SlideShare a Scribd company logo
โปรแกรมย่อยและฟังก์มาตรฐาน
โปรแกรมย่อย

       วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย
1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ากันในหลาย ๆ แห่ง และจะแยกออกมาท้าเป็น
โปรแกรมย่อย
2. เป็นค้าที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป
3. เมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของการเขียน
โปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อตรวจหาที่ผิดได้ง่าย ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง
ๆ ก็คือ Module ๆ หนึ่ง
4. เพื่อสนองความต้องการของการเขียนโปรแกรมจากบนลงล่าง
การสร้างและใช้งานโปรแกรมย่อย
ประเภทของโปรแกรมย่อย
ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่
เฉพาะตัวโดยแยกการท้างานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระ
การเขียนโปรแกรมที่มีการท้างานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อนของ
โปรแกรม ซึ่งจะท้าให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม การท้างานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปท้างานในโปรแกรมย่อยด้วย โดยข้อมูล
นั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ (Parameter)
Visual Basic 2008 สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ
Sub มาจากค้าเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อท้างานแล้ว
จะไม่มีการส่งผลการท้างานกลับไปยังโปรแกรม ที่เรียกซับรูทีนนีใช้งาน
                                                           ้
Function เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อท้างานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผลการท้างาน
กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ใช้งาน
ในที่นี้ผเู้ รียกใช้ Sub หรือ Function จะเป็นตัวโปรแกรมหลัก หรือโปรแกรม
ย่อยอื่นๆก็ได้
โปรแกรมย่อยไม่ว่าจะเป็น Sub หรือ Function นั้น จะมีหรือไม่มีการส่ง
ข้อมูล ผ่านตัวพารามิเตอร์ก็ไ ด้ขึ้น อยู่กับว่าโปรแกรมย่อยนั้นระบุ ให้มีการก้ าหนด
ต้าแหน่งให้ค่าพารามิเตอร์หรือไม่
โปรแกรมย่อยชนิด Sub
       Sub เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อการท้างานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่ไม่มี
การรับพารามิเตอร์หรืออาจจะมีการรับพารามิเตอร์มาท้างานก็ได้ แต่ไม่มีการส่งผลการ
ท้างานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกซับรูทีนนี้ใช้งาน มีรูปแบบการเขียน Sub ดังนี้
ตัวอย่างการใช้งาน Subroutine : ตัวอย่างนี้จะสร้างแอพพลิเคชันแบบระบบ
ลงทะเบียนซึ่งจะมีการใช้งาน Subroutine ที่เราเขียนขึ้นมา
1. ออกแบบหน้าตาแอพพลิเคชัน และตั้งชื่อคอนโทรลต่างๆ ดังนี้
2. ดับเบิลคลิกที่ฟอร์มเพื่อเขียนโค้ดใน Even Load โดยจะเริ่มแนะน้าให้
ผู้ใช้งานทราบวิธีการท้างานโดยจะเรียก Sub ที่ชื่อว่า InformUser
3. ให้หน้าต่างโค้ดของ Sub InformUser โดยเขียนต่อท้ายไปได้เลย
4. ดั บเบิล คลิ กที่ ปุ่ม ลงทะเบี ยน แล้วเขี ยนโค้ ดเพื่ อตรวจสอบความครวถ้ วน
ถูกต้องของข้อมูลที่ป้อนเข้าไป ถ้าเรียบร้อยถือว่าลงทะเบียนได้ แต่ถ้าไม่เรียนร้อยแจ้ง
ให่ผู้ใช้ทราบ
5 . ส้าหรับ Sub CheckPassword นั้นมีหลักการตรวจสอบความถูกต้อง
อยู่ 3 ข้อ ดังรายละเอียดที่แสดดงในโค้ดต่อไปนี้
6 . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่าข้อมูลใน TexBox ต่างๆ
ดังนี้
7 . กดปุ่ม F5 เพื่อทดสอบการท้างานของแอพพลิเคชัน ได้ผลดังนี้
โปรแกรมย่อยชนิด Function
      Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นมาเพื่อการท้างานอย่างใดอย่างหนึ่ง
โดยที่ไ ม่มีการรับ พารามิ เตอร์ห รือ อาจจะมีการรั บพารามิเ ตอร์มาท้างานก็ไ ด้ เมื่ อ
ท้างานเสร็จแล้วจะมีการส่งผลการท้างานกลับมายังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนั้นใช้
งาน มีรูปในการเขียนฟังก์ชัน ดังนี้
ตัวอย่างการใช้งาน Function : ตัวอย่างนี้จะสร้างแอพพลิเคชันที่ค้านวณ
ผลตอบแทนจากการฝากเงินซึ่งผู้ใช้จะต้องกรอกเงินต้น อัตราดอกเบี้ย และจ้านวนปีที่
ฝาก
1. ออกแบบหน้าตาแอพพลิเคชัน และตั้งชื่อคอนโทรลต่างๆ ดังนี้
2. ดั บเบิล คลิกที่ ปุ่ม ค้านวณ เพื่อค้านวณผลตอบแทนซึ่ งจะมีการเรีกฟังก์ชัน
CheckInput เพื่อตรวจสอบว่าข้อมูลที่กรอกเข้ามาเหมาะสมหรือไม่ ถ้าเหมาะสม
จ้าน้ามาค้านวณโดยเรียกใช้ ClacSaving
3. ส้าหรับฟังก์ชัน CheckInput จ้าท้าหน้าที่ตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ผู้ใช้งาน
กรอกมาเหมาะสมหรือไม่โดยต้องเป็นตัวเลขที่มากกว่า 0 ทุกตัว และถ้าเป็น ดอกเบี้ย
ให้มีค่าระหว่าง 0 ถึง 100 โดยฟังก์ชันนี้จะรีเทิร์นค่าเป็น True หรือ False
4. ส้าหรับฟังก์ชัน CalaSaving จจะท้าหน้าที่ค้านวณผลตอบแทนเงินฝาก
โดยจะค้านวณให้เห็นในระยะเวลาตั้งแต่ปีที่ 1 ถึงปีที่ก้าหนดไว้ นั้นยอดเงินฝากเป็น
เท่าใด
5. . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่าข้อมูลใน TexBox ต่างๆ
ดังนี้
6. ทดสอบการท้างานของแอพพลิเคชัน ได้ผลดังนี้
ฟังก์มาตรฐาน


