SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงาน
วิชา...การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง... การสื่อสารข้อมูล
เสนอ
อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ
จัดทาโดย
นางสาวศิริประภา ดามูสิด
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 เลขที่ 27
โรงเรียนรัษฎานุประดิษณ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล ซึ่งเป็น การรับ -ส่ง โอน ย้าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์
สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อนาข้อมูล โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็น
ตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงาน
เล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆไม่มากก็น้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย
จัดทาโดย
นางสาว ศิริประภา ดามูสิด
สารบัญ
เรื่อง
การสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล
ชนิดของการสื่อสาร
การเชื่อมต่อของสายสื่อสาร
วิธีการสื่อสารข้อมูล
ทิศทางการส่งข้อมูล
ตัวกลางการสื่อสาร
หลักเกณฑ์การพิจารณาเลือกสื่อนาข้อมูล
อ้างอิง

หน้า
1
2
3
6
7

8
9
11
12
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง

และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล
เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน

องค์ประกอบของการสื่อสาร
ในช่วงแรกของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบมาให้ทางานเป็นระบบ
เดี่ยว (Stand-alone) ต่อมาได้มีการพัฒนา อุปกรณ์สื่อสารและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถใน
การทางานที่หลากหลายมากขึ้น การนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อเพื่อการสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลและข่าวสารจึง
ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ

การสื่อสารข้อมูล (data communication) คือการรับ -ส่ง โอน ย้าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและ
สารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อนาข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) คือการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมา
เชื่อมต่อ เพื่อใช้ในการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบของการสื่อสาร
โดยทั่วไป การสื่อสารข้อมูลมีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้
1. ผู้ส่งข้อมูล (sender) คือสิ่งที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ต้องการ
2. ผู้รับข้อมูล (receiver) คือสิ่งที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้
3. ข้อมูล (data) คือข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล ข้อมูลอาจอยู่ในรูป
ของข้อ
ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และอื่น ๆ
4. สื่อนาข้อมูล (medium) คือสิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่ายข้อมูลจากผู้ส่งข้อมูล
ไป
ยังผู้รับข้อมูล เช่น สายเคเบิ้ล สายใยแก้วนาแสง อากาศ ฯลฯ
5. โปรโตคอล (protocol) คือกฎหรือวิธีที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล ซึ่งผู้ส่งข้อมูล
จะต้องส่งข้อมูลในรูปแบบตามวิธีการสื่อสาร ที่ตกลงไว้กับผู้รับข้อมูล จึงจะสามารถ
สื่อสารข้อมูลกันได้ (คาว่า "protocol" เป็นคาที่มักสะกดกันผิด เป็น "protocal")
ตัวอย่างการสื่อสารข้อมูลด้วยโทรศัพท์
 ผู้ส่งข้อมูล : ผู้ที่ทาการส่งข้อความในรูปแบบของเสียงรวมถึงตัวเครื่องโทรศัพท์ที่ใช้ในการติดต่อ
ด้วย
 ผู้รับข้อมูล : ผู้ที่ทาการรับข้อความเสียงรวมถึงตัวเครื่องโทรศัพท์ที่ใช้ในการรับข้อมูลด้วย
 ข้อมูล : ข่าวสารที่ถูกส่งในการสนทนาระหว่างสองฝ่าย ในรูปแบบของเสียง
 สื่อนาข้อมูล: สายโทรศัพท์ ชุมสายโทรศัพท์
 โปรโตคอล: ในการเริ่มการสื่อสาร (establishment) ผู้เริ่ม (ผู้โทร) จะต้องแนะนาตัวก่อน ใน
ระหว่าง การสนทนา ทั้งสองฝ่ายจะผลัดกันเป็นผู้ส่ง และผู้รับข้อมูล เมื่อผู้ส่งพูดจบ ให้เว้นจังหวะ
ให้ผู้สนทนาพูดตอบ ถ้ารับข้อมูลไม่ชัดเจนให้ทาการแก้ไขข้อผิดพลาด (error detection) ด้วยการ
ส่งข้อความว่า " อะไรนะ?" เพื่อให้คู่สนทนาส่งข้อมูลซ้าอีกครั้ง ในการจบการสื่อสาร
(termination) ให้พูดคาว่า " แค่นี้นะ" และอีกฝ่ายตอบว่า " ตกลง " เป็นการตอบรับ
(acknowledgement)
ในบางกรณี ผู้ส่งข้อมูลอาจเปลี่ยนสถานะเป็นผู้รับข้อมูล เช่น การสื่อสารข้อมูลด้วยโทรศัพท์ เมื่อฝ่าย
หนึ่งเป็นผู้ส่งข้อมูลไปให้แล้ว ฝ่ายรับข้อมูลได้ส่งข้อมูลกลับมาให้ ในขณะนั้น ผู้ส่งข้อมูลจะเปลี่ยนสถานภาพ
เป็นผู้รับข้อมูล
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
ชนิดของสัญญาณข้อมูล สามารจาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. สัญญาณแอนะล็อก (analog signal)
เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถีและความ
เข้มของสัญญาณที่แตกต่างกัน เมื่อนาสัญญาณ ข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปรงสัญญาณ ก็จะได้
ข้อมูลที่ต้องการได้ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนะล็อกคือ การส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์

เฮริตซ์ (hertz) คือ หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก วิธีวัดความถี่จะนับจานวน
รอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น สัญญาณข้อมูลที่มีความถี่ 60 Hz หมายถึงใน 1 วินาที สัญญาณ
มีการเปลี่ยนแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ (ขึ้นและลงนับเป็น 1 รอบ)
2. สัญญาณดิจิตอล (digital signal)
สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปแบบของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่อ
อย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่อสาร ด้วยสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง (0
และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิตอล การแทนข้อมูลดิจิตอลด้วยสัญญาณดิจิตอล มีหลายแบบ แบบที่แสดง
ไว้ในรูปที่ 6.4 เรียกว่า Unipolar เป็นวิธีที่แทนบิตข้อมูล 0 ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นกลาง และบิตข้อมูล 1
ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นบวก
Bit rate เป็นอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วิธีวัดความเร็วจะนับจานวนบิตข้อมูลที่ส่ง
ได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400 bps หมายถึง มีความเร็วในการส่งข้อมูลจานวน 14,400 บิต ใน
ระยะเวลา 1 วินาที

โมเด็ม (MODULATION DEMODULATION หรือ MODEM)
โมเด็ม (modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณ
แอนะล็อก เรียกขั้นตอนนี้ว่า modulation และทาหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตอลเพื่อ
คอมพิวเตอร์จะได้นาไปประมวลผล ขั้นตอนนี้เรียกว่า demodulation
โดยปกติ สายโทรศัพท์ถูกออกแบบมาเพื่อส่งสัญญาณแอนะล็อก แต่เนื่องจากการสื่อสารของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณดิจิตอล จึงจาเป็นต้องใช้โมเด็มในการแปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ที่เป็นสัญญาณ
ดิจิตอลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เพื่อจะได้ส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ และเมื่อข้อมูลไปถึงผู้รับข้อมูล
โมเด็มของผู้รับข้อมูลจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลแอนะล็อกที่รับมาทางสายโทรศัพท์กลับไปเป็นข้อมูลดพิจิตอล
ดังเดิม
ความเร็วในการสื่อสารข้อมูลของโมเด็มวัดเป็นบิตต่อวินาที (bit per second หรือ bps) ความเร็วของ
โมเด็มโดยทั่วไปในปัจจุบันมีความเร็วเป็น 56 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps) ความเร็วของโมเด็มที่สูงกว่าจะ
สามารถรับและส่งข้อมูลได้เร็วกว่า
โมเด็มสามารถจาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ โมเด็มแบบภายนอก (external modem) โมเด็มภายใน
(internal modem) และโมเด็มไร้สาย (wireless modem)
1.โมเด็มภายนอก
เป็นอุปกรณ์ที่แยกออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ และเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทางพอร์ตอนุกรม
(serial port) ด้วยสายเคเบิ้ล โมเด็มภายนอกมีข้อดีคือเคลื่อนย้ายได้ง่าย
2.โมเด็มภายใน
เป็นการ์ดที่ใช้เสียบกับแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ โมเด็มภายในช่วยประหยัดพื้นที่ใช้งาน และราคา
ถูกกว่าโมเด็มภายนอก

3.โมเด็มไร้สาย
มีลักษณะคล้ายกับโมเด็มภายนอก โดยโมเด็มภายนอกจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ทาง serial port
โดยใช้สายทางโทรศัพท์ ในขณะที่โมเด็มไร้สายจะไม่ใช้สายโทรศัพท์เพื่อเชื่อมต่อ แต่จะสื่อสารโดยใช้คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อ

การเชื่อมต่อสายสื่อสาร
การเชื่อมต่อของสายสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นสองประเภท ดังนี้
1. การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบจุดต่อจุด (point-to-point)
การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบจุดต่อจุด เป็นการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สื่อสารสองตัวเท่านั้น อุปกรณ์
สื่อสารสองตัวที่เชื่อมต่อแบบนี้ จะใช้ความสามารถ ของสื่อส่งข้อมูลอย่างเต็มที่ในขณะที่อุปกรณ์ผู้ส่งพร้อมจะ
ส่งข้อมูล และอุปกรณ์ผู้รับพร้อมจะรับข้อมูล การสื่อสารสามารถเกิดขึ้นได้ทันที เพราะสื่อส่งข้อมูล ที่อุทิศฯ
ให้กับสื่อสารระหว่างอุปกรณ์สองตัว ย่อมพร้อมทาหน้าที่อยู่เสมอ การเชื่อมต่อแบบนี้อาจใช้สื่อที่เป็นสายหรือ
สื่อไร้สายก็ได้ ตามปกติ การสื่อสาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์ก็เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด
คือ เมื่อเครื่องพิมพ์พร้อมจะรับข้อมูล และเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมจะส่งข้อมูล ก็สามารถสื่อสารกันได้ทันที
2. การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบหลายจุด(multipoint)
การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบหลายจุด เป็นการเชื่อมต่อที่มีอุปกรณ์สื่อสารมากกว่าสองตัวแบ่งกันใช้สื่อ
ส่งข้อมูลเดียวกัน ในการเชื่อมต่อแบบนี้ สื่อส่งข้อมูลจะถูกแบ่งด้วยเวลา หรือความสามารถ
การแบ่งกันใช้สื่อด้วยเวลา หมายถึง อุปกรณ์ (มากกว่าสองตัว ) ที่เชื่อมอยู่กับสื่อจะผลัดเปลี่ยนกันใช้
สื่อเมื่อสื่อว่างอยู่จึงจะสามารถเริ่มต้นการสื่อสารได้ หรืออาจจะเป็นการผลัดเปลี่ยนกันอย่างสม่าเสมอ เช่น
ผลัดกันใช้สื่อทุก ๆ 0.5 วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 0.5 วินาที เครื่องหนึ่งจะมีสิทธิใช้สื่อเพื่อส่งข้อมูล และเมื่อ 0.5
วินาทีของเครื่องนั้นหมดลง เครื่องถัดไปก็มีสิทธิใช้สื่อส่งข้อมูล เป็นต้น การแบ่งตามเวลาอาจจะไม่เสมอภาค
กันสาหรับอุปกรณ์ทุกตัว ขึ้นอยู่กับการให้ความสาคัญ (priority) กับอุปกรณ์แต่ละตัว ในระบบที่ใช้แบ่ง
ความสามารถของสื่อ อุปกรณ์ทุกตัวจะใช้สื่อได้เมื่อต้องการ แต่จะใช้ความสามารถไม่เต็มที่ ซึ่งจะส่งผลให้
ความเร็วในการสื่อสารลดลง เมื่อเทียบกับการใช้สื่ออย่างเต็มความสามารถ

วิธีการสื่อสารข้อมูล (DATA TRANSMISSION)
ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รูปแบบคือ การสื่อสารแบบอนุกรม (serial data transmission)
และการสื่อสารแบบขนาน (parallel data transmission) การสื่อสารแต่ละรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้
1. การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรม (serail data transmission)
เป็นการส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้กับ
สื่อนาข้อมูลที่มีเพียง 1 ช่องสัญญาณได้ สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคาถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มี
หลายช่องสัญญาณ และเนื่องจากการสื่อสารแบบอนุกรมมีการส่งข้อมูลได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูล
ประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิต

2. การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน (parallel data transmission)
เป็นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ วิธีนี้จะเป็น
วิธีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่าการส่งข้อมูลแบบอนุกรม จากรูปที่ 6.10 เป็นการแสดงการสื่อสารข้อมูลระหว่าง
อุปกรณ์ 2 ตัว ที่มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่งข้อมูลครั้งละ 8 บิตพร้อมกัน

รูปแบบการสื่อสารข้อมูล (MODES OF DATA TRANSMISSION)
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission)
เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด
ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุด ๆ เมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมี
สีญญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต
(stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลาดับดังนี้คือ
สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิต ข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบ
ไม่ประสานจังหวะ เช่น การส่งข้อมูลของแป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น
2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission)
เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดย
ใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้น การส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง (gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละ
ชุด และไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ นิยม ใช้กับ การส่งข้อมูล
ของระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการส่งข้อมูลปริมาณมาก ๆ ด้วยความเร็วสูง

ทิศทางการส่งข้อมูล ( TRANSMISSION MODE )
การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกทิศทางการส่งข้อมูลเป็น 3 รูปแบบดังนี้
1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ทาหน้าที่ส่งเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่รับข้อมูลเพียงอย่างเดียว
ด้วยเช่นเดียวกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่นการส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณ
โทรทัศน์จะทาหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทาหน้าที่ รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน
2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ( half-duplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและ
ผู้รับข้อมูล จะเป็นผู้ส่งข้อมูลพร้อมกัน ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การสื่อสารแบบวิทยุ
สื่อสาร ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลที่จะส่งข้อมูลต้องกดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะเป็นผู้รับข้อมูล
3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน( full- duplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่ง
และผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน ลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน
เช่น การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์ ซึ่งทั้งสอองฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ ในเวลาเดียวกัน
โดยปกติการสื่อสาารข้อมุลส่วนใหญ่จะไม่ใช้การส่งข้อมุลแบบสองทิศทางพร้อมกันตัวอย่าง เช่น การ
ใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูล ได้สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังคงต้องสลับกันพูด อีกตัวอย่าง
หนึ่งคือ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งบางครังดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทาง พร้อมกัน แต่ในความเป็น
จริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้เป็นช่วงเวลาที่เร็วมาก จึงดูเหมือนว่า
เป็นการส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน

ตัวกลางการสื่อสาร ( COMMUNICATION MEDIA )
ตัวกลางการสื่อสาร เป็นสื่อที่ต่อเชื่อมการสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับข้อมูล ตังกลางที่ใช้ในการ
สื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก คือสื่อนาข้อมูลแบบมีสาย ( wired media )และสื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย
( wireless media )
1. สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย ( wired media ) สื่อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้ มี 3 ชนิดดังนี้
1.1 สายคู่บิตเกลียว ( twisted-pair cable )
สายคู่บิตเกลียว เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า สายแต่ละเส้นมีลักษณะคล้ายสายไฟทั่งไป
จานวนสายจะมีเป็นคู่ เช่น 2 ,4 หรือ 6 เส้น แต่ละคู่จะมีการพันบิดกันเป็นเกลียว การบิดเกลียวนี้จะช่วยลด
สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล ทาให้สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ สายสัญญาณคู่บิดเกลียวมี
ความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 Hz ถึง 5 MHz ลักษณะของสายสัญญาณชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ สายคู่
บิดเกลียว แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้ม (unshielded twisted-pair หรือ UTP ) และสายคู่บิดเกลียวแบบมีชั้น
โลหะห่อหุ้ม ( shielded twisted-pair หรือ STP ) สารับสายคู่บิดเกลียวแบบมีชั้นดลหะห่อหุ้มจะมีชั้นโลหะ
ทีทาหน้าทีเ่ ป็นเกราะหุ้มเพือป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้
่
่

1.2 สายโคแอกเชียล ( coaxial cable )
สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz
ถึง 500 MHz สาายโคแอกเชียลมีความเร็ว ในการส่งข้อมูลและมีราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว ลักษณะของ
สายโคแอกเชียลเป็นสายนาสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มเป็นชั้นๆ หลายชั้นสลับกับตัวโลหะ ตัวนาโลหะชั้นในทาหน้าที่
ส่งสัญญาณ ส่วนตัวนาโลหะชั้นนอกทาหน้าที่เป็นสายดิน และเป็นเกราะป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก ทา
ให้มีสัญญาณรบกวนตัวนาชั้นในน้อย จึงส่งข้อมูลได้ในระยะไกล
1.3 สายใยแก้วนาแสง ( optical fiber cable )
สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรือสารนาแสงห่อหุ้มวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งข้อมูล
เท่ากับความเร็วแสง สามารถใช้ในการส่งข้อมูล ที่มีความถี่สูงได้ สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือแสง
และสัญญาณรบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก ดังนั้นสายใย แก้วนาแสงที่มีสภาพดี
จะมีสัญญาณรบกวนน้อยมาก สายใยแก้วนาแสงมีราคาค่อนข้างสูงและดูแลรักษายากจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมสาหรับ
การใช้งานสื่อสารทั่วๆ ไปในองค์การขนาดเล็ก หรือในการสื่อสารที่ไม่ต้องการความเร็วสูง
2. สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย ( wireless media ) การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของ
การสื่อสาร ลักษณะของการสื่อสารข้อมูลประเภทนี้ เช่น
2.1 สัญญาณวิทยุ ( radio wave )
สัญญาณวิททยุเป็นสื่อประเภทไร้สาย ( wireless media ) ที่มีการส่งข้อมุลเป็นสัญญาณคลื่อ
ออนวิททยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ จึงทาให้ถูกสภาพแวดล้อมรบกวนข้อมูลได้ในช่วงที่สภาพอากาศ
ไม่ดี การส่งสัญญาณวิธีนี้จะช่วยส่งข้อมูลในระยะทางไกล หรือในสภาพภูมิประเทศที่ไม่เอื้ออานวยในการใช้
สายส่งข้อมูล สัญญาณคลื่นวิทยุสามารถแบ่งตามช่วงความถี่ได้ดังนี้
2.2 ไมโครเวฟภาคพื้นดิน ( terrestrial microwave )
ไมโครเวฟภาคพื้นดิน เป็นการสื่อสารโดยใช้สื่อนาข้อมูลแบบไร้สายอีกประเภทหนึ่ง การสื่อสาร
ประเภทนี้จะมีการส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่างๆ กันทาการส่งส่งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล ในกรณี
ที่ระยะทางห่างกันมาก หรือมีสิ่งกีดขวางสัญญาณ จะต้องใช้สถานีทวนสัญญาณ ( repeater station )เพื่อการ
ส่งสัญญาณเป็นช่วงๆ การสื่อสารประเภทนี้สามารถส่งข้อมูลปริมาณมากได้ แต่ในบางครั้งอาจถูกสภาพแวดล้อม
รบกวนได้เช่นกัน โดยเฉพาะในช่วงฝนตกหรือมีพายุ จะทาให้การส่งข้อมูลทาได้ไม่ดีนัก

2.3 การสื่อสารผ่านดาวเทียม ( satellite communication )
การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นการสื่อสรจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดย
ดาวเททียมจะทาหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยังสถานีภาคพื้นดินอื่นๆ ระยะทางจาก
โลกถึงดาวเทียมประมาย 22,000 ไมล์ ซึ่งเป็นระยะทางที่ไกลมาก ทาให้ข้อมูลที่ส่งไปยังดาวเทียมเกิดความล่าช้า
ขึ้นได้ โดยเฉลี่ยความล่าช้าที่เกิดขึ้นมีค่าประมาณ 2 วินาที การส่งข้อมูลวิธีนี้จะทาให้ส่งข้อมูล ที่มีระยะทางไกล
มากๆ ได้ การสื่อสารผ่านดาวเทียมนิยมใช้สาหรับการสื่อสารระหว่างประเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณาเลือกสื่อนาข้อมูล
ในการเลือกสื่อนาข้อมูลเพื่อใช้ในระบบสื่อสาร ควรคานึงถึงคุณสมบัติของสื่อนาข้อมูลดังต่อไปนี้
1. ราคา
2. ความเร็ว
3. ระยะทาง
4. สัญญาณรบกวนที่อาจจะเกิดขึ้น
5. ความปลอดภัยของข้อมูล
อ้างอิง
www.bcoms.net/temp/lesson6.asp
www.bs.ac.th/2548/e_bs/G7/raim/in2page1.html‎
www.chakkham.ac.th/technology/network/datacommu.html‎

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรด
โครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรดโครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรด
โครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรดFed Pij
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Weina Fomedajs
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานnoeypornnutcha
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูโครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูPanuwat Poowichai
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Pathitta Satethakit
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกมjutamart muemsittiprae
 

What's hot (20)

ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรด
โครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรดโครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรด
โครงงานคอมพิวเตอร์สัปปะรด
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
กาแฟ
กาแฟกาแฟ
กาแฟ
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูโครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
 

Similar to รายงานการสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์L'Lig Tansuda Yongseng
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลBanjamasJandeng21
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลKanokwan Kanjana
 
ใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ
ใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ
ใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพpeter dontoom
 
การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1AdisukPuntong8
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 

Similar to รายงานการสื่อสารข้อมูล (20)

การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
 
เครือข่าย
เครือข่ายเครือข่าย
เครือข่าย
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ
ใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ
ใบความรู้การสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ
 
การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1การสื่อสารข้อมู1
การสื่อสารข้อมู1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

รายงานการสื่อสารข้อมูล

  • 1. รายงาน วิชา...การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง... การสื่อสารข้อมูล เสนอ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาวศิริประภา ดามูสิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 เลขที่ 27 โรงเรียนรัษฎานุประดิษณ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล ซึ่งเป็น การรับ -ส่ง โอน ย้าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์ สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อนาข้อมูล โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็น ตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงาน เล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย จัดทาโดย นางสาว ศิริประภา ดามูสิด
  • 4. การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน องค์ประกอบของการสื่อสาร ในช่วงแรกของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบมาให้ทางานเป็นระบบ เดี่ยว (Stand-alone) ต่อมาได้มีการพัฒนา อุปกรณ์สื่อสารและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถใน การทางานที่หลากหลายมากขึ้น การนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อเพื่อการสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลและข่าวสารจึง ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ การสื่อสารข้อมูล (data communication) คือการรับ -ส่ง โอน ย้าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและ สารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อนาข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) คือการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมา เชื่อมต่อ เพื่อใช้ในการสื่อสารข้อมูล
  • 5. องค์ประกอบของการสื่อสาร โดยทั่วไป การสื่อสารข้อมูลมีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้ 1. ผู้ส่งข้อมูล (sender) คือสิ่งที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ต้องการ 2. ผู้รับข้อมูล (receiver) คือสิ่งที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้ 3. ข้อมูล (data) คือข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล ข้อมูลอาจอยู่ในรูป ของข้อ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และอื่น ๆ 4. สื่อนาข้อมูล (medium) คือสิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่ายข้อมูลจากผู้ส่งข้อมูล ไป ยังผู้รับข้อมูล เช่น สายเคเบิ้ล สายใยแก้วนาแสง อากาศ ฯลฯ 5. โปรโตคอล (protocol) คือกฎหรือวิธีที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล ซึ่งผู้ส่งข้อมูล จะต้องส่งข้อมูลในรูปแบบตามวิธีการสื่อสาร ที่ตกลงไว้กับผู้รับข้อมูล จึงจะสามารถ สื่อสารข้อมูลกันได้ (คาว่า "protocol" เป็นคาที่มักสะกดกันผิด เป็น "protocal") ตัวอย่างการสื่อสารข้อมูลด้วยโทรศัพท์  ผู้ส่งข้อมูล : ผู้ที่ทาการส่งข้อความในรูปแบบของเสียงรวมถึงตัวเครื่องโทรศัพท์ที่ใช้ในการติดต่อ ด้วย  ผู้รับข้อมูล : ผู้ที่ทาการรับข้อความเสียงรวมถึงตัวเครื่องโทรศัพท์ที่ใช้ในการรับข้อมูลด้วย  ข้อมูล : ข่าวสารที่ถูกส่งในการสนทนาระหว่างสองฝ่าย ในรูปแบบของเสียง  สื่อนาข้อมูล: สายโทรศัพท์ ชุมสายโทรศัพท์  โปรโตคอล: ในการเริ่มการสื่อสาร (establishment) ผู้เริ่ม (ผู้โทร) จะต้องแนะนาตัวก่อน ใน ระหว่าง การสนทนา ทั้งสองฝ่ายจะผลัดกันเป็นผู้ส่ง และผู้รับข้อมูล เมื่อผู้ส่งพูดจบ ให้เว้นจังหวะ ให้ผู้สนทนาพูดตอบ ถ้ารับข้อมูลไม่ชัดเจนให้ทาการแก้ไขข้อผิดพลาด (error detection) ด้วยการ ส่งข้อความว่า " อะไรนะ?" เพื่อให้คู่สนทนาส่งข้อมูลซ้าอีกครั้ง ในการจบการสื่อสาร (termination) ให้พูดคาว่า " แค่นี้นะ" และอีกฝ่ายตอบว่า " ตกลง " เป็นการตอบรับ (acknowledgement) ในบางกรณี ผู้ส่งข้อมูลอาจเปลี่ยนสถานะเป็นผู้รับข้อมูล เช่น การสื่อสารข้อมูลด้วยโทรศัพท์ เมื่อฝ่าย หนึ่งเป็นผู้ส่งข้อมูลไปให้แล้ว ฝ่ายรับข้อมูลได้ส่งข้อมูลกลับมาให้ ในขณะนั้น ผู้ส่งข้อมูลจะเปลี่ยนสถานภาพ เป็นผู้รับข้อมูล
  • 6. ชนิดของสัญญาณข้อมูล ชนิดของสัญญาณข้อมูล สามารจาแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถีและความ เข้มของสัญญาณที่แตกต่างกัน เมื่อนาสัญญาณ ข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปรงสัญญาณ ก็จะได้ ข้อมูลที่ต้องการได้ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนะล็อกคือ การส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์ เฮริตซ์ (hertz) คือ หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก วิธีวัดความถี่จะนับจานวน รอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น สัญญาณข้อมูลที่มีความถี่ 60 Hz หมายถึงใน 1 วินาที สัญญาณ มีการเปลี่ยนแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ (ขึ้นและลงนับเป็น 1 รอบ) 2. สัญญาณดิจิตอล (digital signal) สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปแบบของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่อ อย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่อสาร ด้วยสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง (0 และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิตอล การแทนข้อมูลดิจิตอลด้วยสัญญาณดิจิตอล มีหลายแบบ แบบที่แสดง ไว้ในรูปที่ 6.4 เรียกว่า Unipolar เป็นวิธีที่แทนบิตข้อมูล 0 ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นกลาง และบิตข้อมูล 1 ด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นบวก
  • 7. Bit rate เป็นอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วิธีวัดความเร็วจะนับจานวนบิตข้อมูลที่ส่ง ได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400 bps หมายถึง มีความเร็วในการส่งข้อมูลจานวน 14,400 บิต ใน ระยะเวลา 1 วินาที โมเด็ม (MODULATION DEMODULATION หรือ MODEM) โมเด็ม (modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณ แอนะล็อก เรียกขั้นตอนนี้ว่า modulation และทาหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตอลเพื่อ คอมพิวเตอร์จะได้นาไปประมวลผล ขั้นตอนนี้เรียกว่า demodulation โดยปกติ สายโทรศัพท์ถูกออกแบบมาเพื่อส่งสัญญาณแอนะล็อก แต่เนื่องจากการสื่อสารของเครื่อง คอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณดิจิตอล จึงจาเป็นต้องใช้โมเด็มในการแปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ที่เป็นสัญญาณ ดิจิตอลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เพื่อจะได้ส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ และเมื่อข้อมูลไปถึงผู้รับข้อมูล โมเด็มของผู้รับข้อมูลจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลแอนะล็อกที่รับมาทางสายโทรศัพท์กลับไปเป็นข้อมูลดพิจิตอล ดังเดิม ความเร็วในการสื่อสารข้อมูลของโมเด็มวัดเป็นบิตต่อวินาที (bit per second หรือ bps) ความเร็วของ โมเด็มโดยทั่วไปในปัจจุบันมีความเร็วเป็น 56 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps) ความเร็วของโมเด็มที่สูงกว่าจะ สามารถรับและส่งข้อมูลได้เร็วกว่า โมเด็มสามารถจาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ โมเด็มแบบภายนอก (external modem) โมเด็มภายใน (internal modem) และโมเด็มไร้สาย (wireless modem) 1.โมเด็มภายนอก เป็นอุปกรณ์ที่แยกออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ และเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทางพอร์ตอนุกรม (serial port) ด้วยสายเคเบิ้ล โมเด็มภายนอกมีข้อดีคือเคลื่อนย้ายได้ง่าย
  • 8. 2.โมเด็มภายใน เป็นการ์ดที่ใช้เสียบกับแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ โมเด็มภายในช่วยประหยัดพื้นที่ใช้งาน และราคา ถูกกว่าโมเด็มภายนอก 3.โมเด็มไร้สาย มีลักษณะคล้ายกับโมเด็มภายนอก โดยโมเด็มภายนอกจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ทาง serial port โดยใช้สายทางโทรศัพท์ ในขณะที่โมเด็มไร้สายจะไม่ใช้สายโทรศัพท์เพื่อเชื่อมต่อ แต่จะสื่อสารโดยใช้คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อ การเชื่อมต่อสายสื่อสาร การเชื่อมต่อของสายสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นสองประเภท ดังนี้ 1. การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบจุดต่อจุด (point-to-point) การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบจุดต่อจุด เป็นการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สื่อสารสองตัวเท่านั้น อุปกรณ์ สื่อสารสองตัวที่เชื่อมต่อแบบนี้ จะใช้ความสามารถ ของสื่อส่งข้อมูลอย่างเต็มที่ในขณะที่อุปกรณ์ผู้ส่งพร้อมจะ ส่งข้อมูล และอุปกรณ์ผู้รับพร้อมจะรับข้อมูล การสื่อสารสามารถเกิดขึ้นได้ทันที เพราะสื่อส่งข้อมูล ที่อุทิศฯ ให้กับสื่อสารระหว่างอุปกรณ์สองตัว ย่อมพร้อมทาหน้าที่อยู่เสมอ การเชื่อมต่อแบบนี้อาจใช้สื่อที่เป็นสายหรือ สื่อไร้สายก็ได้ ตามปกติ การสื่อสาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์ก็เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด คือ เมื่อเครื่องพิมพ์พร้อมจะรับข้อมูล และเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมจะส่งข้อมูล ก็สามารถสื่อสารกันได้ทันที 2. การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบหลายจุด(multipoint) การเชื่อมต่อสายสื่อสารแบบหลายจุด เป็นการเชื่อมต่อที่มีอุปกรณ์สื่อสารมากกว่าสองตัวแบ่งกันใช้สื่อ ส่งข้อมูลเดียวกัน ในการเชื่อมต่อแบบนี้ สื่อส่งข้อมูลจะถูกแบ่งด้วยเวลา หรือความสามารถ การแบ่งกันใช้สื่อด้วยเวลา หมายถึง อุปกรณ์ (มากกว่าสองตัว ) ที่เชื่อมอยู่กับสื่อจะผลัดเปลี่ยนกันใช้ สื่อเมื่อสื่อว่างอยู่จึงจะสามารถเริ่มต้นการสื่อสารได้ หรืออาจจะเป็นการผลัดเปลี่ยนกันอย่างสม่าเสมอ เช่น ผลัดกันใช้สื่อทุก ๆ 0.5 วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 0.5 วินาที เครื่องหนึ่งจะมีสิทธิใช้สื่อเพื่อส่งข้อมูล และเมื่อ 0.5 วินาทีของเครื่องนั้นหมดลง เครื่องถัดไปก็มีสิทธิใช้สื่อส่งข้อมูล เป็นต้น การแบ่งตามเวลาอาจจะไม่เสมอภาค กันสาหรับอุปกรณ์ทุกตัว ขึ้นอยู่กับการให้ความสาคัญ (priority) กับอุปกรณ์แต่ละตัว ในระบบที่ใช้แบ่ง
  • 9. ความสามารถของสื่อ อุปกรณ์ทุกตัวจะใช้สื่อได้เมื่อต้องการ แต่จะใช้ความสามารถไม่เต็มที่ ซึ่งจะส่งผลให้ ความเร็วในการสื่อสารลดลง เมื่อเทียบกับการใช้สื่ออย่างเต็มความสามารถ วิธีการสื่อสารข้อมูล (DATA TRANSMISSION) ลักษณะของการสื่อสารข้อมูล มี 2 รูปแบบคือ การสื่อสารแบบอนุกรม (serial data transmission) และการสื่อสารแบบขนาน (parallel data transmission) การสื่อสารแต่ละรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้ 1. การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรม (serail data transmission) เป็นการส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิต ไปบนสัญญาณจนครบจานวนข้อมูลที่มีอยู่ สามารถนาไปใช้กับ สื่อนาข้อมูลที่มีเพียง 1 ช่องสัญญาณได้ สื่อนาข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณนี้จะมีราคาถูกกว่าสื่อนาข้อมูลที่มี หลายช่องสัญญาณ และเนื่องจากการสื่อสารแบบอนุกรมมีการส่งข้อมูลได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น การส่งข้อมูล ประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิต 2. การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน (parallel data transmission) เป็นการส่งข้อมูลครั้งละหลายบิตขนานกันไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีหลายช่องสัญญาณ วิธีนี้จะเป็น วิธีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่าการส่งข้อมูลแบบอนุกรม จากรูปที่ 6.10 เป็นการแสดงการสื่อสารข้อมูลระหว่าง อุปกรณ์ 2 ตัว ที่มีการส่งข้อมูลแบบขนาน โดยส่งข้อมูลครั้งละ 8 บิตพร้อมกัน รูปแบบการสื่อสารข้อมูล (MODES OF DATA TRANSMISSION)
  • 10. รูปแบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission) เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็นชุด ๆ เมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมี สีญญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต (stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลาดับดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิต ข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบ ไม่ประสานจังหวะ เช่น การส่งข้อมูลของแป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น 2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission) เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดย ใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้น การส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง (gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละ ชุด และไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ นิยม ใช้กับ การส่งข้อมูล ของระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการส่งข้อมูลปริมาณมาก ๆ ด้วยความเร็วสูง ทิศทางการส่งข้อมูล ( TRANSMISSION MODE ) การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกทิศทางการส่งข้อมูลเป็น 3 รูปแบบดังนี้ 1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ทาหน้าที่ส่งเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่รับข้อมูลเพียงอย่างเดียว ด้วยเช่นเดียวกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่นการส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณ โทรทัศน์จะทาหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทาหน้าที่ รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน 2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ( half-duplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและ ผู้รับข้อมูล จะเป็นผู้ส่งข้อมูลพร้อมกัน ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การสื่อสารแบบวิทยุ สื่อสาร ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลที่จะส่งข้อมูลต้องกดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะเป็นผู้รับข้อมูล 3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน( full- duplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่ง และผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน ลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์ ซึ่งทั้งสอองฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ ในเวลาเดียวกัน
  • 11. โดยปกติการสื่อสาารข้อมุลส่วนใหญ่จะไม่ใช้การส่งข้อมุลแบบสองทิศทางพร้อมกันตัวอย่าง เช่น การ ใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูล ได้สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังคงต้องสลับกันพูด อีกตัวอย่าง หนึ่งคือ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งบางครังดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทาง พร้อมกัน แต่ในความเป็น จริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้เป็นช่วงเวลาที่เร็วมาก จึงดูเหมือนว่า เป็นการส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน ตัวกลางการสื่อสาร ( COMMUNICATION MEDIA ) ตัวกลางการสื่อสาร เป็นสื่อที่ต่อเชื่อมการสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับข้อมูล ตังกลางที่ใช้ในการ สื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก คือสื่อนาข้อมูลแบบมีสาย ( wired media )และสื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย ( wireless media ) 1. สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย ( wired media ) สื่อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้ มี 3 ชนิดดังนี้ 1.1 สายคู่บิตเกลียว ( twisted-pair cable ) สายคู่บิตเกลียว เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า สายแต่ละเส้นมีลักษณะคล้ายสายไฟทั่งไป จานวนสายจะมีเป็นคู่ เช่น 2 ,4 หรือ 6 เส้น แต่ละคู่จะมีการพันบิดกันเป็นเกลียว การบิดเกลียวนี้จะช่วยลด สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล ทาให้สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ สายสัญญาณคู่บิดเกลียวมี ความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 Hz ถึง 5 MHz ลักษณะของสายสัญญาณชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ สายคู่ บิดเกลียว แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้ม (unshielded twisted-pair หรือ UTP ) และสายคู่บิดเกลียวแบบมีชั้น โลหะห่อหุ้ม ( shielded twisted-pair หรือ STP ) สารับสายคู่บิดเกลียวแบบมีชั้นดลหะห่อหุ้มจะมีชั้นโลหะ ทีทาหน้าทีเ่ ป็นเกราะหุ้มเพือป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้ ่ ่ 1.2 สายโคแอกเชียล ( coaxial cable ) สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้า มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500 MHz สาายโคแอกเชียลมีความเร็ว ในการส่งข้อมูลและมีราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว ลักษณะของ สายโคแอกเชียลเป็นสายนาสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มเป็นชั้นๆ หลายชั้นสลับกับตัวโลหะ ตัวนาโลหะชั้นในทาหน้าที่ ส่งสัญญาณ ส่วนตัวนาโลหะชั้นนอกทาหน้าที่เป็นสายดิน และเป็นเกราะป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก ทา ให้มีสัญญาณรบกวนตัวนาชั้นในน้อย จึงส่งข้อมูลได้ในระยะไกล
  • 12. 1.3 สายใยแก้วนาแสง ( optical fiber cable ) สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรือสารนาแสงห่อหุ้มวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งข้อมูล เท่ากับความเร็วแสง สามารถใช้ในการส่งข้อมูล ที่มีความถี่สูงได้ สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือแสง และสัญญาณรบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก ดังนั้นสายใย แก้วนาแสงที่มีสภาพดี จะมีสัญญาณรบกวนน้อยมาก สายใยแก้วนาแสงมีราคาค่อนข้างสูงและดูแลรักษายากจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมสาหรับ การใช้งานสื่อสารทั่วๆ ไปในองค์การขนาดเล็ก หรือในการสื่อสารที่ไม่ต้องการความเร็วสูง 2. สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย ( wireless media ) การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของ การสื่อสาร ลักษณะของการสื่อสารข้อมูลประเภทนี้ เช่น 2.1 สัญญาณวิทยุ ( radio wave ) สัญญาณวิททยุเป็นสื่อประเภทไร้สาย ( wireless media ) ที่มีการส่งข้อมุลเป็นสัญญาณคลื่อ ออนวิททยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ จึงทาให้ถูกสภาพแวดล้อมรบกวนข้อมูลได้ในช่วงที่สภาพอากาศ ไม่ดี การส่งสัญญาณวิธีนี้จะช่วยส่งข้อมูลในระยะทางไกล หรือในสภาพภูมิประเทศที่ไม่เอื้ออานวยในการใช้ สายส่งข้อมูล สัญญาณคลื่นวิทยุสามารถแบ่งตามช่วงความถี่ได้ดังนี้
  • 13. 2.2 ไมโครเวฟภาคพื้นดิน ( terrestrial microwave ) ไมโครเวฟภาคพื้นดิน เป็นการสื่อสารโดยใช้สื่อนาข้อมูลแบบไร้สายอีกประเภทหนึ่ง การสื่อสาร ประเภทนี้จะมีการส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่างๆ กันทาการส่งส่งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล ในกรณี ที่ระยะทางห่างกันมาก หรือมีสิ่งกีดขวางสัญญาณ จะต้องใช้สถานีทวนสัญญาณ ( repeater station )เพื่อการ ส่งสัญญาณเป็นช่วงๆ การสื่อสารประเภทนี้สามารถส่งข้อมูลปริมาณมากได้ แต่ในบางครั้งอาจถูกสภาพแวดล้อม รบกวนได้เช่นกัน โดยเฉพาะในช่วงฝนตกหรือมีพายุ จะทาให้การส่งข้อมูลทาได้ไม่ดีนัก 2.3 การสื่อสารผ่านดาวเทียม ( satellite communication ) การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นการสื่อสรจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดย ดาวเททียมจะทาหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยังสถานีภาคพื้นดินอื่นๆ ระยะทางจาก โลกถึงดาวเทียมประมาย 22,000 ไมล์ ซึ่งเป็นระยะทางที่ไกลมาก ทาให้ข้อมูลที่ส่งไปยังดาวเทียมเกิดความล่าช้า ขึ้นได้ โดยเฉลี่ยความล่าช้าที่เกิดขึ้นมีค่าประมาณ 2 วินาที การส่งข้อมูลวิธีนี้จะทาให้ส่งข้อมูล ที่มีระยะทางไกล มากๆ ได้ การสื่อสารผ่านดาวเทียมนิยมใช้สาหรับการสื่อสารระหว่างประเทศ