SlideShare a Scribd company logo
หลักการสื่อสาร
มวลชน
3011102 หลักการสื่อสารมวลชน 3(3-0-6)
(Principles of Mass Communication)
คำาอธิบายรายวิชา
ความหมาย ความสำาคัญ องค์ประกอบ และ
วิวัฒนาการของการสื่อสารมวลชน ทฤษฏี
กระบวนการ โครงสร้างและระบบการสื่อสารมวลชน
ลักษณะของการสื่อสารมวลชนประเภทต่างๆ หน่วย
งานที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารมวลชน บทบาท หน้าที่
และอิทธิพลของการสื่อสารมวลชนต่อสังคม การใช้
ตำาราหลัก
 ปรมะ สตะเวทิน . ๒๕๓๙. การสื่อสารมวลชน :
กระบวนการและทฤษฎี . กรุงเทพฯ : ภาพ
พิมพ์
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. ๒๕๔๗. สื่อสารมวลชน
เบื้องต้น : สื่อมวลชน วัฒนธรรม และ
สังคม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
บทที่ 1 การสื่อสารและการ
สื่อสารมวลชน
ความหมาย
• นิเทศศาสตร์ =
Communication Arts
• การสื่อสาร =
Communication
ความหมาย
• นิเทศศาสตร์ Communication Arts
= วิชาที่ว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
• การสื่อสาร Communication
= กระบวนการถ่ายทอดข่าวสารของมนุษย์
• การสื่อสารมวลชน Mass Communication
= การสื่อสารกับคนจำานวนมาก ในเวลาใกล้
เคียงกัน โดยอาศัยสื่อมวลชน
• สื่อมวลชน Mess Media
= ช่องทางการสื่อสาร ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์
หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ฯลฯ
ความหมายการสื่อสารมวลชน
• มอริส จาโนวิทซ์ (Morris Janowitz) “การ
สื่อสารมวลชนประกอบด้วยสถาบันและเทคนิค ซึ่ง
กลุ่มคนที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะใช้เครื่องมือทาง
เทคโนโลยี (หนังสือพิมพ์ วิทยุ ภาพยนตร์ ฯลฯ)
ส่งเนื้อหาที่เป็นสัญญลักษณ์ (symbolic conten
t) ไปสู่ผู้รับสารที่มีขนาดใหญ่ มีความแตกต่างกัน
และอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย
• ชาร์ลส์ อาร์ ไรท์ (Charies R. Wright) “การ
สื่อสารมวลชนคือ การสื่อสารที่มุ่งไปสู่ผู้รับสาร
จำานวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างกัน และไม่เป็นที่
รู้จักของผู้ส่งสาร สารถูกส่งไปยังประชาชนทั่วไป
เพื่อให้ถึงประชาชนผู้รับสารได้รวดเร็วในเวลา
ความหมายการสื่อสารมวลชน
• ไมเคิล เบอร์กูน (Michael Burgoon) “การ
สื่อสารมวลชนเป็นการสื่อสารที่ไม่เป็นส่วนตัว
(impersonal) และโดยอ้อม (indirect) ที่มุ่งไป
สู่คนจำานวนมาก
• จอห์น อาร์ บิทเนอร์ (John R. Bittner) “การ
สื่อสารมวลชนคือ การที่สารถูกสื่อสารผ่าน
”สื่อมวลชนไปยังคนจำานวนมาก
• วอเรน เคอกี (Warren K. Agee) และคณะ
“การสื่อสารมวลชนคือ กระบวนการของการส่ง
ข่าวสาร (information) ความคิด (idea) และ
ความหมายการสื่อสารมวลชน
• ปรมะ สตะเวทิน (2541) “การสื่อสารมวลชน
เป็นกระบวนการของการสื่อสารไปยังคนจำานวน
มากในเวลาเดียวกันหรือในเวลาที่ใกล้เคียงกัน
”โดยอาศัยสื่อมวลชนเป็นสื่อ
• อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ (2547) กรมหมื่นนราธิป
“ ”พงศ์ประพันธ์เสนอว่า การสื่อสาร
(communication) มารวมกับคำาว่า
“ ”มวลชน (mass) หมายถึง คนจำานวนมากๆ
คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของ
“ราชบัณฑิตยสถานได้รับเอาคำาว่า สื่อสาร