ฟังก์ชันในภาษา C
          ส้าหรับเนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบ
ไปด้วยเนื้อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัท
ที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บ
ไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้น
หรือเรียกอีกอย่างว่าโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใด
อย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น ๆ โดยรายละเอียดของแต่ละฟังก์ชันมี
ดังต่อไปนี้
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
           เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้
ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h
ต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่
ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้
ค้าสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของ
โปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็น
ฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึนเพื่อให้ผใช้น้าไปช่วยในการ
                                                  ้           ู้
เขียนโปรแกรมท้าให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะ
เรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
ตัวอย่างที่ 7.1 แสดงตัวอย่างฟังก์ชัน
          มาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน pow(x,y) คือ ฟังก์ชันที่ใช้หาค่ายกก้าลัง
ของ xy โดยที่ตัวแปร x และตัวแปร y มีชนิดเป็น double ซึ่ง
ฟัง ก์ชั น pow(x,y) จะถูกเก็บ ไว้ ใ น header file ที่ ชื่อ
ว่า math.h ดังนั้นจึงต้องใช้ค้าสั่ง #include<math.h> แทรกอยู่ใน
ส่วนตอนต้นของโปรแกรมเหนือฟังก์ชัน main( ) จึงจะสามารถเรียกใช้
ฟังก์ชัน pow(x,y) มาใช้งานภายในโปรแกรมนี้ได้
ส้าหรับฟังก์ชันมาตรฐานที่จะกล่าวถึงในหัวข้อนี้จะกล่าว เฉพาะฟังก์ชันมาตรฐานที่
จ้าเป็น และเรียกใช้งานบ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีดังต่อไปนี้
1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
(mathematic functions)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ส้าหรับการค้านวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนทีจะใช้
                                                                   ่
ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้ค้าสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่
ตอนต้นของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมี
ชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะ
ได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
                ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
                acos(x)           asin(x)           atan(x)
          sin(x)             cos(x)            tan(x)
          sqrt(x)            exp(x)            pow(x,y)
          log(x)              log10(x)        ceil(x)
          floor(x)            fabs(x)
1) ฟังก์ชัน acos(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า arc cosine ของ x โดยที่ x เป็น
ค่ามุมในหน่วยเรเดียน (radian)
              รูปแบบ
acos(x);

2) ฟังก์ชัน asin(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า arc sine ของ x โดยที่ x เป็นค่า
มุมในหน่วยเรเดียน
              รูปแบบ
asin(x);
3) ฟังก์ชัน atan(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า arc tan ของ x โดยที่ x เป็นค่า
มุมในหน่วย
เรเดียน

รูปแบบ
atan(x);

4) ฟังก์ชัน sin(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า sine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมใน
หน่วยเรเดียน
            รูปแบบ
sin(x);
5) ฟังก์ชัน cos(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า cosine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุม
ในหน่วย
เรเดียน
              รูปแบบ
cos(x);


6) ฟังก์ชัน tan(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า tan ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน
               รูปแบบ
tan(x);
7) ฟังก์ชัน sqrt(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root) ของค่าคงทีหรือตัว
                                                                    ่
แปร x โดยที่ x จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มค่าไม่ติดลบ
                                                         ี
            รูปแบบ
sqrt(x);



