SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ANALOG & DIGITAL TRANSMISSION 
DATA COMMUNICATION AND NETWORK 
ศิริพรรณ เพชรน่วม 55080501654 
เสาวรส สิงห์คาล 55080501659 
เทคโนโลยีมีเดีย ชนั้ปีที่ 2
Data Communication ? 
การแลกเปลี่ยนขอ้มูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ตงั้แต่ 2 ตัวขนึ้ขนึ้ไป ผ่านอุปกรณ์ 
เชอื่มต่อที่อยู่ใกล้หรือไกลออกไป 
ตัวอย่าง 
การแลกเปลี่ยนขอ้มูล 
ระหว่างธนาคารกับ 
เครื่อง ATM 
บริการขายตัว๋ระบบ On-line 
Internet
ความสาคัญของ Data Communication 
ระบบการสื่อสารขอ้มูลเป็นกุญแจสา คัญในการกระจายขอ้มูลไปทั่วโลกและเป็น 
เครื่องมือในการพัฒนาประเทศในศตวรรษที่ 21 ระบบการสื่อสารขอ้มูล (Data 
Communication Systems) ประสิทธิภาพของ Data Communication ขนึ้อยู่กับ 
การส่งถ่าย ระบบจะต้องส่งขอ้มูลไปยังเป้าหมายที่ถูกต้องความถูกต้อง ระบบ 
จะต้องส่งขอ้มูลด้วยความถูกต้องแม่นยา เวลา ระบบจะต้องส่งข้อมูลอย่างเป็น 
ระบบและตรงเวลาหรือใช้เวลาให้นอ้ยที่สุด
รปูภาพแสดงส่วนประกอบของ Data Communication
รปูแบบการติดต่อสื่อสาร
Analog and Digital Transmission
สัญญาณแบบอนาล็อก (Analog) 
•จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง 
•ทุกๆ ค่า ที่เปลยี่นแปลงไปของระดับสัญญาณจะมีความหมายที่แตกต่าง 
กัน 
•การส่งสัญญาณแบบนจี้ะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ 
ง่ายเนอื่งจากค่าทุกค่า ถูกนา มาใช้งาน 
•สัญญาณแบบอนาลอกนี้จะเป็นสัญญาณที่สื่อกลางในการสื่อสาร 
ส่วนมากใช้อยู่เช่น สัญญาณเสยีงในสายโทรศพัท์ เป็นต้น
การส่งขอ้มูลแบบอนาล็อก (Analog Transmission) 
เป็นการส่งสัญญาณแบบอนาลอกโดยไม่สนใจในสิ่งที่ 
บรรจุรวมอยู่ในสัญญาณเลย สัญญาณจะแทนข้อมูล 
อนาลอก ( เช่น สัญญาณเสียง ) หรือ ขอ้มูลดิจิตอล (เช่น 
ข้อมูลไบนารีผ่านโมเด็ม) สัญญาณอนาลอกที่ทาการ 
ส่งออกไป พลังงานจะอ่อนลง ไปเรื่อยๆ เมื่อระยะทาง ทาง 
เพิ่มขึ้น ดั้งนั้น ในการส่งสัญญาณอนาลอกไประยะไกลๆ 
จึงต้องอาศัยเครื่องขยายสัญญาณ หรือ แอมปลิไฟเออร์ 
( Amplifier) เพื่อเพิ่มพลังงาน
สัญญาณแบบดิจิตอล (Digital) 
สัญญาณดิจิตอล (Digital signal)คือ สัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง โดย 
รูปแบบของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลง ที่ไม่ปะติดปะต่อกัน 
อัตราการส่งขอ้มูลมีหน่วยเป็น bps หรือ Bit Per Second
การส่งขอ้มูลแบบดิจิตอล (Digital Transmission) 
ส่วนในการส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะสนใจทุกสิ่งทุกอย่างมาบรรจุใน 
