ 5
  • 6. วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน ระบบ 2) เตรียมเด็กก่อนวัยเรียน ให้มี ความพร้อมในการเรียนรู้และจัด ให้เด็กในวัยเรียน ได้รับการ ศึกษาเพื่อเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองต่อเนื่องเพื่อให้มี พัฒนาการทั้งทางร่างกาย เชาวน์ปัญญา ความสนใจที่ 6
  • 7. วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน ระบบ 3) เพื่อพัฒนาเด็กในวัยเรียนทุกระดับให้ได้รับการ ศึกษา เพื่อประโยชน์สำาหรับการเตรียมตัวระดับ พื้นฐาน และเพื่อมีความรู้ ความสามารถในการ ประกอบอาชีพการงานต่อไป 7
  • 8. วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน ระบบ 4) ตอบสนองความต้องการทางการ ศึกษาระดับสูงในเชิงคุณภาพ มุ่งส่ง เสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้พัฒนา ความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน เพือ ่ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ ซึ่ง อาจดำาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษา ที่เน้นการวิเคราะห์ วิจัยระดับสูง มุง ่ คิดค้นเนือหาสาระทีแปลกใหม่จากเดิม ้ ่ 8
  • 9. วัต ถุป ระสงค์ข องการศึก ษาใน ระบบ 5) พัฒนาศักยภาพของบุคคลเต็มความ สามารถและตอบสนองวิสยทัศน์ใน ั การพัฒนาประเทศ เน้นพัฒนากลุมเป้า ่ หมายในลักษณะบูรณาการ คือ มี ความสมบูรณ์ครบถ้วนทุกด้าน ทังทาง ้ ร่างกาย สติปญญาคุณธรรม ความคิด ั ความสำานึก ความรับผิดชอบ ฯลฯ ซึ่ง ตามปกติเป็นหน้าทีของสถานศึกษา ่ และอาจจัดเสริมเติมในลักษณะฝึก 9
  • 10. เป้า หมายของการจัด การศึก ษา ในระบบ 1) บุคคลก่อนวัยเรียน (ปฐมวัย) เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะการเตรี ยมความพร้อมเพือส่งเสริมทัง 4 ด้าน ่ ้ คือ 1.1 ด้านร่างกาย ได้แก่ กิจกรรม การเคลือนไหวตามจังหวะ ่ 1.2 อารมณ์ ได้แก่ กิจกรรมกลาง แจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์ 10
  • 11. เป้า หมายของการจัด การศึก ษา ในระบบ 2) บุคคลในวัยเรียน เป็นการจัดการศึกษา ให้กับกลุ่มเป้าหมายดังต่อไปนี้     2.1) การศึกษาขันพืนฐาน ซึ่งได้แก่ ้ ้ การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพืน ้ ฐานนั้น มักใช้เวลาประมาณสิบสองปี เป็น ส่วนใหญ่ ในช่วงปลายของการศึกษา เยาวชนที่สนใจสายอาชีพ แทนที่จะศึกษา สายสามัญ ก็อาจเลือกเข้าเรียนในสถาน ศึกษา สายอาชีพได้ ซึ่งได้แก่ โรงเรียน อาชีวศึกษา ประเภทต่าง ๆ      2.2) การศึกษาระดับอุดมศึกษา เมือ ่ 11
  • 12. องค์ป ระกอบของการจัด การศึก ษา ในระบบ 1. สาระเนื้อหาในการศึกษา การจัดการ ศึกษาในระบบ จะจัดทำาหลักสูตรเป็นตัว กำาหนดเนื้อหาสาระหลักสูตรในหลักสูตร กลางแต่ละระดับ แต่ขณะเดียวกันก็เปิด โอกาสให้สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถจัด เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับท้องถิ่นได้ด้วย โดยมีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย ทันต่อ เหตุการณ์ เหมาะสมกับความต้องการของ ผู้เรียน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ การจัดการศึกษา ทั้งนี้ต้องทบทวนเนื้อหา 12
  • 13. องค์ป ระกอบของการจัด การ ศึก ษาในระบบ 2. ครู ครูผู้สอน หรือผู้ให้การเรียนรู้ หมายถึง ผู้ถายทอด เนื้อหาสาระ ่ ได้แก่ ครู และอาจารย์ ซึ่งถือเป็นผู้ ประกอบอาชีพชั้นสูง บุคคลเหล่านี้ ต้องได้รับการอบรมทั้งในด้าน เนื้อหา และวิธีการถ่ายทอด เพื่อให้ สามารถถ่ายทอดความรู้ และสาระ วิชาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนได้ 13
  • 14. องค์ป ระกอบของการจัด การ ศึก ษาในระบบ 3. สือ และอุปกรณ์สำาหรับการศึกษา ่ เช่น อาคารสถานที่ โต๊ะเก้าอี้ กระดาน เขียน หนังสือ แบบเรียน สมุด ดินสอ ตลอดทังอุปกรณ์ที่ทนสมัยที่มราคา ้ ั ี แพงทังหลาย เช่น อุปกรณ์ในห้อง ้ ปฏิบัตการทางวิทยาศาสตร์ เครื่อง ิ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น สื่อและอุปกรณ์ เหล่านีเป็นส่วนประกอบทีจำาเป็น ้ ่ 14