8) ฟังก์ชัน exp(x)
           เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็น
ค่ายกก้าลังของ e โดยที่ e มีค่าประมาณ 2.718282
               รูปแบบ
exp(x);
9) ฟังก์ชัน pow(x,y)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy
โดยที่
x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์
y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกก้าลัง
รูปแบบ
pow(x, y);
เพื่อความเข้าใจการใช้งานฟังก์ชัน sqrt(x), exp(x) และ pow(x, y) มาก
ยิ่งขึ้นให้ศึกษาโปรแกรมตัวอย่างต่อไปนี้
10) ฟังก์ชัน log(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n (natural logarithm) ของ
ค่าคงทีหรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงทีหรือตัวแปรทีมีค่าเป็นลบไม่ได้
       ่                                    ่       ่
              รูปแบบ
log(x);
11) ฟังก์ชัน log10(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดย
ที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มค่าเป็นลบไม่ได้
                                  ี
            รูปแบบ
log10(x);
12) ฟังก์ชัน ceil(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร x ถ้า x เป็น
ตัวเลขจ้านวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจ้านวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม
รูปแบบ
ceil(x);
13) ฟังก์ชัน floor(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x ถ้า x เป็น
ตัวเลขจ้านวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจ้านวนเต็มจะไม่มีการตัดเศษทศนิยมทิ้ง
รูปแบบ
floor(x);
14. ฟังก์ชัน fabs(x)
         เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของค่าคงที่หรือ
ตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุดทศนิยมที่มค่าบวก
                                                                     ี
หรือลบก็ได้
รูปแบบ
fabs(x);
ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (character functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น single char (ใช้เนื้อ
ที่ 1 byte) เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้ค้าสั่ง
#include<ctype.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้
ฟังก์ชันประเภทนี้ได้

                 ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้
                 isalnum(ch)                   isalpha(ch)
               isdigit(ch)
           islower(ch)                   isupper(ch)
           tolower(ch)                    toupper(ch)
           isspace(ch)                  isxdigit(ch)
                 โดยมีรายละเอียดของฟังก์ชันแต่ละฟังก์ชัน
           ดังต่อไปนี้
1) ฟังก์ชัน isalnum(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรหรือ
ตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็นตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่ง
ค่ากลับที่เป็นจ้านวนเต็มที่มค่าไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน และถ้าข้อมูลทีเ่ ก็บไว้ในตัว
                              ี
แปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่มค่าเป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน
                                                            ี
            รูปแบบ
isalnum(ch);
2) ฟังก์ชัน isalpha(ch)
           เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น
ตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจ้านวนเต็มที่
ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์ (0)
รูปแบบ
isalpha(ch);
3) ฟังก์ชัน isdigit(ch)
           เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น
ตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจ้านวนเต็มที่
ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ
               รูปแบบ
isdigit(ch);
4) ฟังก์ชัน islower(ch)
           เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น
ตัวอักษรตัวเล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจ้านวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้า
ไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0)
   รูปแบบ
islower(ch);
5) ฟังก์ชัน isupper(ch)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น
ตัวอักษรตัวใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจ้านวนเต็มทีไม่เท่ากับ
                                                                 ่
ศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0)
 รูปแบบ
isupper(ch);
6) ฟังก์ชัน tolower(ch)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้
เป็นอักษรตัวเล็ก
    รูปแบบ
tolower(ch);
7) ฟังก์ชัน toupper(ch)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็น
อักษรตัวใหญ่
  รูปแบบ
toupper(ch);
8) ฟังก์ชัน isspace(ch)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าค่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ch มีค่า
เป็น whitespace หรือไม่ (whitespace) ได้แก่ space, tab,
vertical tab, formfeed, carriage return และ new line ถ้า
เป็น whitespace เพียงแค่ตัวใดตัวหนึ่ง ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับที่เป็นเลข
จ้านวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ถ้าไม่ป็น whitespace ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับ
เป็นเลขศูนย์ (0)
รูปแบบ
isspace(ch);
9) ฟังก์ชัน isxdigit(ch)
         เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในตัวแปร ch เป็นตัว
เลขฐานสิบหก (0-9, A-F, หรือ a-f) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะมีการส่งค่า
กลับตัวเลขที่ไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าเป็นตัวเลขศูนย์
กลับมายังฟังก์ชัน
  รูปแบบ
isxdigit(ch);
ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (string functions)
         เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string) โดยก่อนที่จะใช้
ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้ค้าสั่ง #include<string.h> แทรกอยู่ตอนต้น
ของโปรแกรมเสียก่อน จึงจะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้


               ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มี
               ดังนี้
               strlen(s)                strcmp(s1,s2)
               strcpy(s)               strcat(s1,s2)
ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ
จะกล่าวเฉพาะฟังก์ชันที่ใช้บ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีฟังก์ชันดังนี้
1) ฟังก์ชัน clrscr( )
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ text mode
รูปแบบ
clrscr( );
2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้าสั่งให้ตัวชี้ต้าแหน่ง (cursor) เคลื่อนที่ไปยัง
ต้าแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ
รูปแบบ
gotoxy(x,y );
โดยที่
x คือ ต้าแหน่ง column บนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน
column ที่ 80 สงวนไว้
y คือ ต้าแหน่ง row บนจอภาพมีค่า
ตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน row ที่                   25 สงวนไว้
3) ฟังก์ชัน clreol( )
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่ โดยลบ
ข้อความถัดจากต้าแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด
รูปแบบ
clreol( );