สัญญาณ เพื่อระยะทางเพิ่มขนึ้มากขนึ้ จะทา ให้สัญญาณดิจิตอลจางหาย 
ไปได้ จึงจาเป็ นต้องใช้อุปกรณ์ทบทวนสัญญาณหรือ รีพีตเตอร์ 
(Repeater) เพื่อกู้ (Recover) รูปแบบของสัญญาณที่มีลักษณะ เป็น " 1 " 
และ " 0 " เสียก่อน แล้วจึงส่งสัญญาณใหม่ต่อไป 
สามารถนา เอาอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณมาใช้กับกับการส่งสัญญาณมา 
ใช้กับการส่งสัญญาณอนาลอกที่มีข้อมูลเป็นแบบดิจิตอลได้ เครื่อง 
ทบทวนสัญญาณจะกู้ข้อมูลดิจิตอลจากสัญญาณอนาลอกและสร้าง 
สัญญาณขึ้นมาใหม่ แล้วลบสัญญาณอนาลอกที่ส่งมาด้วยออกไป ดั้ง 
นนั้จะ ไม่มีสัญญาณรบกวนที่ติดมากับสัญญาณอนาลอกหลงเหลืออยู่ 
เลย
การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณอนาลอก (D/A) 
สา หรบัเทคนิคการแปลงสัญญาณขอ้มูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาลอกนนั้มี 
อยู่ด้วยกัน 3 วิธีคือ
การแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอล (A/D) 
สามารถส่งผ่านสัญญาณดิจิตอลสู่ช่องทางสื่อสารดิจิตอลได้โดยตรง เช่น ใน 
ระบบเครือข่าย ISDN หรือไปรษณีย์อิเลคทรอนิกส์ ( E-Mail or Electronic Mail) 
เป็นต้น เราสามารถส่งสัญญาณดิจิตอล ที่ออกจากคอมพิวเตอร์สู่เครือข่ายได้ 
โดยตรง ไม่ต้องผ่านโมเด็มและในทา นองเดียวกัน 
เทคนิคในการเปลี่ยนแปลงสัญญาณอนาล็อก เป็นสัญญาณดิจิตอล แบ่ง 2 วิธีคือ 
PAM PCM
การเปรียบเทียบการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกกับแบบดิจิตอล 
1. สัญญาณรบกวน (Noise) ที่เกิดขนึ้ในการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกจะถูก 
" ขยาย " เมื่อสัญญาณถูกขยาย แต่สา หรับการส่งสัญญาณแบบ ดิจิตอลจะไม่มี 
การขยายสัญญาณแต่จะเป็นการ " ทบทวน " สัญญาณใหม่ให้กลับมาเหมือนเดิม 
2. การมัลติเพล็กซ์ การส่งสัญญาณขอ้มูลจากแหล่งกา เนิดหลายแหล่ง โดยผ่าน 
ตัวกลางสายส่งเดียวกันเป็นวิธีทีประหยัดค่าใช้จ่าย เพียงแต่มี เทคนิคที่เรียกว่า " 
การมัลติเพล็กซ์ " ( Multiplex ) และ " การดีมัลติเพล็กซ์ " ( Demultiplex ) เพื่อ 
แยกแต่ละสัญญาณออกจากกันเมอื่สัญญาณ ทงั้หมดถึงปลายทาง ค่าใช้จ่ายใน 
การมัลติเพล็กซ์และดีมัลติเพล็กซ์สัญญาณในการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกนนั้ 
แพงกว่าที่ใช้ในการส่งสัญญาณ แบบดิจิตอลมาก 
3. ความเร็ว (Speed) ความเร็วในการส่งสัญญาณขอ้มูลในเครือข่ายแบบดิจิตอล 
สามารถทา ได้เร็ว และส่งได้มากกว่าในเครือข่ายแบบอนาล็อก แนวโนม้ ปัจจุบันและ 
อนาคตของการส่งขอ้มูลในระบบเครือข่ายจะเป็นแบบดิจิตอลมากขนึ้กว่าแบบ 
อนาล็อก
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสัญญาณ 
Analog และ สัญญาณ Digital 
สรุปได้ว่าสัญญาณ Digital เปรียบเสมือนการเปลี่ยน 
รูปแบบจากสัญญาณ Analog ที่เป็นสัญญาณ คลื่นให้ 
เป็นสัญญาณไฟฟ้าความแตกต่างของระบบระบบกล้อง 
วงจรปิด CCTV ระหว่าง Analog, IP, และ HD-SDIทุกวันนี้ 
ระบบโทรทัศน์วงจรปิด หรือเรียกกันติดปากว่าระบ บ 
กล้องวงจรปิด CCTV ได้ถูกนา มาใชด้้วย
เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่งภาพที่ได้จาก กล้องวงจรปิด CCTV ระบบ Analog และ ระบบ Digital
ตารางเปรียบเทียบความละเอียดของภาพในช่วงที่ต่างกัน
ขอ้ดีและขอ้เสียของระบบอนาล็อกและดิจิตอล 
1. การแสดงผลทาให้เข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างเช่น การแสดงผลของ 
แรงดันไฟฟ้ าเป็นตัวเลขจาก เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้ า 
2. การควบคุมทา ได้ง่าย ตัวอย่างเช่นระบบควบคุมอุณหภูมิของเตาเผาที่มีระบบ 
ดิจิตอลเขา้มา เกี่ยวขอ้ง 
3. ความเที่ยงตรง วงจรอนาลอก ทา ให้มีความเที่ยงตรงสูงได้ยาก 
4. ผลกระทบต่อการส่งในระยะไกล เมื่อมีการส่งสัญญาณออกไปในระยะไกล ๆ 
ตามสายส่งหรือเป็นคลื่นวิทยุ จะมีการรบกวนเกิดขึ้นได้ง่าย เรียกว่า นอยส์ 
(noise) ตัวอย่างเช่น การส่งสัญญาณไปยัง ดาวเทียม 
5. ความเชื่อมั่น สัญญาณดิจิตอลมีค่าความผิดพลาดน้อยกว่าสัญญาณ 
อนาลอก ทาให้วงจรที่ทางานด้วยสัญญาณดิจิตอล มีความเชื่อถือได้ 
มากกว่า
เอกสารอ้างอิง 
Data Communication.(9 พฤษภาคม 2557). Available URL: 
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom2/Contents/Chapters/Data_communication.htm 
การแลกเปลี่ยนขอ้มูลระหว่างธนาคารกับเครื่อง ATM.(9 พฤษภาคม 2557). Available URL: 
http://sirinuj.net/webdream/ITUnit_11.html 
สัญญาณแบบอนาล็อก (Analog).( 10 พฤษภาคม 2557). Available URL: 
http://www.med.cmu.ac.th/eiu/informatics/COMM/Life/Data%20communication/analog.htm 
สัญญาณอนาล็อก (Analog signal).( 10 พฤษภาคม 2557). Available URL: 
http://reg.ksu.ac.th/teacher/songgrod/4123702/content/lesson1/102.html 
สัญญาณแบบดิจิตอล (Digital) . (10 พฤษภาคม 2557). Available URL: 
http://reg.ksu.ac.th/teacher/songgrod/4123702/content/lesson1/102.html 
การส่งสัญญาณขอ้มูลแบบดิจิตอล. (10 พฤษภาคม 2557). Available URL: 
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom/analoganddigital.htm 
การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณอนาลอก (D/A) .(10 พฤษภาคม 2557). Available 
URL: http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom/analoganddigital.htm