  • 15. องค์ป ระกอบของการจัด การ ศึก ษาในระบบ 4. รูปแบบวิธีการเรียนการสอน การ ศึกษาในระบบยุคปฏิรูปการศึกษา เน้นความสำาคัญที่ตัวผู้เรียน รูป แบบวิธีการเรียนการสอนใหม่แตก ต่างไปจากเดิม ซึ่งมีกระบวนการ เรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น การระดมความคิด การจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การนำาชมนอก 15
  • 16. องค์ป ระกอบของการจัด การ ศึก ษาในระบบ 5. สถานศึกษาและบรรยากาศ แวดล้อม การจัดการศึกษาในระบบ ยังต้องอาศัยชั้นเรียนยังเป็นสิ่ง จำาเป็น ดังนั้นอาคารสถานที่ ห้องเรียน และบรรยากาศแวดล้อม ที่ใช้ในการจัดการศึกษาเป็นสิ่ง จำาเป็นซึ่งจะต้องจัดบรรยากาศ 16
  • 17. องค์ป ระกอบของการจัด การ ศึก ษาในระบบ 6. ผู้เรียน หรือผู้ศึกษา ถือเป็นองค์ประกอบ สำาคัญที่สุดของการจัดการศึกษา เพราะผู้ เรียนคือผู้รับการศึกษาและเป็นเป้าหมาย หลักของการจัดการศึกษา การปรับเปลี่ยน ความรู้และพฤติกรรมของผูเรียน เป็นดัชนี ้ ชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา การ จัดการศึกษาจึงครอบคลุมขั้นตอนที่เกี่ยว กับการเรียนรู้ของผู้เรียนตั้งแต่การเตรียม การเตรี ความพร้อม สำาหรับการเรียนรู้ การให้การ 17
  • 18. สรุป   การศึกษาในระบบ (Formal Education) เป็นการ ศึกษาทีมรูปแบบและระบบแบบแผนชัดเจน มีการ ่ ี กำาหนดวัตถุประสงค์ หลักสูตรวิธีการจัดการเรียนการ สอน การวัดผล และการประเมินผลทีแน่นอน ซึ่งการ ่ ศึกษาในระบบของไทยประกอบไปด้วยการศึกษาขั้น พื้นฐานและการศึกษาในขั้นอุดมศึกษา โดยการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ถูกแบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆ คือ ระดับก่อน ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอน ต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ยังถูกแบ่งเป็นประเภทสามัญ ศึกษาและประเภทอาชีวศึกษาอีกด้วย สำาหรับในการ ศึกษาขั้นอุดมศึกษานัน แบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆคือ ตำ่า ้ กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต 18
  • 19. เอกสารและแหล่งอ้างอิง  สำานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิมเติม (ฉบับที่ 2) ่ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวา นกราฟฟิค จำากัด. 19
  • 20. การศึก ษานอกระบบ Non-Formal Education) ผศ. ดร. ณรัฐ วัฒนพานิช ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
  • 21. ความนำา Introduction  ในปัจจุบนวิถีการเรียนรู้ของมนุษย์ ั เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  อันเป็นผลสืบเนื่องมา จากความก้าวหน้า ขององค์ความรู้และวิทยาการสมัยใหม่  การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร  และสังคมในโลกยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization)  ตลอดจนพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจที่ 21
  • 22. ความนำา Introduction  ทำาให้เกิดความต้องการการเรียนรู้อย่าง กว้างขวางในแทบทุกกิจกรรมของสังคมวิถี การเรียนรู้ของคน  จึงขยายขอบเขตจากการศึกษาในระบบ ไปสูการเรียนรู้จากการศึกษานอกระบบ ่ และการศึกษาตามอัธยาศัย  ทำาให้เกิดกิจกรรมการศึกษาและแหล่งการ เรียนรู้ที่หลากหลาย การศึกษานอกระบบ จึงมีบทบาทสำาคัญต่อวิถีชีวิตของมนุษย์ 22
  • 23. ความหมายของการศึกษานอกระบบ   การศึกษานอกระบบ หรือ Non-formal Education (NFE)ได้เกิดขึ้นครั้งแรกใน ปี ค.ศ. 1967 ในการประชุมของ UNESCO เรื่องThe World Educational Crisis  ซึ่งได้นิยามการศึกษานอกระบบ หมายถึง การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็น ระบบ แต่นอกกรอบของการจัดการศึกษา ในระบบโรงเรียนปกติ โดยมุ่งบริการให้คน กลุ่มต่าง ๆ ของประชากร ทั้งที่เป็นผู้ใหญ่ 23