ความหมายการสื่อสารมวลชน
กระทรวงศึกษาธิการได้บัญญัติศัพท์คำาว่า
“ ” “สื่อมวลชน ตรงกับคำาว่า mass media” ย่อ
“จาก medium/ media of
communication”
“ ”สื่อมวลชน หมายถึง ช่องทางการสื่อสาร
ประเภทต่างๆ เช่น สื่อหนังสือพิมพ์ นิตยสาร
ภาพยนตร์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์
• พจนานุกรมการสื่อสารมวลชน “การสื่อสาร
มวลชนเป็นแบบหนึ่งของการสื่อสาร สามารถ
กระจายเรื่องราวความรู้ เปิดเผยไปสู่คนส่วนใหญ่
ความหมายการสื่อสารมวลชน
ปรมะ สตะเวทิน (2526)
• การสื่อสารมวลชน (Mass
Communication) “เป็นกระบวนการหรือวิธี
ของการสื่อสาร ที่รวมองค์ประกอบของการสื่อสาร
ทั้งหมด”
• สื่อมวลชน (Mass Media) หมายถึง “สื่อหรือ
ช่องทางที่ใช้ในการสื่อสารมวลชน อันได้แก่ วิทยุ
โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร ฯลฯ ซึ่ง
เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งของการสื่อสาร”
ความสำาคัญการสื่อสาร
มวลชน
ปรมะ สตะเวทิน (2541)
1. ความสำาคัญต่อกระบวนการสังคม
สื่อสารมวลชนดำารงรักษาสังคม เปลี่ยนแปลง
สังคม และเป็นผู้พัฒนาสังคม
เสนอข่าวสาร และความคิดเห็นที่ส่งเสริมสนับสนุน
ระบบสถาบันและกลไกต่างๆ ของสังคมให้ปฏิบัติ
หน้าที่ด้วยดี สนับสนุนสิ่งที่ดี ขุดคุ้ยความไม่ดีใน
สังคม เสนอแนะแนวทางแก้ไขที่เป็นประโยชน์
ปัญหาสื่อมวลชนเสนอได้รับความสนใจและการ
ความสำาคัญต่อกระบวนการสังคม
ความสำาคัญการสื่อสาร
มวลชน
2. ความสำาคัญต่อข่าวสาร
เราใช้ข่าวสารในการสนทนา เป็นข้อมูล
วางแผน ประกอบการตัดสินใจ เทคโนโลยีใหม่
ทำาให้การสื่อสารมวลชนกลายเป็นการสื่อสาร
โลก (global communication) ทำาให้สังคม
และโลกแคบลง เช่น
- บริการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมสามารถเผยแพร่
ข่าวสารไปทั่วโลก อย่าง CNN (Cable News
Network) MTV (The music channel)
- หนังสือพิมพ์ที่พิมพ์และจำาหน่ายทั่วประเทศ ทั่ว
ความสำาคัญต่อข่าวสาร
ความสำาคัญการสื่อสาร
มวลชน
3. ความสำาคัญต่อวัฒนธรรม
เป็นเครื่องมือถ่ายทอดเผยแพร่และรักษา
วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของภูมิภาค
ต่างๆ ในประเทศ และของประเทศต่างๆ
ทำาให้คนเข้าใจในวัฒนธรรมของกันและกัน ลด
ความขัดแย้ง
ก่อให้เกิดการยอมรับวัฒนธรรมที่ดีงาม
การสื่อสารมวลชนช่วยรักษา ส่งเสริมวัฒนธรรม
ที่ดีงามของตนและนำาวัฒนธรรมใหม่ที่ดีงามเข้า
มาสู่สังคม หรือทำาลายวัฒนธรรมเดิมที่ดีงามและ
นำาวัฒนธรรมใหม่ที่เป็นอันตรายมาสู่สังคม การ
ความสำาคัญต่อวัฒนธรรม
ความสำาคัญการสื่อสาร
มวลชน
4. ความสำาคัญต่อความเป็นสากล
สื่อสารมวลชนทำาให้รับรู้ข่าวสารได้ทั่วโลก
- สารกลายเป็นสารสากล ได้แก่ สารคดี ความ
คิดเห็น ความบันเทิง กีฬา
- สื่อมวลชนกลายเป็นสื่อสากลที่สามารถนำาสาร
ไปได้ทั่วโลก โดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร
สมัยใหม่
- ผู้รับสารเป็นผู้รับสารทั้งโลก หรือมวลชนโลก
(global mass)
ความสำาคัญต่อความเป็นสากล
ความสำาคัญการสื่อสาร
มวลชน
5. ความสำาคัญต่อธุรกิจและอุตสาหกรรม
การโฆษณา (Advertising) เผยแพร่ข่าวสาร
เกี่ยวกับสินค้า
การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) เผย
แพร่และสร้างภาพ (image) ที่ดีของสินค้า และ
บริษัทผู้ผลิต
เพื่อชักจูงใจให้ประชาชนบริโภคสินค้าของตน