4) ฟังก์ชัน deline( )
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความทั้งบรรทัดที่มีตัว cursor อยู่ จากนั้นก็
เลื่อนข้อความในบรรทัดทีอยู่ข้างล่างขึ้นมาแทนที่
                           ่

         รูปแบบ
deline( );
5) ฟังก์ชัน insline( )
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้แทรกบรรทัดว่าง 1 บรรทัด โดยแทรกอยู่ใต้บรรทัดที่
มี cursor อยู่

รูปแบบ
insline( );
6) ฟังก์ชัน sizeof(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบขนาดของตัวแปร x ว่ามีขนาดกี่ Byte
           รูปแบบ
sizeof(x);
หรือ sizeof(type);
โดยที่
x เป็นชื่อตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบขนาด
type เป็นชนิดของตัวแปร เช่น int, float, char, double เป็นต้น
7) ฟังก์ชัน system( )
          เป็นฟังก์ชันที่ช่วยให้สามารถเรียกใช้ค้าสั่งที่อยู่ใน MS-DOS มาใช้
งานได้
          รูปแบบ
system(“dos-command”);
โดยที่
dos-command คือค้าสั่ง dos ที่ต้องการใช้ เช่น cls, dir, date,
time, etc. เป็นต้น
8) ฟังก์ชัน abort( )
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ยกเลิกการท้างานของโปรแกรมโดยทันที่ทันใดไม่ว่าจะ
ท้างานเสร็จหรือไม่ และจะมีข้อความบอกว่า “Abnormal program
termination” แสดงออกทางจอภาพด้วย
            รูปแบบ
abort( );
9) ฟังก์ชัน abs(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค่าสัมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข
จ้านวนเต็มเท่านั้น
รูปแบบ
abs(x);
                          เช่น           int x = -65;
                           printf(“%d”, abs(x));
                           ผลลัพธ์ที่ได้ คือค่า 65
10) ฟังก์ชัน labs(x)
          เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข
ชนิด long integer
รูปแบบ
labs(x);
11) ฟังก์ชัน atoi(s)
         เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจ้านวน
เต็ม (integer) ที่สามารถน้าไปค้านวณได้

        รูปแบบ
atoi(s);

12) ฟังก์ชัน atof(s)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจ้านวนทศนิยม (floating
point) ที่สามารถน้าไปค้านวณได้
รูปแบบ
atof( );
13) ฟังก์ชัน atol(s)
        เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจ้านวนเต็ม
ชนิด long integer ที่สามารถน้าไปใช้ค้านวณได้
        รูปแบบ
atol(s);
สรุปฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function)
           ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจากไลบรารี่ของ
ภาษาซีได้ทันที คือ ฟังก์ชันส้าเร็จรูปให้เรียกใช้งานได้ทันที เพียงแค่ผู้เรียกใช้
ประกาศค่าเรียกใช้ผ่านไลบรารี่ทจัดเก็บฟังก์ชันนั้น ๆ
                                 ี่
เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ
ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล และฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรา
รี่ผ่านค้าสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header
directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้
ดังนี้
    1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
    2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล
2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้
ดังนี้
    1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter
    2 ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter
    3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับ
ข้อมูล
    4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ
    5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ
3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
   1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รบเข้ามา
                                                           ั
   2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการท้าส้าเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีก
ข้อความหนึ่ง
   3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ
   4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟงก์ชันที่ใช้ดังนี้
                                                            ั
  1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจ้านวนเต็ม
  2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential)
  3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy
  4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x
  5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x
  6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x
  7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n
  8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10
  9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x
  10 ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x
  2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute
value) x
6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชนที่ใช้
                                                                     ั
ดังนี้
    1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจ้านวนเต็ม (integer)
    2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจ้านวนทศนิยม( flot)
    3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจ้านวนเต็ม (integer) ชนิด long integer
7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้
ดังนี้
   1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ
   2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ
         ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานยังมีอีกเป็นจ้านวนมาก ผู้ศึกษาสามารถลองศึกษาได้
จากการใช้ Help เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนและพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซีขั้น
สูงต่อไปในภายหลังได้
บรรณานุกรม
   สืบค้นจาก
        http://www2.udru.ac.th/~samaw_t/sub
-func.pdf
        http://www.vbwbi.mscomed54.com/ch
apter6/chapter6-1.php
        http://www.tice.ac.th/division/website_
c/about/page8.htm
        http://e-
learning.snru.ac.th/els/program1/lesson7/pag
e7_1.html
จัดทาโดย
          1. นางสาว ชญานิศ จีนาภักดิ์ เลขที่ 3
        2. นางสาว ประภัสสร แก้วนวล เลขที่ 5
       3. นางสาว ณัฐฐินันท์ ค้าลือปลูก เลขที่ 20
         4. นางสาว อรทัย เนียมตระกูล เลขที่ 23
                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
                          เสนอ
               อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
  วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 2
                     ปีการศึกษา 2555
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)Boonwiset Seaho
 