More Related Content

What's hot

แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
Kanin Thejasa
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
krurutsamee
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
ยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร
บทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสารบทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร
บทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร
SO Good
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
noeypornnutcha
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Ninna Natsu
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018
NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018
NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร
บทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสารบทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร
บทที่ 1 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
 
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
รายงานการสื่อสารข้อมูล
รายงานการสื่อสารข้อมูลรายงานการสื่อสารข้อมูล
รายงานการสื่อสารข้อมูล
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 

Similar to Analog & digital transmission

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
chukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
chukiat008
 
ม.2 การสื่อสารข้อมูล
ม.2 การสื่อสารข้อมูลม.2 การสื่อสารข้อมูล
ม.2 การสื่อสารข้อมูล
Bansit Deelom
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
Mareeyalosocity
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
Changnoi Etc
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
Nidzy Krajangpat
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
watnawong
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
kamol
 

Similar to Analog & digital transmission (20)

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ม.2 การสื่อสารข้อมูล
ม.2 การสื่อสารข้อมูลม.2 การสื่อสารข้อมูล
ม.2 การสื่อสารข้อมูล
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
 
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Datacommunication
DatacommunicationDatacommunication
Datacommunication
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 

Analog & digital transmission

  • 1. ANALOG & DIGITAL TRANSMISSION DATA COMMUNICATION AND NETWORK ศิริพรรณ เพชรน่วม 55080501654 เสาวรส สิงห์คาล 55080501659 เทคโนโลยีมีเดีย ชนั้ปีที่ 2
  • 2. Data Communication ? การแลกเปลี่ยนขอ้มูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ตงั้แต่ 2 ตัวขนึ้ขนึ้ไป ผ่านอุปกรณ์ เชอื่มต่อที่อยู่ใกล้หรือไกลออกไป ตัวอย่าง การแลกเปลี่ยนขอ้มูล ระหว่างธนาคารกับ เครื่อง ATM บริการขายตัว๋ระบบ On-line Internet
  • 3. ความสาคัญของ Data Communication ระบบการสื่อสารขอ้มูลเป็นกุญแจสา คัญในการกระจายขอ้มูลไปทั่วโลกและเป็น เครื่องมือในการพัฒนาประเทศในศตวรรษที่ 21 ระบบการสื่อสารขอ้มูล (Data Communication Systems) ประสิทธิภาพของ Data Communication ขนึ้อยู่กับ การส่งถ่าย ระบบจะต้องส่งขอ้มูลไปยังเป้าหมายที่ถูกต้องความถูกต้อง ระบบ จะต้องส่งขอ้มูลด้วยความถูกต้องแม่นยา เวลา ระบบจะต้องส่งข้อมูลอย่างเป็น ระบบและตรงเวลาหรือใช้เวลาให้นอ้ยที่สุด