การสื่อสารมวลชนทำาให้ผู้มีชื่อเสียงมีค่าทางการ
ค้า ได้แก่ ดารา นักกีฬา นักการเมือง นักธุรกิจ
ความสำาคัญต่อธุรกิจและอุตสาหกรรม
ความสำาคัญการสื่อสาร
มวลชน
6. ความสำาคัญต่อการเมืองระหว่างประเทศ
สื่อมวลชนเป็นเครื่องมือในการ
โฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) ใน
สงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 สงครามเวียดนาม
สงครามอ่าวเปอร์เชีย สื่อสารมวลชนช่วย
ปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างตะวันออก ตะวัน
ตกสื่อมวลชนเป็นตัวกระตุ้นนโยบายการเปิด
ประเทศ (openness) การเปลี่ยนแปลงสหภาพ
โซเวียต
• สหรัฐอเมริกา สถานีวิทยุเสียงอเมริกา (VOA :
ความสำาคัญต่อการเมืองระหว่างประเทศ
บทความพิเศษ มติชนสุดสัปดาห์ 19 พ.ค. 49
"หมากเตะ" ลาวตะลึง-ตึ่ง ตึง แกรมมี่" มุขแป้ก
"เก้ง"ไปไม่ถึง"บอลโลก"
หนังฟอร์มแรงที่บริษัท จีทีเอช ธุรกิจผลิตภาพยนตร์
ในค่ายจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ผลิตออกมาต้อนรับฟุตบอล
โลกต้องล้มไม่เป็นท่า
...ประเด็นที่น่าคิดคือ ตัวเลขความสูญเสีย 60 ล้าน
บาทเป็นสัดส่วนที่น้อยนิดเมื่อเทียบกับมูลค่าการค้า
ระหว่างไทย-สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
ลาว ในแต่ละปีที่ตัวเลขล่าสุดในปี 2548 เพิ่มขึ้นมา
อยู่ที่ 40,107.0 ล้านบาท
พันธกิจของสื่อสารมวลชน
• อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ (2541) ได้เสนอความ
สำาคัญของระบบสื่อสารมวลชน จำาแนกได้ตาม
พันธกิจของสื่อที่มีต่อสังคมดังนี้
1. พันธกิจทางเศรษฐกิจในสังคมทุนนิยม
อุตสาหกรรม
ธุรกิจสื่อสารมวลชนในไทยมีขนาดใหญ่ มีการ
จ้างงาน มีการผลิตสินค้าและบริการด้านสื่อ
หลายประเภท รวมทั้งยังทำางานประสานกับธุรกิจ
อื่นๆ เช่น ธุรกิจบันเทิง ธุรกิจโฆษณา ธุรกิจ
ข่าวสาร สื่อสารมวลชนเป็นสถาบันสังคมหนึ่งที่มี
พันธกิจของสื่อสารมวลชน
2. พันธกิจทางการเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตย
สื่อสารมวลชนเป็นเครื่องมือควบคุมสังคม การ
บริหารจัดการ หรือการสร้างสรรค์สังคม เป็น
แหล่งอำานาจทางการเมือง เป็นเครื่องทดแทน
อาวุธความรุนแรง มีความสำาคัญต่อการพัฒนา
ประชาธิปไตย
3. เป็นเวทีความคิดเห็นสาธารณะ
สื่อมวลชนเป็นเวทีสาธารณะแสดงความคิดเห็นที่
หลากหลาย เป็นเวทีที่ก่อให้เกิดการตัดสินใจ
พันธกิจของสื่อสารมวลชน
4. เป็นสื่อกลางของงานศิลปวัฒนธรรม
เป็นสื่อกลางทางศิลปวัฒนธรรม เป็นแหล่งพัฒนา
และสร้างสรรค์ศิลปะและระบบสัญลักษณ์ใหม่ๆ
ทางวัฒนธรรม สื่อมวลชนเป็นผู้นำาแฟชั่น ค่า
นิยม วิถีชีวิตและรสนิยมทางศิลปวัฒนธรรม
5. เป็นผู้กำาเนิดค่านิยม สร้างภาพความ
เป็นจริงทางสังคม
สื่อมวลชนเป็นผู้กำาหนดความหมาย และให้
คุณค่าแก่เรื่องราว หรือความเป็นจริงทางสังคม
เป็นแหล่งอ้างอิงของค่านิยมและบรรทัดฐานทาง
บทบาทสื่อสารมวลชน ปรมะ
สตะเวทิน
1. บทบาทของผู้แจ้งข่าว (Messenger)
2. บทบาทของสุนัขเฝ้าบ้าน (Watchdog)
3. บทบาทของตัวกลาง (Intermediary)
3.1 การเป็นตัวกลางระหว่างแหล่งข่าว
กับมวลชนผู้รับข่าว
3.2 การเป็นตัวกลางระหว่างแหล่งข่าว
กับแหล่งข่าว
4. บทบาทของตัวเชื่อม (Relay)
5. บทบาทของผู้เฝ้าประตู (Gatekeeper)
หน้าที่ของสื่อสารมวลชน
1. แนวคิดของลาสเวลล์และไรท์