Lab intro-5-1
Lab intro-5-1Lab intro-5-1
Lab intro-5-1
Thonghai Butchat
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 
C lang
C langC lang
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
7 pointer day10
7  pointer day107  pointer day10
7 pointer day10xuou888
 
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
tumetr
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Thanachart Numnonda
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
IMC Institute
 
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาดJava Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Thanachart Numnonda
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
Warawut
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซีmansuang1978
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็มJitti Nut
 

What's hot (19)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
 
Lab intro-5-1
Lab intro-5-1Lab intro-5-1
Lab intro-5-1
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
C lang
C langC lang
C lang
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
7 pointer day10
7  pointer day107  pointer day10
7 pointer day10
 
Lab3bb
Lab3bbLab3bb
Lab3bb
 
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
 
Know4 3
Know4 3Know4 3
Know4 3
 
power point.
power point.power point.
power point.
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
 
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาดJava Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็ม
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
F'olk Worawoot
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
Ice Ice
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Wittaya Kaewchat
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
Worapod Khomkham
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (20)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน

  • 1.
  • 2. โปรแกรมย่อยและฟังก์มาตรฐาน โปรแกรมย่อย วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย 1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ากันในหลาย ๆ แห่ง และจะแยกออกมาท้าเป็น โปรแกรมย่อย 2. เป็นค้าที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป 3. เมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของการเขียน โปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อตรวจหาที่ผิดได้ง่าย ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง ๆ ก็คือ Module ๆ หนึ่ง 4. เพื่อสนองความต้องการของการเขียนโปรแกรมจากบนลงล่าง
  • 3. การสร้างและใช้งานโปรแกรมย่อย ประเภทของโปรแกรมย่อย ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่ เฉพาะตัวโดยแยกการท้างานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระ การเขียนโปรแกรมที่มีการท้างานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อนของ โปรแกรม ซึ่งจะท้าให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม การท้างานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปท้างานในโปรแกรมย่อยด้วย โดยข้อมูล นั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ (Parameter) Visual Basic 2008 สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ Sub มาจากค้าเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อท้างานแล้ว จะไม่มีการส่งผลการท้างานกลับไปยังโปรแกรม ที่เรียกซับรูทีนนีใช้งาน ้ Function เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อท้างานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผลการท้างาน กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ใช้งาน ในที่นี้ผเู้ รียกใช้ Sub หรือ Function จะเป็นตัวโปรแกรมหลัก หรือโปรแกรม ย่อยอื่นๆก็ได้
  • 4. โปรแกรมย่อยไม่ว่าจะเป็น Sub หรือ Function นั้น จะมีหรือไม่มีการส่ง ข้อมูล ผ่านตัวพารามิเตอร์ก็ไ ด้ขึ้น อยู่กับว่าโปรแกรมย่อยนั้นระบุ ให้มีการก้ าหนด ต้าแหน่งให้ค่าพารามิเตอร์หรือไม่ โปรแกรมย่อยชนิด Sub Sub เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อการท้างานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่ไม่มี การรับพารามิเตอร์หรืออาจจะมีการรับพารามิเตอร์มาท้างานก็ได้ แต่ไม่มีการส่งผลการ ท้างานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกซับรูทีนนี้ใช้งาน มีรูปแบบการเขียน Sub ดังนี้
  • 5. ตัวอย่างการใช้งาน Subroutine : ตัวอย่างนี้จะสร้างแอพพลิเคชันแบบระบบ ลงทะเบียนซึ่งจะมีการใช้งาน Subroutine ที่เราเขียนขึ้นมา 1. ออกแบบหน้าตาแอพพลิเคชัน และตั้งชื่อคอนโทรลต่างๆ ดังนี้
  • 6. 2. ดับเบิลคลิกที่ฟอร์มเพื่อเขียนโค้ดใน Even Load โดยจะเริ่มแนะน้าให้ ผู้ใช้งานทราบวิธีการท้างานโดยจะเรียก Sub ที่ชื่อว่า InformUser
  • 7. 3. ให้หน้าต่างโค้ดของ Sub InformUser โดยเขียนต่อท้ายไปได้เลย
  • 8. 4. ดั บเบิล คลิ กที่ ปุ่ม ลงทะเบี ยน แล้วเขี ยนโค้ ดเพื่ อตรวจสอบความครวถ้ วน ถูกต้องของข้อมูลที่ป้อนเข้าไป ถ้าเรียบร้อยถือว่าลงทะเบียนได้ แต่ถ้าไม่เรียนร้อยแจ้ง ให่ผู้ใช้ทราบ
  • 9. 5 . ส้าหรับ Sub CheckPassword นั้นมีหลักการตรวจสอบความถูกต้อง อยู่ 3 ข้อ ดังรายละเอียดที่แสดดงในโค้ดต่อไปนี้
  • 10. 6 . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่าข้อมูลใน TexBox ต่างๆ ดังนี้
  • 11. 7 . กดปุ่ม F5 เพื่อทดสอบการท้างานของแอพพลิเคชัน ได้ผลดังนี้