  • 24. ความหมายของการศึกษานอกระบบ  การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non- Formal Education) เป็นแนวทาง หนึ่งในการจัดการศึกษาซึ่งเปิดโอกาส ให้กับผู้ที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษาใน ระบบโรงเรียนตามปกติ  ในปัจจุบนการศึกษานอกระบบ คือ ั กระบวนการจัดการพัฒนาสมรรถนะ ของผู้เรียน ทังที่เป็นทัศนคติ ทักษะ ้ และความรู้  ซึ่งทำาได้ยืดหยุ่นกว่าการเรียนในระบบ โรงเรียนทัวไป ่ 24
  • 25. ความหมายของการศึกษานอกระบบ  ได้มโอกาสศึกษาหาความรู้ พัฒนา ี ตนเอง ให้สามารถดำารงตนอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข  เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะอ่อน ตัวให้ผู้เรียนมีความสะดวกเลือกเรียน ได้หลายวิธี  จึงก่อให้เกิดประโยชน์ตอตัวผู้เรียน ่ และสังคมเป็นอย่างยิ่ง 25
  • 26. ความหมายของการศึกษานอกระบบ  การศึกษานอกโรงเรียนมีความหมาย ครอบคลุมถึงมวลประสบการณ์การเรียนรู้ ทุกชนิดที่บคคลได้รับจากการเรียนรู้ ุ  ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ตามธรรมชาติการ เรียนรู้จากสังคม และการเรียนรู้ที่ได้รับ จากโปรแกรมการศึกษาที่จัดขึ้นนอกเหนือ ไปจากการศึกษาในโรงเรียนตามปกติ  เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้ บุคคลที่มิได้อยู่ในระบบโรงเรียนปกติ ได้มี โอกาสแสวงหาความรู้ ทักษะ ทัศนคติ เพือ ่ 26
  • 27. การศึกษานอกระบบยุคใหม่จึงเน้นการเรียน รู้และสมรรถนะ (Learning and Competency)  สมรรถนะที่เกิดจากการศึกษานอกระบบมีตั้งแต่ (จรวยพร  ธรณินทร์, 2550 ) 1. ทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การทำางานเป็นกลุ่ม 3. การแก้ไขความขัดแย้ง 4. การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม 5. การเป็นผู้นำา 6. การแก้ปญหาร่วมกัน ั 7. การสร้างความเชื่อมั่น 8. ความรับผิดชอบและความมีวินัย 27
  • 28. หลัก การของการศึก ษานอก ระบบ 1. เน้นความเสมอภาคในโอกาส ทางการศึกษาการกระจาย โอกาสทางการศึกษาให้ครอบคลุม และ ทัวถึง ่ 2. ส่งเสริมการจัดการศึกษาอย่างต่อ เนื่องตลอดชีวิต มี ความยืดหยุ่นในเรื่องกฎเกณฑ์ ระเบียบ ต่าง ๆ 28
  • 29. หลัก การของการศึก ษานอก ระบบ 3. จัดการศึกษาให้สนองความต้องการ ของกลุมเป้าหมาย ่ ให้เรียนรู้ในสิงที่สมพันธ์กบชีวิต ่ ั ั 4. จัดการศึกษาหลากหลายรูปแบบ คำานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ผู้สอนมิได้จำากัดเฉพาะ ครู อาจจะเป็นผู้รู้ 29
  • 30. สรุป  การศึกษานอกระบบ เป็นกระบวนการ จัดการศึกษาให้ผู้พลาดโอกาสเรียนจาก ระบบการศึกษาปกติ หรือผูต้องการพัฒนา ้ ตนเอง ได้รับการเรียนรู้ โดยเน้นการเพิ่ม ศักยภาพของผูเรียน ตามกฎหมายว่าด้วย ้ การศึกษาแห่งชาติตามบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้ ประชาชนทุกคนได้รับโอกาสทางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามสิทธิมนุษยชนที่ทุก คนพึงได้รับดังกล่าว ส่งผลให้ประชาชนได้ รับการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตได้ 30
  • 31. สรุป  เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ที่กว้างขวางและ เป็นไปในอัตราที่รวดเร็ว อันจะส่งผลให้ ประเทศมีศักยภาพและขีดความสามารถใน การแข่งขันและการพัฒนาโดยรวมเพิ่มสูง ขึ้น อีกทั้งเป็นการพัฒนาที่ยงยืน เพราะ ั่ เป็นการพัฒนาที่ยดคนเป็นศูนย์กลางของ ึ การพัฒนาโดยมุ่งเน้นให้คนมีคณธรรมนำา ุ ความรู้ อันจะเป็นสะพานทอดนำาไปสูสงคม ่ ั แห่งการเรียนรู้และภูมิปญญาต่อไป ั 31
  • 32. การศึก ษาตามอัธ ยาศัย _ ผศ. ดร. ณรัฐ วัฒนพานิช ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
  • 33. ความนำา  การศึกษาตามอัธยาศัย ไม่ใช่ของใหม่ แต่ เป็นการศึกษาที่มีมาตั้งแต่มนุษย์เกิดขึ้นในโลก มนุษย์เรียนรู้จากธรรมชาติ เช่นในสังคม เกษตรกรรมมนุษย์เรียนรู้การหนีภัยจาก ธรรมชาติ และการหาอาหาร การทำาสวนครัว จากพ่อแม่ หรือสมาชิกในครอบครัว แต่ใน สังคม อุตสาหกรรม มนุษย์เรียนรู้มากขึ้นจาก การติดต่อค้าขาย การอ่านการเขียน การฟัง วิทยุ การดูโทรทัศน์ ในปัจจุบนสังคมมีการ ั เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ทำาให้มนุษย์ต้องมี 33
  • 34. ความหมายของการศึก ษาตาม อัธ ยาศัย  “การศึก ษาตามอัธ ยาศัย ” หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ใน วิถีชวิตประจำาวันของบุคคลซึ่งบุคคล ี สามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่างต่อ เนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความ ต้องการ โอกาส ความพร้อม และ ศักยภาพในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล (พรบ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551) 34
  • 35. ความหมายของการศึก ษาตาม อัธ ยาศัย  พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ พุทธศักราช 2542 มาตรา 15 ได้นยามไว้วา “การศึก ษาตาม ิ ่ อัธ ยาศัย ” เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดย ศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สือ หรือแหล่งความรู้ ่ 35
  • 36. รูป แบบการจัด การศึก ษาตาม อัธ ยาศัย  จัดกิจกรรมในแหล่งการเรียนรู้ประเภท ต่างๆ เช่นห้องสมุดประชาชน การ เรียนรู้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ พิพธภัณฑ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ิ จากภูมปัญญาชาวบ้าน การจัดกลุม ิ ่ เสวนา หรือการอภิปราย กิจกรรมทาง ศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมส่งเสริม การอ่าน การเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล 36
  • 37. รูป แบบการจัด การศึก ษาตาม อัธ ยาศัย  ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ สนับสนุนสือแก่หน่วยงานและแหล่ง ่ ความรู้ตางๆ ่  ส่งเสริมให้หน่วยงานเครือข่ายจัดการ ศึกษาตามอัธยาศัย เช่น ห้องสมุดใน สถานทีราชการ สถานประกอบการ ่ ฯลฯ 37
  • 38. หลัก การจัด การศึก ษาตาม อัธ ยาศัย  จัดให้สนองกลุมเป้าหมาย ทุกเพศและ ่ วัย ตามความสนใจ และความต้องการ • จัดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต • จัดโดยวิธีหลากหลายโดยใช้สื่อต่างๆ • จัดให้ยืดหยุ่น โดยไม่ยึดรูปแบบใดๆ • จัดให้ทันต่อเหตุการณ์ • จัดได้ทุกกาลเทศะ • จัดบรรยากาศ สถานการณ์ และสภาพ แวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 38
  • 39. สรุป  อาจกล่าวได้ว่า การศึกษาตามอัธยาศัย ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ การเรียนรู้ตลอด ชีวิต (Lifelong learning) ที่เติมเต็มความ ต้องการของมนุษย์ที่แสวงหา ต้องการ เรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ นอกเหนือการ เรียนในระบบโรงเรียน โอกาสของการ เรียนรู้ตามอัธยาศัยเกิดขึ้นได้ ในทุกเวลา ไม่จำากัดสถานที่ และเรียนรู้ได้จากสื่อต่างๆ (อาทิ รายการวิทยุ-โทรทัศน์กระจายเสียง 39

Editor's Notes

  1. Education philosophy is about the ways teachers think and approach the methods of teaching. In the child-centered era, teaching process that contradict students’ preference might yield negative results
  2. Education philosophy is about the ways teachers think and approach the methods of teaching. In the child-centered era, teaching process that contradict students’ preference might yield negative results