  • 6. Analog and Digital Transmission
  • 7. สัญญาณแบบอนาล็อก (Analog) •จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง •ทุกๆ ค่า ที่เปลยี่นแปลงไปของระดับสัญญาณจะมีความหมายที่แตกต่าง กัน •การส่งสัญญาณแบบนจี้ะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ ง่ายเนอื่งจากค่าทุกค่า ถูกนา มาใช้งาน •สัญญาณแบบอนาลอกนี้จะเป็นสัญญาณที่สื่อกลางในการสื่อสาร ส่วนมากใช้อยู่เช่น สัญญาณเสยีงในสายโทรศพัท์ เป็นต้น
  • 8. การส่งขอ้มูลแบบอนาล็อก (Analog Transmission) เป็นการส่งสัญญาณแบบอนาลอกโดยไม่สนใจในสิ่งที่ บรรจุรวมอยู่ในสัญญาณเลย สัญญาณจะแทนข้อมูล อนาลอก ( เช่น สัญญาณเสียง ) หรือ ขอ้มูลดิจิตอล (เช่น ข้อมูลไบนารีผ่านโมเด็ม) สัญญาณอนาลอกที่ทาการ ส่งออกไป พลังงานจะอ่อนลง ไปเรื่อยๆ เมื่อระยะทาง ทาง เพิ่มขึ้น ดั้งนั้น ในการส่งสัญญาณอนาลอกไประยะไกลๆ จึงต้องอาศัยเครื่องขยายสัญญาณ หรือ แอมปลิไฟเออร์ ( Amplifier) เพื่อเพิ่มพลังงาน
  • 9. สัญญาณแบบดิจิตอล (Digital) สัญญาณดิจิตอล (Digital signal)คือ สัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง โดย รูปแบบของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลง ที่ไม่ปะติดปะต่อกัน อัตราการส่งขอ้มูลมีหน่วยเป็น bps หรือ Bit Per Second
  • 10. การส่งขอ้มูลแบบดิจิตอล (Digital Transmission) ส่วนในการส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะสนใจทุกสิ่งทุกอย่างมาบรรจุใน สัญญาณ เพื่อระยะทางเพิ่มขนึ้มากขนึ้ จะทา ให้สัญญาณดิจิตอลจางหาย ไปได้ จึงจาเป็ นต้องใช้อุปกรณ์ทบทวนสัญญาณหรือ รีพีตเตอร์ (Repeater) เพื่อกู้ (Recover) รูปแบบของสัญญาณที่มีลักษณะ เป็น " 1 " และ " 0 " เสียก่อน แล้วจึงส่งสัญญาณใหม่ต่อไป สามารถนา เอาอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณมาใช้กับกับการส่งสัญญาณมา ใช้กับการส่งสัญญาณอนาลอกที่มีข้อมูลเป็นแบบดิจิตอลได้ เครื่อง ทบทวนสัญญาณจะกู้ข้อมูลดิจิตอลจากสัญญาณอนาลอกและสร้าง สัญญาณขึ้นมาใหม่ แล้วลบสัญญาณอนาลอกที่ส่งมาด้วยออกไป ดั้ง นนั้จะ ไม่มีสัญญาณรบกวนที่ติดมากับสัญญาณอนาลอกหลงเหลืออยู่ เลย
  • 11. การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณอนาลอก (D/A) สา หรบัเทคนิคการแปลงสัญญาณขอ้มูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาลอกนนั้มี อยู่ด้วยกัน 3 วิธีคือ
  • 12. การแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอล (A/D) สามารถส่งผ่านสัญญาณดิจิตอลสู่ช่องทางสื่อสารดิจิตอลได้โดยตรง เช่น ใน ระบบเครือข่าย ISDN หรือไปรษณีย์อิเลคทรอนิกส์ ( E-Mail or Electronic Mail) เป็นต้น เราสามารถส่งสัญญาณดิจิตอล ที่ออกจากคอมพิวเตอร์สู่เครือข่ายได้ โดยตรง ไม่ต้องผ่านโมเด็มและในทา นองเดียวกัน เทคนิคในการเปลี่ยนแปลงสัญญาณอนาล็อก เป็นสัญญาณดิจิตอล แบ่ง 2 วิธีคือ PAM PCM
  • 13. การเปรียบเทียบการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกกับแบบดิจิตอล 1. สัญญาณรบกวน (Noise) ที่เกิดขนึ้ในการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกจะถูก " ขยาย " เมื่อสัญญาณถูกขยาย แต่สา หรับการส่งสัญญาณแบบ ดิจิตอลจะไม่มี การขยายสัญญาณแต่จะเป็นการ " ทบทวน " สัญญาณใหม่ให้กลับมาเหมือนเดิม 2. การมัลติเพล็กซ์ การส่งสัญญาณขอ้มูลจากแหล่งกา เนิดหลายแหล่ง โดยผ่าน ตัวกลางสายส่งเดียวกันเป็นวิธีทีประหยัดค่าใช้จ่าย เพียงแต่มี เทคนิคที่เรียกว่า " การมัลติเพล็กซ์ " ( Multiplex ) และ " การดีมัลติเพล็กซ์ " ( Demultiplex ) เพื่อ แยกแต่ละสัญญาณออกจากกันเมอื่สัญญาณ ทงั้หมดถึงปลายทาง ค่าใช้จ่ายใน การมัลติเพล็กซ์และดีมัลติเพล็กซ์สัญญาณในการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกนนั้ แพงกว่าที่ใช้ในการส่งสัญญาณ แบบดิจิตอลมาก 3. ความเร็ว (Speed) ความเร็วในการส่งสัญญาณขอ้มูลในเครือข่ายแบบดิจิตอล สามารถทา ได้เร็ว และส่งได้มากกว่าในเครือข่ายแบบอนาล็อก แนวโนม้ ปัจจุบันและ อนาคตของการส่งขอ้มูลในระบบเครือข่ายจะเป็นแบบดิจิตอลมากขนึ้กว่าแบบ อนาล็อก
  • 14. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสัญญาณ Analog และ สัญญาณ Digital สรุปได้ว่าสัญญาณ Digital เปรียบเสมือนการเปลี่ยน รูปแบบจากสัญญาณ Analog ที่เป็นสัญญาณ คลื่นให้ เป็นสัญญาณไฟฟ้าความแตกต่างของระบบระบบกล้อง วงจรปิด CCTV ระหว่าง Analog, IP, และ HD-SDIทุกวันนี้ ระบบโทรทัศน์วงจรปิด หรือเรียกกันติดปากว่าระบ บ กล้องวงจรปิด CCTV ได้ถูกนา มาใชด้้วย
  • 17. ขอ้ดีและขอ้เสียของระบบอนาล็อกและดิจิตอล 1. การแสดงผลทาให้เข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างเช่น การแสดงผลของ แรงดันไฟฟ้ าเป็นตัวเลขจาก เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้ า 2. การควบคุมทา ได้ง่าย ตัวอย่างเช่นระบบควบคุมอุณหภูมิของเตาเผาที่มีระบบ ดิจิตอลเขา้มา เกี่ยวขอ้ง 3. ความเที่ยงตรง วงจรอนาลอก ทา ให้มีความเที่ยงตรงสูงได้ยาก 4. ผลกระทบต่อการส่งในระยะไกล เมื่อมีการส่งสัญญาณออกไปในระยะไกล ๆ ตามสายส่งหรือเป็นคลื่นวิทยุ จะมีการรบกวนเกิดขึ้นได้ง่าย เรียกว่า นอยส์ (noise) ตัวอย่างเช่น การส่งสัญญาณไปยัง ดาวเทียม 5. ความเชื่อมั่น สัญญาณดิจิตอลมีค่าความผิดพลาดน้อยกว่าสัญญาณ อนาลอก ทาให้วงจรที่ทางานด้วยสัญญาณดิจิตอล มีความเชื่อถือได้ มากกว่า
  • 18. เอกสารอ้างอิง Data Communication.(9 พฤษภาคม 2557). Available URL: http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom2/Contents/Chapters/Data_communication.htm การแลกเปลี่ยนขอ้มูลระหว่างธนาคารกับเครื่อง ATM.(9 พฤษภาคม 2557). Available URL: http://sirinuj.net/webdream/ITUnit_11.html สัญญาณแบบอนาล็อก (Analog).( 10 พฤษภาคม 2557). Available URL: http://www.med.cmu.ac.th/eiu/informatics/COMM/Life/Data%20communication/analog.htm สัญญาณอนาล็อก (Analog signal).( 10 พฤษภาคม 2557). Available URL: http://reg.ksu.ac.th/teacher/songgrod/4123702/content/lesson1/102.html สัญญาณแบบดิจิตอล (Digital) . (10 พฤษภาคม 2557). Available URL: http://reg.ksu.ac.th/teacher/songgrod/4123702/content/lesson1/102.html การส่งสัญญาณขอ้มูลแบบดิจิตอล. (10 พฤษภาคม 2557). Available URL: http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom/analoganddigital.htm การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณอนาลอก (D/A) .(10 พฤษภาคม 2557). Available URL: http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom/analoganddigital.htm