  • 12. โปรแกรมย่อยชนิด Function Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นมาเพื่อการท้างานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่ไ ม่มีการรับ พารามิ เตอร์ห รือ อาจจะมีการรั บพารามิเ ตอร์มาท้างานก็ไ ด้ เมื่ อ ท้างานเสร็จแล้วจะมีการส่งผลการท้างานกลับมายังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนั้นใช้ งาน มีรูปในการเขียนฟังก์ชัน ดังนี้
  • 13. ตัวอย่างการใช้งาน Function : ตัวอย่างนี้จะสร้างแอพพลิเคชันที่ค้านวณ ผลตอบแทนจากการฝากเงินซึ่งผู้ใช้จะต้องกรอกเงินต้น อัตราดอกเบี้ย และจ้านวนปีที่ ฝาก 1. ออกแบบหน้าตาแอพพลิเคชัน และตั้งชื่อคอนโทรลต่างๆ ดังนี้
  • 14. 2. ดั บเบิล คลิกที่ ปุ่ม ค้านวณ เพื่อค้านวณผลตอบแทนซึ่ งจะมีการเรีกฟังก์ชัน CheckInput เพื่อตรวจสอบว่าข้อมูลที่กรอกเข้ามาเหมาะสมหรือไม่ ถ้าเหมาะสม จ้าน้ามาค้านวณโดยเรียกใช้ ClacSaving
  • 15. 3. ส้าหรับฟังก์ชัน CheckInput จ้าท้าหน้าที่ตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ผู้ใช้งาน กรอกมาเหมาะสมหรือไม่โดยต้องเป็นตัวเลขที่มากกว่า 0 ทุกตัว และถ้าเป็น ดอกเบี้ย ให้มีค่าระหว่าง 0 ถึง 100 โดยฟังก์ชันนี้จะรีเทิร์นค่าเป็น True หรือ False
  • 16. 4. ส้าหรับฟังก์ชัน CalaSaving จจะท้าหน้าที่ค้านวณผลตอบแทนเงินฝาก โดยจะค้านวณให้เห็นในระยะเวลาตั้งแต่ปีที่ 1 ถึงปีที่ก้าหนดไว้ นั้นยอดเงินฝากเป็น เท่าใด
  • 17. 5. . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่าข้อมูลใน TexBox ต่างๆ ดังนี้
  • 19. ฟังก์มาตรฐาน ฟังก์ชันในภาษา C ส้าหรับเนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบ ไปด้วยเนื้อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัท ที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บ ไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้น หรือเรียกอีกอย่างว่าโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใด อย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น ๆ โดยรายละเอียดของแต่ละฟังก์ชันมี ดังต่อไปนี้
  • 20. ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions) เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้ ค้าสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของ โปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็น ฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึนเพื่อให้ผใช้น้าไปช่วยในการ ้ ู้ เขียนโปรแกรมท้าให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะ เรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
  • 21. ตัวอย่างที่ 7.1 แสดงตัวอย่างฟังก์ชัน มาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน pow(x,y) คือ ฟังก์ชันที่ใช้หาค่ายกก้าลัง ของ xy โดยที่ตัวแปร x และตัวแปร y มีชนิดเป็น double ซึ่ง ฟัง ก์ชั น pow(x,y) จะถูกเก็บ ไว้ ใ น header file ที่ ชื่อ ว่า math.h ดังนั้นจึงต้องใช้ค้าสั่ง #include<math.h> แทรกอยู่ใน ส่วนตอนต้นของโปรแกรมเหนือฟังก์ชัน main( ) จึงจะสามารถเรียกใช้ ฟังก์ชัน pow(x,y) มาใช้งานภายในโปรแกรมนี้ได้ ส้าหรับฟังก์ชันมาตรฐานที่จะกล่าวถึงในหัวข้อนี้จะกล่าว เฉพาะฟังก์ชันมาตรฐานที่ จ้าเป็น และเรียกใช้งานบ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีดังต่อไปนี้
  • 22. 1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ส้าหรับการค้านวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนทีจะใช้ ่ ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้ค้าสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ ตอนต้นของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมี ชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะ ได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้ acos(x) asin(x) atan(x) sin(x) cos(x) tan(x) sqrt(x) exp(x) pow(x,y) log(x) log10(x) ceil(x) floor(x) fabs(x)
  • 23. 1) ฟังก์ชัน acos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า arc cosine ของ x โดยที่ x เป็น ค่ามุมในหน่วยเรเดียน (radian) รูปแบบ acos(x); 2) ฟังก์ชัน asin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า arc sine ของ x โดยที่ x เป็นค่า มุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ asin(x);
  • 24. 3) ฟังก์ชัน atan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า arc tan ของ x โดยที่ x เป็นค่า มุมในหน่วย เรเดียน รูปแบบ atan(x); 4) ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า sine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมใน หน่วยเรเดียน รูปแบบ sin(x);
  • 25. 5) ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า cosine ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุม ในหน่วย เรเดียน รูปแบบ cos(x); 6) ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้านวณหาค่า tan ของ x โดยที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ tan(x);
  • 26. 7) ฟังก์ชัน sqrt(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root) ของค่าคงทีหรือตัว ่ แปร x โดยที่ x จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มค่าไม่ติดลบ ี รูปแบบ sqrt(x); 8) ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็น ค่ายกก้าลังของ e โดยที่ e มีค่าประมาณ 2.718282 รูปแบบ exp(x);
  • 27. 9) ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์ y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกก้าลัง รูปแบบ pow(x, y); เพื่อความเข้าใจการใช้งานฟังก์ชัน sqrt(x), exp(x) และ pow(x, y) มาก ยิ่งขึ้นให้ศึกษาโปรแกรมตัวอย่างต่อไปนี้