2. แนวคิดของคณะกรรมาธิการระหว่าง
ประเทศเพื่อศึกษาปัญหาการสื่อสาร,
องค์การยูเนสโก
3. แนวคิดของเดนิส แมคเควล
หน้าที่ของสื่อสารมวลชน
1. แนวคิดของลาสเวลล์และไรท์
แฮโรลด์ ดี ลาสเวลล์ (Harold
D.Lasswell)
1.สอดส่องระวังระไวเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
(Surveillance)
2.ประสานส่วนต่างๆ ในสังคม
(Correlation)
3.ถ่ายทอดมรดกทางสังคม
(Transmission)
หน้าที่ของสื่อสารมวลชน
จากแนวคิดของลาสเวลล์และไรท์
สรุปได้ว่า
• หน้าที่ในการให้ข่าวสาร
• หน้าที่ในการแสดงความคิดเห็นหรือ
การชักจูงใจ
• หน้าที่ในการให้การศึกษา
• หน้าที่ในการให้ความบันเทิง
หน้าที่ของสื่อสารมวลชน
2.แนวคิดของคณะกรรมาธิการฯ ศึกษา
ปัญหาการสื่อสาร, ยูเนสโก
2.1 หน้าที่ต่อบุคคล
2.1.1 ข่าวสาร (Information)
2.1.2 สังคมประกิต (Socialization)
2.1.3 การจูงใจ (Motivation)
2.1.4 การโต้แย้งและแสดงความคิดเห็น
(Debate and discussion)
2.1.5 การศึกษา (Education)
2.1.6 การส่งเสริมวัฒนธรรม (Cultural
promotion)
2.1.7 บันเทิง (Entertainment)
2.2 หน้าที่ต่อสังคม
2.2.1 เป็นความจำาเป็นต่อสังคม (A Social
Need)
2.2.2 เป็นเครื่องมือทางการเมือง (A
Political Instrument) ใน
2.2.3 เป็นพลังทางเศรษฐกิจ (An Economic
Force)
2.2.4 ศักยภาพทางการศึกษา (An
Educational Potential)
- ข่าวสารและสื่อมวลชนมีอิทธิพลต่อ
การพัฒนาสติปัญญา
- สร้างบุคลิกภาพใหม่
- สร้างมาตรฐานทางปัญญา
- ทำาหน้าที่เป็นโรงเรียน
- ทำาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้
- เป็นแรงกระตุ้นวัฒนธรรม
หน้าที่ของสื่อสารมวลชน
3. แนวคิดของเดนิส แมคเควล
3.1 หน้าที่ของสื่อมวลชนตามความคิดของ
สังคม 5 ประการ
3.1.1 หน้าที่ในการให้ข่าวสาร
(Information)
ก. การให้ข่าวสารเกี่ยวกับเหตุการณ์และ
สถานการณ์ในสังคมและในโลก
ข. แสดงถึงความสัมพันธ์ของอำานาจต่างๆ
ในสังคม
ค. ช่วยทำาให้นวกรรม การปรับตัวและความ
ก้าวหน้าเป็นไปได้โดยสะดวก
3.1.2 หน้าที่ในการประสาน
(Correlation)
ก. อธิบาย ตีความ และวิพากษ์วิจารณ์
เหตุการณ์และข่าวสารที่เกิดขึ้น
ข. ให้การสนับสนุนผู้ที่อยู่ในอำานาจที่ถูก
ต้องและบรรทัดฐานที่เป็นที่ยอมรับกันของสังคม
ค. ทำาให้เกิดสังคมประกิต คือการเผยแพร่
ความรู้ความคิดให้แพร่หลายในสังคม
ง. ประสานกิจกรรมต่างๆ ของสังคม
จ. สร้างความสอดคล้องกันในสังคม
ฉ. จัดลำาดับความสำาคัญของสถานภาพใน
3.1.3 หน้าที่ในการสร้างความต่อเนื่อง
(Continuity)
ก. การแสดงให้เป็นถึงวัฒนธรรมหลักและ
วัฒนธรรมย่อย และการพัฒนาวัฒนธรรมใหม่ๆ
ข. ดำารงและรักษาไว้ซึ่งค่านิยมร่วมของสังคม
3.1.4 หน้าที่ด้านความบันเทิง
(Entertainment)
ก. ให้ความขบขัน ความเพลิดเพลิน และวิธีการ
พักผ่อนหย่อนใจ
ข. ลดความเครียดของสังคม
3.2 หน้าที่ของสื่อมวลชนตามความคิดของผู้
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเผยแพร่
3.2.1 หน้าที่ในการให้ข่าวสาร
(Information)
ก.เผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย
และกิจกรรมขององค์กร
ข.ให้ข่าวสารเกี่ยวกับเหตุการณ์และ
สถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง
ค.จัดลำาดับก่อนหลังตามผลประโยชน์
ของผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเผยแพร่
ง. ให้ข่าวสารและดึงดูดความสนใจและ
ประชาชนในกิจการการโฆษณา
จ.ให้การศึกษาโดยตรง และการรณรงค์
3.2.2 หน้าที่ในการตีความ
(Interpretation)
ก. ตีความข่าวสารและเหตุการณ์ตาม
วัตถุประสงค์ของนักเผยแพร่
ข. สร้างความคิดเห็น ทำาการ
ประชาสัมพันธ์ และสร้างภาพพจน์สนับสนุน
องค์การ
ค. วิพากษ์วิจารณ์คู่แข่งขององค์การของ
นักเผยแพร่
3.2.3 หน้าที่ในการแสดงออก (Expression)
3.2.4 หน้าที่ในการระดมความร่วมมือ
(Mobilization)
ก. กระตุ้นความสนใจ ความเกี่ยวข้อง และ
ความสนับสนุนของประชาชนต่อองค์การ
ข. จัดและแนะนำากิจกรรมแก่สมาชิกของ
องค์การหรือผู้ตาม
ค. พยายามจูงใจและเปลี่ยนพฤติกรรม
ของคน การโฆษณาชวนเชื่อ
ง.การหาทุน
จ. มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคโดยการ
3.3 หน้าที่ของสื่อมวลชนตามความคิด
ของสื่อมวลชน
3.3.1 หน้าที่ในการให้ข่าวสาร (Information)
ก. รวบรวมข่าวสารที่เป็นประโยชน์และ
เกี่ยวข้องกับมวลชนผู้รับสาร
ข. เลือก จัดทำา และเผยแพร่ข่าวสารเหล่า
นี้
ค. ให้การศึกษาแก่ประชาชนทั่วไป
3.3.2 หน้าที่ในการตีความ
(Interpretation)
ก. แสดงความคิดเห็น
ข. ให้ข่าวสารเบื้องหลังและวิพากษ์
วิจารณ์เหตุการณ์
ค. เป็นผู้วิจารณ์หรือผู้ตรวจสอบผู้ที่อยู่ใน
อำานาจ
ง. แสดงหรือสะท้อนประชามติ
จ. เป็นเวทีแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างกัน
3.3.3 หน้าที่ในการแสดงออกและความต่อ
เนื่องทางสังคม
ก. แสดง สะท้อนวัฒนธรรมและค่านิยม ใน
ระดับชาติ ภูมิภาค
ข. สนับสนุนวัฒนธรรมและค่านิยมของ
กลุ่มย่อยภายในสังคม
3.3.4 หน้าที่ในด้านความบันเทิง
(Entertainment)
3.3.5 หน้าที่ในการระดมความร่วมมือ
3.4 หน้าที่ของสื่อมวลชนตามความคิดของ
มวลชนผู้รับสาร
3.4.1 หน้าที่ในการให้ข่าวสาร
(Information)
ก.ค้นหาเหตุการณ์ต่างๆ และสถานการณ์ต่างๆ
ในสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว สังคม และโลก
ข.ให้คำาแนะนำาในการปฏิบัติในการแสดงความ
คิดเห็น และการตัดสินใจ
ค.สนองตอบความอยากรู้อยากเห็นและความ
สนใจทั่วไป
3.4.2 หน้าที่ในการสร้างเอกลักษณ์ของ
บุคคล (Personal identity)
ก. สนับสนุนค่านิยมส่วนตัวของบุคคล
ข. ให้รูปแบบต่างๆ ของการแสดงพฤติกรรม
ค. ให้แบบอย่างของบุคคลที่มีคุณค่า
ง. ทำาให้บุคคลเข้าใจตนเองมากขึ้น
3.4.3 หน้าที่ในการสร้างความเป็นอันหนึ่ง
อันเดียวกันและการมีกิริยาสัมพันธ์ทาง
สังคม
ก. ทำาให้สามารถเข้าใจสถานการณ์และความ
รู้สึกของคนอื่น ก่อให้เกิดความเข้าอกเข้าใจ
ทางสังคม
ข. สนับสนุนให้เข้ากับคนอื่นได้และมีสำานึกของ
การเป็นสมาชิกของกลุ่ม
ค. เป็นพื้นฐานสำาหรับการสนทนาและมีกิริยา
สัมพันธ์ทางสังคม
ง. เป็นเพื่อนแทนเพื่อนในชีวิตจริง
จ. ช่วยให้บรรลุบทบาททางสังคม
3.4.4 หน้าที่ด้านความบันเทิง
(Entertainment)
ก. ทำาให้หลีกหนีปลีกตัวออกจากปัญหา
ต่างๆ
ข. ทำาให้ได้รับการพักผ่อนหย่อนใจ
ค. ทำาให้ได้รับความสุขกับวัฒนธรรม
และความสุนทรีย์
ง.ช่วยในการฆ่าเวลา
จ. ทำาให้ผ่อนคลายอารมณ์
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
องค์กรสื่อมวลชน
นักสื่อสารมวลชน
ข่าวสาร
สื่อหรือเครื่องมือ
ผู้รับข่าวสาร
สถาบันควบคุมทางสังคม
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารมวลชน
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
1. องค์กรสื่อสารมวลชน
คือหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร
(Source) ไปสู่มวลชน มีลักษณะเป็นองค์กรที่
ซับซ้อน มีการจัดโครงสร้างที่เป็นระเบียบ
แบบแผนอย่างดี มีการลงทุนสูงในการผลิต
ข่าวสาร มีรายได้จากสปอนเซอร์ ได้แก่
1.1 องค์กรวิทยุกระจายเสียง องค์กรขนาด
ใหญ่ที่มีเครือข่ายการส่งกระจายเสียงไปทั่ว
โลก เช่น สถานีวิทยุ BBC (British
Broadcasting Coporation ) สถานีวิทยุ
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
1.3 องค์กรโทรทัศน์ ไทยมีสถานีโทรทัศน์ที่รับ
ชมฟรี (Free TV) 6 สถานี ได้แก่ ช่อง 3 ช่อง 5
ช่อง 7 ช่อง 9 ช่อง 11 ITV (ช่อง 26) และมี
สถานีเครือข่ายของกรมประชาสัมพันธ์ กระจาย
ทั่วทุกภูมิภาค
โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมหรือเคเบิลทีวี รับชมโดย
ต้องจ่ายเงิน เช่น UBC
องค์กรสื่อมวลชนมีสถานที่ทำาการ นักสื่อสาร
มวลชน เครื่องมือการผลิต และส่งข่าวสาร ทำา
หน้าที่แสวงหาข่าวสาร รวบรวม คัดเลือก ผลิต
และส่งกระจาย ข่าวสาร องค์กรสื่อสารมวลชน จึง
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
แหล่งข่าวที่สำาคัญ เช่น สำานักข่าวไทย (Thai
News Agency -T.N.A )
AP (Assoociated Press ) ของอเมริกา
AFP (Agence France Press) ของฝรั่งเศส
Reuters ของประเทศอังกฤษ
TASS (Telegrafnoie Agenstvo Sovetskavo
Soiuza ของรัสเซีย
UPI ( United Press International ) ของอเมริกา
CNN (Cable News Network) Visnews (Vision
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
2. นักสื่อสารมวลชน
คือบุคลากรภายในองค์กรที่ปฏิบัติงาน
เกี่ยวข้องโดยตรงกับข่าวสารต่างๆ เช่น ผู้สื่อ
ข่าว นักเขียน บรรณาธิการ ผู้แปล โฆษณา
นักจัดรายการ พิธีกร ฯลฯ รวมเรียกว่า เป็นก
ลุ่มของผู้ส่งสาร ซึ่งเป็นกลุ่มของผู้ที่มีความ
ชำานาญเฉพาะด้าน ร่วมกันส่งข่าวสาร ใน
ฐานะที่เป็นสมาชิกขององค์กรสื่อมวลชน
มีคุณสมบัติ ทักษะในการสื่อสาร เจตคติที่ดี
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
นักสื่อสารมวลชนมีคุณสมบัติ
1. ทักษะในการสื่อสาร (การฟัง การพูด
การอ่าน การเขียน และการคิดหรือการใช้
เหตุผล)
2. เจตคติที่ดีใน 3 ด้าน (ต่อตนเอง ต่อ
ข่าวสาร ต่อผู้รับข่าวสาร)
3. ระดับความรู้เพียงพอ
4. ความเข้าใจในบุคคล ระบบสังคม และ
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
3. ข่าวสาร
หมายถึง เรื่องราว เนื้อหา สาระ หรือสาร
(Message) ที่ถูกถ่ายทอดผ่านทาง
สื่อมวลชน (Mass Media) สารนี้ มีลักษณะ
เป็นสาธารณะ (Public) เป็นประโยชน์ต่อ
ผู้รับสารในวงกว้าง สารเป็นที่เข้าใจและจะ
ต้องได้รับการออกแบบให้มีคุณภาพดี ถูกต้อง
ชัดเจน ปกติเป็นการสื่อสารแบบทางเดียว
ผู้รับไม่มีโอกาสตอบโต้ หรือซักถาม ความผิด
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
ประเภทของข่าวสาร จำาแนกตามบทบาท
หน้าที่สื่อสารมวลชนได้ดังนี้
3.1 รายงานเหตุการณ์ หรือ ข่าว
3.2 บทวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น เช่น
บทความ บทบรรณาธิการ
3.3 สาระความรู้ทั่วไป และความรู้ทางวิชาการ
เฉพาะสาขา เช่น บทความวิชาการ
3.4 สังคมและบันเทิง เช่น การ์ตูน สารคดี ละคร
ภาพยนตร์ เกมโชว์ เพลง
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
4. สื่อ
หมายถึง หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร
หนังสือ ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ ซึ่งมี
คุณสมบัติทางกายภาพที่สำาคัญ คือ
4.1 ความสามารถในการเก็บบันทึกเหตุการณ์
ความรู้ ความคิด ไว้ในรูปแบบที่สัมผัสได้ เช่น
รูปภาพ เสียง การเคลื่อนไหว สัญลักษณ์
4.2 ดัดแปลงปรุงแต่งให้ผู้รับเข้าใจได้ง่ายขึ้น
หรือน่าสนใจ เช่น การตัดต่อภาพ เสียง
ประกอบ
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
5. ผู้รับสาร
มวลชนหรือกลุ่มคนจำานวนมาก หลากหลาย
ไม่รู้จักกัน
จำาแนกตามลักษณะทางประชากรศาสตร์
และความสนใจได้ดังนี้
5.1 จำาแนกตามลักษณะทางประชากรศาสตร์
5.1.1 อายุ
5.1.2 เพศ
5.1.3 การศึกษา
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
5.2 จำาแนกตามกลุ่มเป้าหมาย จำาแนกเป็น 2
ประเภท คือ
5.2.1 ผู้รับทั่วไป (General Audience) เป็น
ผู้รับที่แต่ละคนมีลักษณะแตกต่างกันมาก ทั้ง
ทางประชากรศาสตร์ ความสนใจ ความเชื่อ ค่า
นิยม ฯลฯ คาดคะเนจำานวนไม่ได้ การเลือกรับ
ข่าวสารไม่แน่นอน
พฤติกรรมการรับสารของผู้รับสาร แบ่งเป็น
4 ประเภท
- บริโภคสื่อมวลชนทั้งหมด ทุกสื่อ
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
5.2.2 ผู้รับที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย (Target
Audience) เป็นกลุ่มผู้รับที่มีจำานวนหลายกลุ่ม
แต่ละกลุ่มมีลักษณะบางอย่าง หรือหลายอย่างที่
เหมือนกัน เช่น เหมือนกันโดยลักษณะทาง
ประชากรศาสตร์ หรือมีความสนใจในข่าวสาร
ร่วมกัน การที่มีความสนใจเหมือนกัน แม้จะอยู่
อย่างกระจัดกระจายไม่รู้จักกัน
แต่บุคคลเหล่านี้ก็เป็นสมาชิกของกลุ่มผู้รับ
ข่าวสารประเภทเดียวกัน เช่น กลุ่มผู้สนใจข่าว
การเมือง กลุ่มผู้อ่านหนังสือพิมพ์มติชน เป็นต้น
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
6. ผลจากสื่อมวลชน
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังการ
ได้รับข่าวสารจากสื่อมวลชน ทั้งผลต่อบุคคล
และสังคม ผลระยะสั้นและระยะยาว ผลทาง
ตรงและผลทางอ้อม ซึ่งผลดังกล่าวอาจเกิด
ขึ้นโดยเจตนา หรือไม่เจตนาของสื่อมวลชนผู้
ส่งข่าวสารก็ได้
ผลกระทบต่อบุคคล ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง
ระดับความรู้ ความเชื่อ เจตคติ และการ
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
1. ผลระยะสั้น เป็นการเปลี่ยนแปลงความ
รู้สึก และอารมณ์ เป็นผลที่เกิดขึ้นขณะที่ได้
รับ หรือภายหลังที่ได้รับข่าวสารไประยะหนึ่ง
เช่น เกิดความพอใจ ไม่พอใจ เกิดความเชื่อ
ยอมรับความคิด เป็นต้น
2. ผลระยะยาว เป็นการเปลี่ยนแปลงความคิด
ค่านิยม มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ซึ่งเป็นสิ่งที่ส่งผลสังคม การศึกษา และการ
พัฒนาสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้รับ
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
7. สถาบันควบคุมทางสังคม
7.1 รัฐบาล ซึ่งมีภาระหน้าที่ในการจัด
ระเบียบของสังคมต้องควบคุมดูแลสื่อมวลชน
โดยการออกระเบียบกฎหมายควบคุมเกี่ยวกับ
คุณสมบัติ เงื่อนไขวิธีการดำาเนินกิจการ ของ
สื่อมวลชนแต่ละประเภท
7.2 ประชาชน สื่อมวลชนที่ประชาชน
ให้การยอมรับ หรือติดตาม ทำาให้อยู่ได้
ประชาชนเป็นพลังเงียบที่มีอำานาจต่อรองสูง

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูราทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
6Phepho
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
Drsek Sai
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)
เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)
เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)
Thanuphong Ngoapm
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓Mameaw Mameaw
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
น้ำพริก๔ภาค
น้ำพริก๔ภาคน้ำพริก๔ภาค
น้ำพริก๔ภาค
warangnan
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้ขนิษฐา ทวีศรี
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
areemarketing
 

What's hot (20)

ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูราทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้แบนดูรา
 
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)
เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)
เลขยกกำลัง_9วิชาสามัญ(55-58)
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
น้ำพริก๔ภาค
น้ำพริก๔ภาคน้ำพริก๔ภาค
น้ำพริก๔ภาค
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
 

Viewers also liked

การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารwasamon2531
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
Communication - Process & Definition Power Point Presentation
Communication - Process & Definition Power Point PresentationCommunication - Process & Definition Power Point Presentation
Communication - Process & Definition Power Point Presentation
Satyaki Chowdhury
 
Communication ppt
Communication pptCommunication ppt
Communication pptTirtha Mal
 

Viewers also liked (6)

Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
Communication - Process & Definition Power Point Presentation
Communication - Process & Definition Power Point PresentationCommunication - Process & Definition Power Point Presentation
Communication - Process & Definition Power Point Presentation
 
Communication ppt
Communication pptCommunication ppt
Communication ppt
 

Similar to การสื่อสาร

Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
การสื่อสารมวลชนฯ
การสื่อสารมวลชนฯ การสื่อสารมวลชนฯ
การสื่อสารมวลชนฯ
Saiiew Sarana
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสานลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
FURD_RSU
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
CUPress
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
Teeranan
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
Jack Like
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
FURD_RSU
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
Chainarong Maharak
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
Rattanaporn Sarapee
 
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]Weerapat Apaikawee
 
IR_Submission Edition 280211
IR_Submission Edition 280211IR_Submission Edition 280211
IR_Submission Edition 280211
sikares
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & Offline
PalmFailasan
 

Similar to การสื่อสาร (20)

Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
การสื่อสารมวลชนฯ
การสื่อสารมวลชนฯ การสื่อสารมวลชนฯ
การสื่อสารมวลชนฯ
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสานลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
 
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
 
IR_Submission Edition 280211
IR_Submission Edition 280211IR_Submission Edition 280211
IR_Submission Edition 280211
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & Offline
 

การสื่อสาร