  • 28. 10) ฟังก์ชัน log(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n (natural logarithm) ของ ค่าคงทีหรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงทีหรือตัวแปรทีมีค่าเป็นลบไม่ได้ ่ ่ ่ รูปแบบ log(x); 11) ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดย ที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มค่าเป็นลบไม่ได้ ี รูปแบบ log10(x);
  • 29. 12) ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร x ถ้า x เป็น ตัวเลขจ้านวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจ้านวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม รูปแบบ ceil(x); 13) ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x ถ้า x เป็น ตัวเลขจ้านวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจ้านวนเต็มจะไม่มีการตัดเศษทศนิยมทิ้ง รูปแบบ floor(x);
  • 30. 14. ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของค่าคงที่หรือ ตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุดทศนิยมที่มค่าบวก ี หรือลบก็ได้ รูปแบบ fabs(x);
  • 31. ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (character functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น single char (ใช้เนื้อ ที่ 1 byte) เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้ค้าสั่ง #include<ctype.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้ ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้ isalnum(ch) isalpha(ch) isdigit(ch) islower(ch) isupper(ch) tolower(ch) toupper(ch) isspace(ch) isxdigit(ch) โดยมีรายละเอียดของฟังก์ชันแต่ละฟังก์ชัน ดังต่อไปนี้
  • 32. 1) ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรหรือ ตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็นตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่ง ค่ากลับที่เป็นจ้านวนเต็มที่มค่าไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน และถ้าข้อมูลทีเ่ ก็บไว้ในตัว ี แปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่มค่าเป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน ี รูปแบบ isalnum(ch); 2) ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น ตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจ้านวนเต็มที่ ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isalpha(ch);
  • 33. 3) ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น ตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจ้านวนเต็มที่ ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ รูปแบบ isdigit(ch); 4) ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น ตัวอักษรตัวเล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจ้านวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้า ไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ islower(ch);
  • 34. 5) ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น ตัวอักษรตัวใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจ้านวนเต็มทีไม่เท่ากับ ่ ศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isupper(ch); 6) ฟังก์ชัน tolower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้ เป็นอักษรตัวเล็ก รูปแบบ tolower(ch);
  • 35. 7) ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็น อักษรตัวใหญ่ รูปแบบ toupper(ch); 8) ฟังก์ชัน isspace(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าค่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ch มีค่า เป็น whitespace หรือไม่ (whitespace) ได้แก่ space, tab, vertical tab, formfeed, carriage return และ new line ถ้า เป็น whitespace เพียงแค่ตัวใดตัวหนึ่ง ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับที่เป็นเลข จ้านวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ถ้าไม่ป็น whitespace ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับ เป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isspace(ch);
  • 36. 9) ฟังก์ชัน isxdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในตัวแปร ch เป็นตัว เลขฐานสิบหก (0-9, A-F, หรือ a-f) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะมีการส่งค่า กลับตัวเลขที่ไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าเป็นตัวเลขศูนย์ กลับมายังฟังก์ชัน รูปแบบ isxdigit(ch);
  • 37. ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (string functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string) โดยก่อนที่จะใช้ ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้ค้าสั่ง #include<string.h> แทรกอยู่ตอนต้น ของโปรแกรมเสียก่อน จึงจะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มี ดังนี้ strlen(s) strcmp(s1,s2) strcpy(s) strcat(s1,s2)
  • 38. ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ จะกล่าวเฉพาะฟังก์ชันที่ใช้บ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีฟังก์ชันดังนี้ 1) ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ text mode รูปแบบ clrscr( );
  • 39. 2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค้าสั่งให้ตัวชี้ต้าแหน่ง (cursor) เคลื่อนที่ไปยัง ต้าแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ รูปแบบ gotoxy(x,y ); โดยที่ x คือ ต้าแหน่ง column บนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน column ที่ 80 สงวนไว้ y คือ ต้าแหน่ง row บนจอภาพมีค่า ตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน row ที่ 25 สงวนไว้
  • 40. 3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่ โดยลบ ข้อความถัดจากต้าแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด รูปแบบ clreol( ); 4) ฟังก์ชัน deline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความทั้งบรรทัดที่มีตัว cursor อยู่ จากนั้นก็ เลื่อนข้อความในบรรทัดทีอยู่ข้างล่างขึ้นมาแทนที่ ่ รูปแบบ deline( );
  • 41. 5) ฟังก์ชัน insline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้แทรกบรรทัดว่าง 1 บรรทัด โดยแทรกอยู่ใต้บรรทัดที่ มี cursor อยู่ รูปแบบ insline( ); 6) ฟังก์ชัน sizeof(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบขนาดของตัวแปร x ว่ามีขนาดกี่ Byte รูปแบบ sizeof(x); หรือ sizeof(type); โดยที่ x เป็นชื่อตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบขนาด type เป็นชนิดของตัวแปร เช่น int, float, char, double เป็นต้น
  • 42. 7) ฟังก์ชัน system( ) เป็นฟังก์ชันที่ช่วยให้สามารถเรียกใช้ค้าสั่งที่อยู่ใน MS-DOS มาใช้ งานได้ รูปแบบ system(“dos-command”); โดยที่ dos-command คือค้าสั่ง dos ที่ต้องการใช้ เช่น cls, dir, date, time, etc. เป็นต้น 8) ฟังก์ชัน abort( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ยกเลิกการท้างานของโปรแกรมโดยทันที่ทันใดไม่ว่าจะ ท้างานเสร็จหรือไม่ และจะมีข้อความบอกว่า “Abnormal program termination” แสดงออกทางจอภาพด้วย รูปแบบ abort( );
  • 43. 9) ฟังก์ชัน abs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค่าสัมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข จ้านวนเต็มเท่านั้น รูปแบบ abs(x); เช่น int x = -65; printf(“%d”, abs(x)); ผลลัพธ์ที่ได้ คือค่า 65 10) ฟังก์ชัน labs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข ชนิด long integer รูปแบบ labs(x);
  • 44. 11) ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจ้านวน เต็ม (integer) ที่สามารถน้าไปค้านวณได้ รูปแบบ atoi(s); 12) ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจ้านวนทศนิยม (floating point) ที่สามารถน้าไปค้านวณได้ รูปแบบ atof( );
  • 45. 13) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจ้านวนเต็ม ชนิด long integer ที่สามารถน้าไปใช้ค้านวณได้ รูปแบบ atol(s);
  • 46. สรุปฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function) ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจากไลบรารี่ของ ภาษาซีได้ทันที คือ ฟังก์ชันส้าเร็จรูปให้เรียกใช้งานได้ทันที เพียงแค่ผู้เรียกใช้ ประกาศค่าเรียกใช้ผ่านไลบรารี่ทจัดเก็บฟังก์ชันนั้น ๆ ี่ เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล และฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรา รี่ผ่านค้าสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ ดังนี้ 1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล 2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล
  • 47. 2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ ดังนี้ 1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter 2 ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter 3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับ ข้อมูล 4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ 5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ
  • 48. 3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รบเข้ามา ั 2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการท้าส้าเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีก ข้อความหนึ่ง 3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ 4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
  • 49. 4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟงก์ชันที่ใช้ดังนี้ ั 1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจ้านวนเต็ม 2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential) 3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy 4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x 5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x 6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x 7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n 8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x 10 ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x 2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x
  • 50. 6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชนที่ใช้ ั ดังนี้ 1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจ้านวนเต็ม (integer) 2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจ้านวนทศนิยม( flot) 3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจ้านวนเต็ม (integer) ชนิด long integer
  • 51. 7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้ ดังนี้ 1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ 2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานยังมีอีกเป็นจ้านวนมาก ผู้ศึกษาสามารถลองศึกษาได้ จากการใช้ Help เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนและพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซีขั้น สูงต่อไปในภายหลังได้
  • 52. บรรณานุกรม สืบค้นจาก http://www2.udru.ac.th/~samaw_t/sub -func.pdf http://www.vbwbi.mscomed54.com/ch apter6/chapter6-1.php http://www.tice.ac.th/division/website_ c/about/page8.htm http://e- learning.snru.ac.th/els/program1/lesson7/pag e7_1.html
  • 53. จัดทาโดย 1. นางสาว ชญานิศ จีนาภักดิ์ เลขที่ 3 2. นางสาว ประภัสสร แก้วนวล เลขที่ 5 3. นางสาว ณัฐฐินันท์ ค้าลือปลูก เลขที่ 20 4. นางสาว อรทัย เนียมตระกูล เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี