SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
เสนอ
คณุครู จุฑารัตน์ ใจบุญ
จัดทาโดย
นางสาว สิ ริภรณ์ รอดดา เลขที่ 18
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
คานา
รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งการเรี ยนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จัดทา
รายงานเล่มนี้เพื่อให้ผคนที่สนใจในเรื่ อง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์สามารถมาศึกษาและ
ู้
ทาความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ยังสามารถนาไปใช้ในการเรี ยนการสอน
ได้ ดิฉันคิดว่ารายงานเล่มนี้เป็ นประโยชน์ให้แก่ทุกท่านได้
หากผิดผลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่น้ ี
สารบัญ
เรื่อง

หน้ าที่

ความสาคัญของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์

1-3

ชนิดของเครื อข่าย

3-4

เทคโนโลยีเครื อข่ายแลน

5-9

การใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

9

ตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

10-12

โพรโทคอลการสื่ อสาร

12

อีเธอร์ เน็ต

12

Internet protocol suite

12

SONET/SDH

12

Asynchronous Transfer Mode

12-13

โทโพโลยีเครื อข่าย
เครือข่ ายซ้ อนทับ

13-14

14-15
1 ความสาคัญของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์

ธรรมชาติมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่ วมกันทางาน
้ ่
สร้างสรรสังคมเพื่อให้ ความเป็ นอยูโดยรวมดีข้ ึน จากการดาเนินชีวตร่ วมกันทั้งในด้าน
่
ิ
ครอบครัว การทางานตลอดจนสังคมและการเมือง ทาให้ตองมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูล
้
ระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจาเป็ นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน พัฒนาการ ทางด้าน
คอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ แรกเริ่ มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์
แบบ รวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรื อ เมนเฟรม โดยให้ผใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละ
ู้
คนเปรี ยบเสมือน เป็ นสถานีปลายทาง ที่เรี ยกใช้ทรัพยากร การคานวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้
คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อ การทางานนั้น ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทาให้
สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล จนมีการเรี ยกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พีซี (Personal
Competer:PC) การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูง
มาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อ มีการใช้งานกันมาก บริ ษทผูผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็
ั ้
ปรับปรุ ง และพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มในรู ปแบบ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จึงเป็ นวิธีการหนึ่ง และกาลังได้รับความนิยมสูงมาก เพราะทาให้
ตอบสนองตรงความต้องการที่จะติดต่อสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ได้รับการพัฒนาเรื่ อยมาจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็ น
ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับ การ
พัฒนาให้มีขีดความสามารถและทางานได้มากขึ้น จนกระทังคอมพิวเตอร์สามารถทางานร่ วมกัน
่
เป็ นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทางานในรู ปแบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ
นาเอาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็ นสถานีบริ การ หรื อที่เรี ยกว่า เครื่ องให้บริ การ
(Server) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็ นเครื่ องใช้บริ การ (Client) โดยมี
เครื อข่าย(Network) เป็ นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ
ในที่สุดระบบเครื อข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่เป็ นแบบรวมศูนย์
ได้
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสาคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้าง
ระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกาลังในการลงทุนซื้อเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่ องต่อ
เชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่ง เป็ นสถานีบริ การที่ทาให้ใช้งาน
ข้อมูลร่ วมกันได้ เมื่อกิจการเจริ ญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครื อข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์โดยเพิ่ม
จานวนเครื่ องหรื อขยายความจุขอมูลให้พอเหมาะกับองค์กร ในปัจจุบนองค์การขนาดใหญ่ก็
้
ั
สามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่ม
รวมกันเป็ นเครื อข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ขอมูลสามารถทาได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ตอง
้
้
ลงทุนจานวนมาก เครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สาคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้
1. ทาให้เกิดการทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม และสามารถทางานพร้อมกัน
2. ให้สามารถใช้ขอมูลต่างๆ ร่ วมกัน ซึ่งทาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น
้
3. ทาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุมค่า เช่น ใช้เครื่ องประมวลผลร่ วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้ มข้อมูล ใช้
้
เครื่ องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่ วมกัน
4. ทาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
2 ชนิดของเครื อข่าย
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด
- เครื อข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
- เครื อข่ายแวน (Wide Area Network : WAN
2.1 เครื อข่ายแลน

หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทองถิ่นเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ซ่ึงเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
้
สื่อสารที่อยูในท้องที่ บริ เวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรื อภายในองค์การที่มี
่
ระยะทางไม่ไกลมากนัก เครื อข่ายแลนจัดได้ว่าเป็ นเครื อข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครื อข่าย
แลนนี้องค์การสามารถดาเนินการทาเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรื อภายใน
พื้นที่ของตนเอง เครื อข่ายแลน มีต้งแต่เครื อข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้งแต่สองเครื่ อง
ั
ั
ขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรื อองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย มีการ
วางเครื อข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครื อข่ายแลนจึงเป็ นเครื อข่ายที่
รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็ นเจ้าของ ลักษณะสาคัญของเครื อข่ายแลน คืออุปกรณ์ที่ประกอบ
ภายในเครื อข่ายสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็ วสูงมาก โดยทัวไปมีความเร็ วตั้งแต่ หลาย
่
สิบลรสูง ทาให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจานวนมาก
2.2 เครื อข่ายแวน

เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล เช่น เชื่อมโยงระหว่าง
จังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครื อข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริ การข่ายสาย
สาธารณะ เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรื อจาก
การสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริ การ
แบบสาธารณะ เครื อข่ายแวนจึงเป็ นเครื อข่าย ที่ใช้กบองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อม
ั
สาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารมีสาขาทัวประเทศ มีบริ การ รับฝากเงินผ่านตู้
่
เอทีเอ็ม เครื อข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง เนื่องจาก มี
สัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจาเป็ นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหา
ข้อผิดพลาดของ การรับส่งข้อมูล เครื อข่ายแวน เป็ นเครื อข่ายที่ทาให้เครื อข่ายแลนหลายๆ
เครื อข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทาการสาขาทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครื อข่ายแลนเพื่อใช้
ทางานภายในสาขานั้นๆ และมีการเชื่อมโยงเครื อข่ายแลน ของทุกสาขาให้เป็ นระบบเดียวด้วย
เครื อข่ายแวน ในอนาคตอันใกล้น้ ี บทบาทของเครื อข่ายแวนจะทาให้ทุกบริ ษท ทุกองค์การทุก
ั
หน่วยงานเชื่อมโยงเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครื อข่ายกลาง เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างกัน และการทางานร่ วมกัน ในระบบที่ตองติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีที่ใช้
้
กับเครื อข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณ
ดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้
น้ า เทคโนโลยีของการเชื่อมโยง ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยงไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิม
ั
่
มากขึ้นอย่างรวดเร็ว
3 เทคโนโลยีเครื อข่ายแลน
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็ นเครื อข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมายที่
จะให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ท้งหมดหากนาเครื่ อง
ั
คอมพิวเตอร์สองเครื่ องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ท้งสอง นั้นส่ง
ั
ข้อมูลถึงกันได้ครั้นจะนาเอาคอมพิวเตอร์เครื่ องที่สามต่อรวมด้วย เริ่ มจะมีขอยุงยากเพิ่มขึ้น และยิงถ้ามี
้ ่
่
เครื่ องคอมพิวเตอร์เป็ นจานวนมาก ก็ยงมีขอยุงยากที่จะทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ท้งหมดสื่อสารกันได้ ด้วย
ิ่ ้ ่
ั
เหตุน้ ีผพฒนาเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบต่างๆ เพื่อลด
ู้ ั
ข้อยุงยาก ในการเชื่อมโยงสายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนาไปใช้งานได้ ทั้งนี้
่
เพราะข้อจากัดของการใช้ สายสัญญาณเป็ นเรื่ องสาคัญมาก บริ ษทผูพฒนาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้
ั ้ ั
พยายามคิดหาวิธี และใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครื อข่ายแลน ออกมาหลายระบบ ระบบใด
ได้รับการยอมรับก็มการตั้งมาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผผลิตที่สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่
ี
ู้
เครื อข่าย เทคโนโลยีเครื อข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่ น อีเทอร์ เน็ต
(Ethernet) โทเก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching)
3.1 อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
อีเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่พฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่ วมที่
ั
เรี ยกว่า บัส (Bus)

โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่ วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็ นตัวเชื่อม สาหรับระบบบัส เป็ น
ระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผตองการส่ง
ู้ ้
ข้อมูล ก็ส่งข้อมูลได้เลย แต่เนื่องจากไม่มวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรื อเปล่า จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์
ี
ใดหรื อคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน จะทาให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญ
หายของข้อมูล ผูส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง ทาให้เสียเวลามาก จึงมีการพัฒนา
้
วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยูที่ฮบ ใช้สายสัญญาณไปยังอุปกรณ์หรื อคอมพิวเตอร์อื่น ๆ จุดเด่น
่ ั
ของดาวตัวนี้ จะอยูที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้าง
่
และจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรื อไม่ แต่เมื่อมีฮบเป็ นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิด
ั
ี
เป็ นอะไรขึ้นมา อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ หรื อคอมพิวเตอร์กไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก
็
ภายในฮับมีลกษณะเป็ นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮบและบัสจะมี
ั
ั
ระบบการส่งข้อมูลแบบ เดียวกัน และมีการพัฒนาเป็ นมาตรฐาน กาหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า
802.3 ความเร็ วในการส่งกาหนดไว้ที่ 10 ล้านบิตต่อ วินาที และกาลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถ
รับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที
3.2 โทเก็นริ ง โทเก็นริ ง เป็ นเครื อข่ายที่บริ ษท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น รู ปแบบการเชื่อมโยงจะ
ั
เป็ น วงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็ นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็ นตัวส่งสัญญาณ การเชื่อมต่อ
แบบนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้ การ
ติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลาดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สบสน และมีรูปแบบ ที่ชดเจน
ั
ั
โทเก็นริ งที่ใช้กนอยูในขณะนี้มีความเร็ วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที ข้อมูลแต่ละ
ั ่
ชุดจะมี การกาหนดตาแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด
3.3 สวิตชิง
สวิตชิง เป็ นเทคโนโลยีที่พฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทาได้เร็ ว
ั
ยิงขึ้น การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง จะกระทาที่ชุมสายกลางที่
่
เรี ยกว่า สวิตชิง รู ปแบบของเครื อข่ายแบบนี้จะมีลกษณะ เป็ นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะ
ั
เหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮบเป็ นศูนย์กลาง แต่แตกต่างกันที่ฮบเป็ นจุดร่ วมของสาย
ั
ั
สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตาแหน่งที่ตองการ
้
เท่านั้น สวิตชิงจึงมีขอดี กว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความเป็ นอิสระต่อกันมาก ทาให้
้
รับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่ องการชนกัน ของข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ เช่น
อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และเอทีเอ็มสวิตซ์
เอทีเอ็มสวิตซ์เป็ นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็ นชุด
ๆ ข้อมูลแต่ละชุดเรี ยกว่า เซล มีขนาดจากัด การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทาให้ขอมูลจากสถานีหนึ่ง
้
ไปยังอีกสถานีหนึ่งดาเนินไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งกาลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความ
นิยมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการความเร็ วสูง โดยเฉพาะการ
สื่อสารที่มีการผสมหลายสื่อรวมทั้งข้อความ รู ปภาพ เสียงและวีดิโอ

4 การใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื อข่ายแลนหนึ่งเครื อข่ายจะมีการทางานกันเป็ นกลุม เรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อ
่
เชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กร
ผ่านเครื อข่ายแวน ก็จะได้เครื อข่าย ขนาดใหญ่ ตัวอย่างการใช้งานเครื อข่าย
4.1 การใช้ฐานข้อมูลร่ วมกัน
งานขององค์กรบางอย่างมีความจาเป็ นต้องใช้ขอมูลชุดเดียวกัน ถ้าแต่ละฝ่ ายทาการหาหรื อ
้
รวบรวมข้อมูลเอง ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้ นอกจากความผิดพลาดที่
เกิดขึ้นแล้วยังทาให้สิ้นเปลืองทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์ สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย แต่ถา
้
องค์กรนั้นมีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี มีสถานีให้บริ การเก็บข้อมูล แล้วให้ผใช้บริ การในองค์กร
ู้
นั้นดึงข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายไปใช้ ก็จะประหยัดค่าใช้จ่ายด้านต่าง ๆ ได้ นอกจากนั้นยัง
สามารถใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ เครื่ องสแกน กล้องดิจิตอล ฯลฯ การดาเนินงาน
ก็เป็ นไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากใช้ฐานข้อมูลร่ วมกัน

4.2 การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครื อข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน ผูใช้ทุกคน
้
ที่อยูบนเครื อข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน สามารถส่ง ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ระหว่าง
่
์
กัน ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้

4.3 สานักงานอัตโนมัติ
แนวคิดของสานักงานสมัยใหม่ ก็คือ ลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางาน ด้วย
คอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทนทีทนใด ระบบสานักงานอัตโนมัติจึง
ั ั
เป็ นระบบการทางานที่ทุกสถานีงานเปรี ยบเสมือน โต๊ะทางาน ทาให้เกิดความคล่องตัว และ
รวดเร็ ว

5 ตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
เมื่อเทคโนโลยีเครื อข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครื อข่ายอย่าง
กว้างขวาง ทาให้เครื อข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย
เดียวกัน เรี ยกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มการพัฒนาเครื อข่ายของ
ี
ตนเองและประยุกต์ใช้กบงานเฉพาะในองค์กร เรี ยกว่าอินทราเน็ต ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่าง
ั
จากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็ น
มาตรฐานเดียวกัน
5.1 อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริ กาให้ทุนกับ
มหาวิทยาลัย ชั้นนาในสหรัฐฯ เพื่อเชื่อมโยงเครื่ องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็ น
เครื อข่าย และใช้ทรัพยากรเพื่อทางานวิจย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่ง
ั
สมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปาเน็ต และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็ น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง เครื อข่าย
อินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็ นมาตรฐาน โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี
(TCP/IP) ต่อมามีการเชื่อมเครื อข่ายออกสู่องค์กรเอกชน และแพร่ ขยายไปทัวโลก เครื อข่าย
่
อินเทอร์เน็ต ถือเป็ นเครื อข่ายของเครื อข่าย หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครื อข่ายภายในตนเอง
ขึ้นมา และนามาเชื่อมต่อสู่เครื อข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกาหนดตาแหน่งอุปกรณ์ดวย
้
รหัสหมายเลขที่เรี ยกว่า แอดเดรส ซึ่งอินเทอร์เน็ต กาหนดรหัสแอดเดรสเรี ยกว่า ไอพี
แอดเดรส และถือเป็ นรหัสสากลที่ไม่ซ้ ากันเลย ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้น
เป็ นรหัสของเครื อข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครื อข่ายของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 ส่วนรหัสของเครื่ องจะมีอีกสองพิกด
ั
ตามมา เช่น 2.71 เมื่อเขียนรวมกันจะได้ 158.108.2.71 เพื่อให้จดจาได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กบ
ั
หมายเลข เราเรี ยกชื่อนี้ว่า โดเมน เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ ku.ac.th โดย
th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ ku หมายถึง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และถ้ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์อยูในเครื อข่ายหลายเครื่ อง ก็ให้มีการตั้ง
่
ชื่อเครื่ องด้วย เช่น nontri เมื่อมีการเรี ยกรวมกันก็ จะเป็ น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทาให้ใช้งาน
ง่ายกว่าตัวเลข เมื่อเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทวโลก ทาให้โลกไร้
ั่
พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต
ที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็ นเพียงตัวอย่างที่แพร่ หลายและใช้กนมากเท่านั้น แต่ยงมีการใช้งานอื่น ๆ อีก
ั
ั
มากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา
1. การรับส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์
์
เป็ นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถ
เขียนเป็ นเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยูของผูรับที่เรี ยกว่า แอดเดรส ระบบจะนาส่งให้ทนทีอย่าง
่
้
ั
รวดเร็ ว ลักษณะของแอดเดรสจะเป็ นชื่อรหัสผูใช้ และชื่อเครื่ องประกอบ
้
กัน เช่น sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตาแหน่งให้เองโดย
อัตโนมัติ และนาส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (email) กาลัง
์
เป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย
2. การโอนย้ายแฟ้ มข้อมูลระหว่างกัน
เป็ นระบบที่ทาให้ผใช้สามารถรับส่งแฟ้ มข้อมูลระหว่างกันหรื อมีสถานีให้บริ การ เก็บ
ู้
แฟ้ มข้อมูลที่อยูในที่ต่าง ๆ และให้บริ การ ผูใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้ มข้อมูลมาใช้
่
้
ประโยชน์ได้
3. การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครื อข่าย ทาให้เราสามารถ เรี ยกหาเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เป็ น
สถานีบริ การใน ที่ห่างไกลได้ ผูใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่อยูใน
้
่
เครื อข่าย โดยไม่ตองเดินทางไปเอง
้
4. การเรี ยกค้นข้อมูลข่าวสาร
ปัจจุบนมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรู ปสิ่งพิมพ์
ั
อิเล็กทรอนิกส์ที่ผใช้สามารถ เรี ยกอ่าน หรื อนามาพิมพ์ ลักษณะการเรี ยกค้นนี้จึงมีลกษณะเหมือน
ู้
ั
เป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่อยูภายในเครื อข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะ
่
นี้เรี ยกว่า เครื อข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทัวโลก(World Wide Web : WWW) เป็ นฐานข้อมูลที่
่
เชื่อมโยงกันทัวโลก
่
5. การอ่านจากกลุ่มข่าว
ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็ นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผใช้
ู้
อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผตองการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่ม
ู้ ้
ข่าวนี้จึงแพร่ หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ ว
6. การสนทนาบนเครื อข่าย
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเป็ นตัวกลาง ในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการ
สนทนาเป็ นตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้ ปัจจุบนถ้าระบบสื่อสารมีความเร็ วพอก็
ั
สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันและกันบนจอภาพได้
7. การบริ การสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครื อข่าย
ปัจจุบนมีผต้งสถานีวิทยุบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผูใช้สามารถเลือกสถานที่
ั ู้ ั
้
ต้องการและได้ยนเสียงเหมือน การเปิ ดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบน
ิ
เครื อข่ายด้วย
5.2 อินทราเน็ต
เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็ นที่ยอมรับและแพร่ หลาย จึงมีผตองการสร้างเครื อข่าย
ู้ ้
ใช้งานเฉพาะในองค์กร โดยนาวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กบเครื อข่ายของตนเอง
ั
เครื อข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรี ยกว่า เครื อข่ายอินทราเน็ต การประยุกต์ใช้บน
เครื อข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริ การ และสถานีผใช้บริ การ สถานีผใช้บริ การมี
ู้
ู้
โปรแกรมเชื่อมต่อที่ทาให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะ
ทาให้ผใช้ไม่ตองเสียเวลาในการเรี ยนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
ู้
้
โพรโทคอลการสื่ อสาร
คือชุดของกฎหรื อข้อกาหนดต่างๆสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลในเครื อข่าย ในโพรโทคอลสแต็ค
(ระดับชั้นของโพรโทคอล ดูแบบจาลองโอเอสไอ) แต่ละโพรโทคอลยกระดับการให้บริ การของโพรโทตคล
ที่อยูในชั้นล่าง ตัวอย่างที่สาคัญในโพรโทคอลสแต็คได้แก่ HTTP ที่ทางานบน TCP over IP ผ่านข้อกาหนด
่
IEEE 802.11 (TCP และ IP ที่เป็ นสมาชิกของชุดโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต. IEEE 802.11 เป็ นสมาชิกของชุดอี
เธอร์เน็ตโพรโทคอล.) สแต็คนี้จะถูกใช้ระหว่างเราต์เตอร์ไร้สายกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผูใช้ตาม
้
บ้านเมื่อผูใช้จะท่องเว็บ
้
โพรโทคอลการสื่อสารมีลกษณะต่างๆกัน ซึ่งอาจจะเชื่อมต่อแบบ connection หรื อ connectionless,
ั
หรื ออาจจะใช้ circuit mode หรื อแพ็กเกตสวิตชิง, หรื ออาจใช้การ addressing ตามลาดับชั้นหรื อแบบ flat
มีโพรโทคอลการสื่อสารมากมาย บางส่วนได้อธิบายไว้ดานล่างนี้
้

อีเธอร์ เน็ต
อีเธอร์เน็ตเป็ นครอบครัวของโพรโทคอลที่ใช้ในระบบ LAN, ตามที่อธิบายอยูในชุดของมาตรฐานที่เรี ยกว่า
่
IEEE 802 เผยแพร่ โดยสถาบันวิศวกรไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีวิธีการ addressing แบบ flat และจะ
ดาเนินการส่วนใหญ่ที่ระดับ 1 และ 2 ของแบบจาลอง OSI. สาหรับผูใช้ที่บานในวันนี้ สมาชิกส่วนใหญ่ของ
้
้
ครอบครัวของโปรโตคอลที่รู้จกกันดีน้ ีคือ IEEE 802.11 หรื อที่เรี ยกว่า Wireless LAN (WLAN). IEEE 802
ั
โพรโทคอลชุดสมบูรณ์จดให้มีความหลากหลายของความสามารถเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น MAC bridging
ั
(IEEE 802.1D) ทางานเกี่ยวกับการ forwarding ของแพ็กเกตอีเธอร์เน็ตโดยใช้โพรโทคอล Spanning tree,
IEEE 802.1Q อธิบาย VLANs และ IEEE 802.1X กาหนดโพรโทคอลที่ใช้ควบคุมการเข้าถึงเครื อข่ายแบบ
พอร์ตซึ่งฟอร์มตัวเป็ นพื้นฐานสาหรับกลไกการตรวจสอบที่ใช้ใน VLANs (แต่ก็ยงพบในเครื อข่าย WLANs
ั
อีกด้วย) - มันเป็ นสิ่งที่ผใช้ตามบ้านเห็นเมื่อผูใช้จะต้องใส่ "wireless access key".
ู้
้

Internet protocol suite
อินเทอร์เน็ตโปรโตคอลสวืท, หรื อที่เรี ยกว่า TCP / IP, เป็ นรากฐานของระบบการเชื่อมโยงเครื อข่าย
ที่ทนสมัย ทาให้มีการเชื่อมต่อแบบ connection-less เช่นเดียวกับ connection-oriented ผ่านเครื อข่ายที่ไม่
ั
น่าเชื่อถือโดยการส่งดาต้าแกรม(ข้อมูลที่ถกแบ่งเป็ นชิ้นเล็กๆ)ที่เลเยอร์โปรโตคอลอินเทอร์เน็ต (IP) ที่
ู
แกนกลางของมัน ชุดโพรโทคอลกาหนด address, การระบุตวตน, และคุณสมบัติของการเราต์ติงสาหรับ
ั
Internet Protocol Version 4 (IPv4) และ IPv6 ซึ่งรุ่ นต่อไปที่มีความสามารถในการขยายระบบ addressing
อย่างมาก








SONET/SDH
Synchronous optical networking (SONET) และ Synchronous Digital Hierarchy (SDH) เป็ นโพรโท
คอลมาตรฐานสาหรับการ multiplexing ที่ทาการถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลที่หลากหลายผ่านใยแก้วนาแสง.
พวกมันแต่เดิมถูกออกแบบมาเพื่อการขนส่งในการสื่อสารแบบ circuit mode จากแหล่งที่มาที่หลากหลาย
แตกต่างกัน, เบื้องต้นเพื่อสนับสนุนระบบเสียงที่เป็ น circuit-switched ที่เข้ารหัสในฟอร์แมท PCM (PulseCode Modulation) ที่เป็ นเรี ยลไทม์และ ถูกบีบอัด. อย่างไรก็ตามเนื่องจากความเป็ นกลางและคุณสมบัติที่
เป็ น transport-oriented, SONET/SDH ยังเป็ นตัวเลือกที่ชดเจนสาหรับการขนส่งเฟรมของ Asynchronous
ั
Transfer Mode (ATM)

Asynchronous Transfer Mode
เป็ นเทคนิคการ switching สาหรับเครื อข่ายการสื่อสารโทรคมนาคม ที่ใช้ asynchronous timedivision multiplexing ATM จะเข้ารหัสข้อมูลที่เป็ นเซลล์ขนาดเล็กคงที่ วิธีน้ ีจะแตกต่างจากโพรโทคอลอื่น
ๆ เช่น Internet Protocol สวีทหรื ออีเธอร์เน็ตที่ใช้แพ็กเกตหลายขนาด ATM มีความคล้ายคลึงกันกับ circuit
switched และ packet switched networking. ATM จึงเป็ นทางเลือกที่ดีสาหรับเครื อข่ายที่ตองจัดการทั้งแบบ
้
การจราจรที่มีขอมูล throughput สูงแบบดั้งเดิมและแบบเนื้อหา real-time, ความล่าช้าแฝงต่าเช่นเสียงและ
้
วิดีโอ. ATM ใช้รูปแบบการเชื่อมต่อแบบ connection-oriented model ในที่ซ่ึงวงจรเสมือนจะต้องจัดตั้งขึ้น
ระหว่างจุดสิ้นสุดสองจุดก่อนที่การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกิดขึ้นจริ งจะเริ่ มขึ้น
ในขณะที่บทบาทของ ATM จะลดน้อยลงเนื่องจากความโปรดปรานของเครื อข่ายรุ่ นต่อไป มันยังคง
มีบทบาทในการเป็ นไมล์สุดท้ายซึ่งคือการเชื่อมต่อระหว่างผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตและผูใช้ตามบ้าน
้
้
สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมของเทคโนโลยีและโปรโตคอลการสื่อสาร โปรดอ่านเพิ่มเติมในหัวข้อข้างท้าย
โทโพโลยีเครื อข่าย

โทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นรู ปแบบหรื อลาดับชั้นของโหนดที่เชื่อมต่อกันของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบสามัญ
รู ปแบบที่พบบ่อยคือ:


เครื อข่ายแบบบัส: ทุกโหนดจะถูกเชื่อมต่อกับสื่อกลางไปตลอดทั้งตัวสื่อนี้ รู ปแบบนี้ใช้ในต้นฉบับอี
เธอร์เน็ตที่เรี ยกว่า 10BASE5 และ 10Base2



เครื อข่ายรู ปดาว: ทุกโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดกลางพิเศษ รู ปแบบนี้พบโดยทัวไปใน LAN ไร้สายที่
่
ลูกค้าแต่ละรายเชื่อมต่อแบบไร้สายกับจุดการเข้าถึง (Wireless access point)



เครื อข่ายวงแหวน: แต่ละโหนดมีการเชื่อมต่อไปยังโหนดข้างเคียงด้านซ้ายและด้านขวา เพื่อที่ว่าทุก
โหนดมีการเชื่อมต่อและแต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอื่น โดยเข้าหาทางโหนดด้านซ้ายหรื อ
โหนดด้านขวาก็ได้ ไฟเบอร์การเชื่อมต่อข้อมูลแบบกระจาย (Fiber Distributed Data Interface หรื อ
FDDI) ใช้โทโพโลยีแบบนี้



เครื อข่ายตาข่าย: แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดอื่นๆได้เกือบทั้งหมดในลักษณะที่มีอยูอย่างน้อย
่
หนึ่งเส้นทางไปยังโหนดใดๆ แต่อาจต้องผ่านโหนดอื่นไป



เครื อข่ายที่เชื่อมต่ออย่างเต็มที่: ในแต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับทุกโหนดอื่น ๆ ในเครื อข่าย



ต้นไม้: ในกรณี น้ ีโหนดทั้งหมดมีการจัดลาดับชั้น
โปรดสังเกตว่ารู ปแบบทางกายภาพของโหนดในเครื อข่ายอาจไม่จาเป็ นต้องสะท้อนให้เห็นถึง
โทโพโลยีเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น, FDDI มีโทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นวงแหวน (ที่จริ งสองวงหมุนสวนทางกัน)
แต่โครงสร้างทางกายภาพอาจเป็ นรู ปดาวเพราะทุกการเชื่อมต่อกับโหนดที่อยูใกล้เคียงจะถูกส่ งผ่านโหนดที่
่
อยูตรงกลาง
่

เครือข่ ายซ้ อนทับ
เครื อข่ายซ้อนทับเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เสมือนที่ถกสร้างขึ้นทับบนเครื อข่ายอื่น โหนดใน
ู
เครื อข่ายซ้อนทับจะถูกลิงค์เข้าด้วยกันแบบเสมือนหรื อแบบลอจิก ที่ซ่ึงแต่ละลิงค์จะสอดคล้องกับเส้นทาง
ในเครื อข่ายหลักด้านล่าง ที่อาจจะผ่านการลิงค์ทางกายภาพหลายลิงค์ โทโพโลยีของเครื อข่ายซ้อนทับอาจ
(และมักจะ) แตกต่างจากของเครื อข่ายด้านล่าง. เช่น เครื อข่ายแบบ peer-to-peer หลายเครื อข่ายเป็ นเครื่ อข่าย
ซ้อนทับ พวกมันจะถูกจัดให้เป็ นโหนดของระบบเสมือนจริ งของลิงค์ที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต
ถูกสร้างขึ้นครั้งแรกเป็ นภาพซ้อนทับบนเครื อข่ายโทรศัพท์.
ตัวอย่างที่โดดเด่นที่สุดของเครื อข่ายซ้อนทับคือระบบของ Internet เอง. ที่เลเยอร์เครื อข่ายแต่ละ
โหนดสามารถเข้าถึงโหนดอื่น ๆ โดยการเชื่อมต่อโดยตรงไปยัง IP address ที่ตองการ ทาให้เกิดการสร้าง
้
เครื อข่ายที่ถกเชื่อมต่ออย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม เครื อข่ายด้านล่างจะประกอบด้วยการเชื่อมต่อภายในเหมือน
ู
ตาข่ายของเครื อข่ายย่อยที่มี topologies (และเทคโนโลยี)ที่แตกต่างกัน การจาแนก address และการเราต์ติงค์
เป็ นวิธีที่ใช้ในการทา mapping ของเครื อข่ายซ้อนทับ(แบบ IP ที่ถกเชื่อมต่ออย่างเต็มที่)ข้างบนกับเครื อข่ายที่
ู
อยูขางล่าง
่ ้
เครื อข่ายซ้อนทับเกิดขึ้นตั้งแต่มีการสร้างเครื อข่ายเมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถกเชื่อมต่อผ่าน
ู
สายโทรศัพท์โดยใช้โมเด็ม และเกิดขึ้นก่อนที่จะมีเครื อข่ายข้อมูลเสียอีก
อีกตัวอย่างของเครื อข่ายซ้อนทับก็คือตารางแฮชกระจายซึ่ง map คีย(์ keys)ไปยังโหนดในเครื อข่าย ใน
กรณีน้ ีเครื อข่ายข้างใต้เป็ นเครื อข่าย IP และเครื อข่ายทับซ้อนเป็ นตาราง (ที่จริ งเป็ นแผนที่) ที่ถกทาดัชนีโดย
ู
คีย ์
เครื อข่ายซ้อนทับยังได้รับการเสนอให้เป็ นวิธีการปรับปรุ งการเราต์ติงค์ในอินเทอร์เน็ต เช่นการเราต์
โดยการรับประกันคุณภาพการให้บริ การเพื่อให้ได้สื่อกลางสตรี มมิ่งที่มีคุณภาพสูง ข้อเสนอก่อนหน้านี้เช่น
IntServ, DiffServ และ IP Multicast ไม่ได้เห็นการยอมรับอย่างกว้างขวางเพราะข้อเสนอเหล่านี้จาเป็ นต้องมี
การปรับเปลี่ยนของเราต์เตอร์ท้งหมดในเครื อข่าย. ในขณะที่เครื อข่ายทับซ้อนถูกนาไปใช้งานเพิ่มขึ้นบน
ั
end-hosts ที่ run ซอฟแวร์โปรโตคอลทับซ้อนโดยไม่ตองรับความร่ วมมือจากผูให้บริ การ
้
้
อินเทอร์เน็ต เครื อข่ายซ้อนทับไม่มการควบคุมวิธีการที่แพ็คเก็ตจะถูกเราต์ในเครื อข่ายข้างล่างระหว่างสอง
ี
โหนดที่ซอนทับกัน แต่มนสามารถควบคุม, ตัวอย่างเช่น, ลาดับของโหนดซ้อนทับที่ขอความจะลัดเลาะไป
้
ั
้
ก่อนที่จะถึงปลายทาง
อ้างอิง
http://www.rayongwit.ac.th

http://th.wikipedia.org
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1

More Related Content

What's hot

การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157Surapong Jakang
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์num norbnorm
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลHappy Sara
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์prakasit srisaard
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 

What's hot (18)

การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 

Viewers also liked

білик н.а. с досвіду роботи
білик н.а. с досвіду роботибілик н.а. с досвіду роботи
білик н.а. с досвіду роботиНиколай Удовин
 
віртуальна виставка дружківка 2014
віртуальна виставка дружківка   2014віртуальна виставка дружківка   2014
віртуальна виставка дружківка 2014Николай Удовин
 
Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...
Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...
Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...Николай Удовин
 
Mukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYS
Mukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYSMukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYS
Mukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYSStanisław Molitorys
 
E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e...
 E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e... E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e...
E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e...Eva Collado Duran
 
omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3
omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3
omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3omrformreader
 
Funcionamiento básico de una computadora
Funcionamiento básico de una computadoraFuncionamiento básico de una computadora
Funcionamiento básico de una computadoraisamaurer
 
arte a través del tiempo
arte a través del tiempoarte a través del tiempo
arte a través del tiempoLalizz Osorio
 
La revolución
La revoluciónLa revolución
La revoluciónAnnell19
 
Gagan_CV (1)
Gagan_CV (1)Gagan_CV (1)
Gagan_CV (1)Gagan k
 
Obligaciones civiles y comerciales
Obligaciones civiles y comercialesObligaciones civiles y comerciales
Obligaciones civiles y comercialesALI, unico Unico
 

Viewers also liked (20)

білик н.а. с досвіду роботи
білик н.а. с досвіду роботибілик н.а. с досвіду роботи
білик н.а. с досвіду роботи
 
нвк №14
нвк №14нвк №14
нвк №14
 
нвк № 10
нвк № 10нвк № 10
нвк № 10
 
зш № 12
зш № 12зш № 12
зш № 12
 
зш №6
зш №6зш №6
зш №6
 
зш №17
зш №17зш №17
зш №17
 
нвк № 11
нвк № 11нвк № 11
нвк № 11
 
віртуальна виставка дружківка 2014
віртуальна виставка дружківка   2014віртуальна виставка дружківка   2014
віртуальна виставка дружківка 2014
 
Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...
Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...
Сучасні програми, інноваційні підходи та рішення для підвищення якості освіти...
 
Mukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYS
Mukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYSMukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYS
Mukowiscydoza 1 % Justyna MOLITORYS
 
Ліна Костенко
Ліна КостенкоЛіна Костенко
Ліна Костенко
 
презентация1
презентация1презентация1
презентация1
 
E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e...
 E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e... E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e...
E-Book de Infojobs "La Ruta del Empleo" Estrategias para conseguir trabajo e...
 
omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3
omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3
omrformreader - Addmen omr ecas admission 13.3
 
Funcionamiento básico de una computadora
Funcionamiento básico de una computadoraFuncionamiento básico de una computadora
Funcionamiento básico de una computadora
 
arte a través del tiempo
arte a través del tiempoarte a través del tiempo
arte a través del tiempo
 
La revolución
La revoluciónLa revolución
La revolución
 
Gagan_CV (1)
Gagan_CV (1)Gagan_CV (1)
Gagan_CV (1)
 
Bloco atenção 1º
Bloco atenção 1ºBloco atenção 1º
Bloco atenção 1º
 
Obligaciones civiles y comerciales
Obligaciones civiles y comercialesObligaciones civiles y comerciales
Obligaciones civiles y comerciales
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
ใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสาร
ใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสารใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสาร
ใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสารjansaowapa
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตFon Kittiya
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1 (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
ใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสาร
ใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสารใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสาร
ใบความรู้ 5 เรื่องประโยชน์ของการสื่อสาร
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1

  • 1.
  • 2. รายงาน เรื่อง เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เสนอ คณุครู จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาว สิ ริภรณ์ รอดดา เลขที่ 18 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
  • 3. คานา รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งการเรี ยนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จัดทา รายงานเล่มนี้เพื่อให้ผคนที่สนใจในเรื่ อง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์สามารถมาศึกษาและ ู้ ทาความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ยังสามารถนาไปใช้ในการเรี ยนการสอน ได้ ดิฉันคิดว่ารายงานเล่มนี้เป็ นประโยชน์ให้แก่ทุกท่านได้ หากผิดผลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่น้ ี
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้ าที่ ความสาคัญของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ 1-3 ชนิดของเครื อข่าย 3-4 เทคโนโลยีเครื อข่ายแลน 5-9 การใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 9 ตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 10-12 โพรโทคอลการสื่ อสาร 12 อีเธอร์ เน็ต 12 Internet protocol suite 12 SONET/SDH 12 Asynchronous Transfer Mode 12-13 โทโพโลยีเครื อข่าย เครือข่ ายซ้ อนทับ 13-14 14-15
  • 5. 1 ความสาคัญของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ธรรมชาติมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่ วมกันทางาน ้ ่ สร้างสรรสังคมเพื่อให้ ความเป็ นอยูโดยรวมดีข้ ึน จากการดาเนินชีวตร่ วมกันทั้งในด้าน ่ ิ ครอบครัว การทางานตลอดจนสังคมและการเมือง ทาให้ตองมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูล ้ ระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจาเป็ นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน พัฒนาการ ทางด้าน คอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ แรกเริ่ มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์ แบบ รวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรื อ เมนเฟรม โดยให้ผใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละ ู้ คนเปรี ยบเสมือน เป็ นสถานีปลายทาง ที่เรี ยกใช้ทรัพยากร การคานวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้ คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อ การทางานนั้น ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทาให้ สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล จนมีการเรี ยกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พีซี (Personal Competer:PC) การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูง มาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อ มีการใช้งานกันมาก บริ ษทผูผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ ั ้ ปรับปรุ ง และพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มในรู ปแบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จึงเป็ นวิธีการหนึ่ง และกาลังได้รับความนิยมสูงมาก เพราะทาให้ ตอบสนองตรงความต้องการที่จะติดต่อสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ได้รับการพัฒนาเรื่ อยมาจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็ น ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับ การ พัฒนาให้มีขีดความสามารถและทางานได้มากขึ้น จนกระทังคอมพิวเตอร์สามารถทางานร่ วมกัน ่ เป็ นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทางานในรู ปแบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ นาเอาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็ นสถานีบริ การ หรื อที่เรี ยกว่า เครื่ องให้บริ การ (Server) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็ นเครื่ องใช้บริ การ (Client) โดยมี เครื อข่าย(Network) เป็ นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ
  • 6. ในที่สุดระบบเครื อข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่เป็ นแบบรวมศูนย์ ได้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสาคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้าง ระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกาลังในการลงทุนซื้อเครื่ อง คอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่ องต่อ เชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่ง เป็ นสถานีบริ การที่ทาให้ใช้งาน ข้อมูลร่ วมกันได้ เมื่อกิจการเจริ ญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครื อข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์โดยเพิ่ม จานวนเครื่ องหรื อขยายความจุขอมูลให้พอเหมาะกับองค์กร ในปัจจุบนองค์การขนาดใหญ่ก็ ้ ั สามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่ม รวมกันเป็ นเครื อข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ขอมูลสามารถทาได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ตอง ้ ้ ลงทุนจานวนมาก เครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สาคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1. ทาให้เกิดการทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม และสามารถทางานพร้อมกัน 2. ให้สามารถใช้ขอมูลต่างๆ ร่ วมกัน ซึ่งทาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น ้ 3. ทาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุมค่า เช่น ใช้เครื่ องประมวลผลร่ วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้ มข้อมูล ใช้ ้ เครื่ องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่ วมกัน 4. ทาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
  • 7. 2 ชนิดของเครื อข่าย เครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด - เครื อข่ายแลน (Local Area Network : LAN) - เครื อข่ายแวน (Wide Area Network : WAN 2.1 เครื อข่ายแลน หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทองถิ่นเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ซ่ึงเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ้ สื่อสารที่อยูในท้องที่ บริ เวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรื อภายในองค์การที่มี ่ ระยะทางไม่ไกลมากนัก เครื อข่ายแลนจัดได้ว่าเป็ นเครื อข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครื อข่าย แลนนี้องค์การสามารถดาเนินการทาเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรื อภายใน พื้นที่ของตนเอง เครื อข่ายแลน มีต้งแต่เครื อข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้งแต่สองเครื่ อง ั ั ขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรื อองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย มีการ วางเครื อข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครื อข่ายแลนจึงเป็ นเครื อข่ายที่ รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็ นเจ้าของ ลักษณะสาคัญของเครื อข่ายแลน คืออุปกรณ์ที่ประกอบ ภายในเครื อข่ายสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็ วสูงมาก โดยทัวไปมีความเร็ วตั้งแต่ หลาย ่ สิบลรสูง ทาให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจานวนมาก
  • 8. 2.2 เครื อข่ายแวน เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล เช่น เชื่อมโยงระหว่าง จังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครื อข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริ การข่ายสาย สาธารณะ เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรื อจาก การสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริ การ แบบสาธารณะ เครื อข่ายแวนจึงเป็ นเครื อข่าย ที่ใช้กบองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อม ั สาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารมีสาขาทัวประเทศ มีบริ การ รับฝากเงินผ่านตู้ ่ เอทีเอ็ม เครื อข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง เนื่องจาก มี สัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจาเป็ นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหา ข้อผิดพลาดของ การรับส่งข้อมูล เครื อข่ายแวน เป็ นเครื อข่ายที่ทาให้เครื อข่ายแลนหลายๆ เครื อข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทาการสาขาทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครื อข่ายแลนเพื่อใช้ ทางานภายในสาขานั้นๆ และมีการเชื่อมโยงเครื อข่ายแลน ของทุกสาขาให้เป็ นระบบเดียวด้วย เครื อข่ายแวน ในอนาคตอันใกล้น้ ี บทบาทของเครื อข่ายแวนจะทาให้ทุกบริ ษท ทุกองค์การทุก ั หน่วยงานเชื่อมโยงเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครื อข่ายกลาง เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างกัน และการทางานร่ วมกัน ในระบบที่ตองติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีที่ใช้ ้ กับเครื อข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณ ดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้ น้ า เทคโนโลยีของการเชื่อมโยง ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยงไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิม ั ่ มากขึ้นอย่างรวดเร็ว
  • 9. 3 เทคโนโลยีเครื อข่ายแลน การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็ นเครื อข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมายที่ จะให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ท้งหมดหากนาเครื่ อง ั คอมพิวเตอร์สองเครื่ องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ท้งสอง นั้นส่ง ั ข้อมูลถึงกันได้ครั้นจะนาเอาคอมพิวเตอร์เครื่ องที่สามต่อรวมด้วย เริ่ มจะมีขอยุงยากเพิ่มขึ้น และยิงถ้ามี ้ ่ ่ เครื่ องคอมพิวเตอร์เป็ นจานวนมาก ก็ยงมีขอยุงยากที่จะทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ท้งหมดสื่อสารกันได้ ด้วย ิ่ ้ ่ ั เหตุน้ ีผพฒนาเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบต่างๆ เพื่อลด ู้ ั ข้อยุงยาก ในการเชื่อมโยงสายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนาไปใช้งานได้ ทั้งนี้ ่ เพราะข้อจากัดของการใช้ สายสัญญาณเป็ นเรื่ องสาคัญมาก บริ ษทผูพฒนาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้ ั ้ ั พยายามคิดหาวิธี และใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครื อข่ายแลน ออกมาหลายระบบ ระบบใด ได้รับการยอมรับก็มการตั้งมาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผผลิตที่สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่ ี ู้ เครื อข่าย เทคโนโลยีเครื อข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่ น อีเทอร์ เน็ต (Ethernet) โทเก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching) 3.1 อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่พฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่ วมที่ ั เรี ยกว่า บัส (Bus) โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่ วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็ นตัวเชื่อม สาหรับระบบบัส เป็ น ระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผตองการส่ง ู้ ้ ข้อมูล ก็ส่งข้อมูลได้เลย แต่เนื่องจากไม่มวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรื อเปล่า จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ ี ใดหรื อคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน จะทาให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญ หายของข้อมูล ผูส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง ทาให้เสียเวลามาก จึงมีการพัฒนา ้
  • 10. วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยูที่ฮบ ใช้สายสัญญาณไปยังอุปกรณ์หรื อคอมพิวเตอร์อื่น ๆ จุดเด่น ่ ั ของดาวตัวนี้ จะอยูที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้าง ่ และจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรื อไม่ แต่เมื่อมีฮบเป็ นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิด ั ี เป็ นอะไรขึ้นมา อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ หรื อคอมพิวเตอร์กไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก ็ ภายในฮับมีลกษณะเป็ นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮบและบัสจะมี ั ั ระบบการส่งข้อมูลแบบ เดียวกัน และมีการพัฒนาเป็ นมาตรฐาน กาหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 ความเร็ วในการส่งกาหนดไว้ที่ 10 ล้านบิตต่อ วินาที และกาลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถ รับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที 3.2 โทเก็นริ ง โทเก็นริ ง เป็ นเครื อข่ายที่บริ ษท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น รู ปแบบการเชื่อมโยงจะ ั เป็ น วงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็ นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็ นตัวส่งสัญญาณ การเชื่อมต่อ แบบนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้ การ ติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลาดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สบสน และมีรูปแบบ ที่ชดเจน ั ั โทเก็นริ งที่ใช้กนอยูในขณะนี้มีความเร็ วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที ข้อมูลแต่ละ ั ่ ชุดจะมี การกาหนดตาแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด
  • 11. 3.3 สวิตชิง สวิตชิง เป็ นเทคโนโลยีที่พฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทาได้เร็ ว ั ยิงขึ้น การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง จะกระทาที่ชุมสายกลางที่ ่ เรี ยกว่า สวิตชิง รู ปแบบของเครื อข่ายแบบนี้จะมีลกษณะ เป็ นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะ ั เหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮบเป็ นศูนย์กลาง แต่แตกต่างกันที่ฮบเป็ นจุดร่ วมของสาย ั ั สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตาแหน่งที่ตองการ ้ เท่านั้น สวิตชิงจึงมีขอดี กว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความเป็ นอิสระต่อกันมาก ทาให้ ้ รับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่ องการชนกัน ของข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และเอทีเอ็มสวิตซ์ เอทีเอ็มสวิตซ์เป็ นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็ นชุด ๆ ข้อมูลแต่ละชุดเรี ยกว่า เซล มีขนาดจากัด การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทาให้ขอมูลจากสถานีหนึ่ง ้ ไปยังอีกสถานีหนึ่งดาเนินไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งกาลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความ นิยมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการความเร็ วสูง โดยเฉพาะการ สื่อสารที่มีการผสมหลายสื่อรวมทั้งข้อความ รู ปภาพ เสียงและวีดิโอ 4 การใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายแลนหนึ่งเครื อข่ายจะมีการทางานกันเป็ นกลุม เรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อ ่ เชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กร ผ่านเครื อข่ายแวน ก็จะได้เครื อข่าย ขนาดใหญ่ ตัวอย่างการใช้งานเครื อข่าย
  • 12. 4.1 การใช้ฐานข้อมูลร่ วมกัน งานขององค์กรบางอย่างมีความจาเป็ นต้องใช้ขอมูลชุดเดียวกัน ถ้าแต่ละฝ่ ายทาการหาหรื อ ้ รวบรวมข้อมูลเอง ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้ นอกจากความผิดพลาดที่ เกิดขึ้นแล้วยังทาให้สิ้นเปลืองทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์ สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย แต่ถา ้ องค์กรนั้นมีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี มีสถานีให้บริ การเก็บข้อมูล แล้วให้ผใช้บริ การในองค์กร ู้ นั้นดึงข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายไปใช้ ก็จะประหยัดค่าใช้จ่ายด้านต่าง ๆ ได้ นอกจากนั้นยัง สามารถใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ เครื่ องสแกน กล้องดิจิตอล ฯลฯ การดาเนินงาน ก็เป็ นไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากใช้ฐานข้อมูลร่ วมกัน 4.2 การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครื อข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน ผูใช้ทุกคน ้ ที่อยูบนเครื อข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน สามารถส่ง ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ระหว่าง ่ ์ กัน ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ 4.3 สานักงานอัตโนมัติ แนวคิดของสานักงานสมัยใหม่ ก็คือ ลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางาน ด้วย คอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทนทีทนใด ระบบสานักงานอัตโนมัติจึง ั ั เป็ นระบบการทางานที่ทุกสถานีงานเปรี ยบเสมือน โต๊ะทางาน ทาให้เกิดความคล่องตัว และ รวดเร็ ว 5 ตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครื อข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครื อข่ายอย่าง กว้างขวาง ทาให้เครื อข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย เดียวกัน เรี ยกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มการพัฒนาเครื อข่ายของ ี ตนเองและประยุกต์ใช้กบงานเฉพาะในองค์กร เรี ยกว่าอินทราเน็ต ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่าง ั จากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็ น มาตรฐานเดียวกัน
  • 13. 5.1 อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริ กาให้ทุนกับ มหาวิทยาลัย ชั้นนาในสหรัฐฯ เพื่อเชื่อมโยงเครื่ องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็ น เครื อข่าย และใช้ทรัพยากรเพื่อทางานวิจย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่ง ั สมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปาเน็ต และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็ น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง เครื อข่าย อินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็ นมาตรฐาน โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ต่อมามีการเชื่อมเครื อข่ายออกสู่องค์กรเอกชน และแพร่ ขยายไปทัวโลก เครื อข่าย ่ อินเทอร์เน็ต ถือเป็ นเครื อข่ายของเครื อข่าย หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครื อข่ายภายในตนเอง ขึ้นมา และนามาเชื่อมต่อสู่เครื อข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกาหนดตาแหน่งอุปกรณ์ดวย ้ รหัสหมายเลขที่เรี ยกว่า แอดเดรส ซึ่งอินเทอร์เน็ต กาหนดรหัสแอดเดรสเรี ยกว่า ไอพี แอดเดรส และถือเป็ นรหัสสากลที่ไม่ซ้ ากันเลย ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้น เป็ นรหัสของเครื อข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครื อข่ายของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 ส่วนรหัสของเครื่ องจะมีอีกสองพิกด ั ตามมา เช่น 2.71 เมื่อเขียนรวมกันจะได้ 158.108.2.71 เพื่อให้จดจาได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กบ ั หมายเลข เราเรี ยกชื่อนี้ว่า โดเมน เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ ku.ac.th โดย th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ ku หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และถ้ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์อยูในเครื อข่ายหลายเครื่ อง ก็ให้มีการตั้ง ่ ชื่อเครื่ องด้วย เช่น nontri เมื่อมีการเรี ยกรวมกันก็ จะเป็ น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทาให้ใช้งาน ง่ายกว่าตัวเลข เมื่อเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทวโลก ทาให้โลกไร้ ั่ พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็ นเพียงตัวอย่างที่แพร่ หลายและใช้กนมากเท่านั้น แต่ยงมีการใช้งานอื่น ๆ อีก ั ั มากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา 1. การรับส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ ์ เป็ นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถ เขียนเป็ นเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยูของผูรับที่เรี ยกว่า แอดเดรส ระบบจะนาส่งให้ทนทีอย่าง ่ ้ ั รวดเร็ ว ลักษณะของแอดเดรสจะเป็ นชื่อรหัสผูใช้ และชื่อเครื่ องประกอบ ้ กัน เช่น sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตาแหน่งให้เองโดย อัตโนมัติ และนาส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (email) กาลัง ์ เป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย 2. การโอนย้ายแฟ้ มข้อมูลระหว่างกัน เป็ นระบบที่ทาให้ผใช้สามารถรับส่งแฟ้ มข้อมูลระหว่างกันหรื อมีสถานีให้บริ การ เก็บ ู้
  • 14. แฟ้ มข้อมูลที่อยูในที่ต่าง ๆ และให้บริ การ ผูใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้ มข้อมูลมาใช้ ่ ้ ประโยชน์ได้ 3. การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครื อข่าย ทาให้เราสามารถ เรี ยกหาเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เป็ น สถานีบริ การใน ที่ห่างไกลได้ ผูใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่อยูใน ้ ่ เครื อข่าย โดยไม่ตองเดินทางไปเอง ้ 4. การเรี ยกค้นข้อมูลข่าวสาร ปัจจุบนมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรู ปสิ่งพิมพ์ ั อิเล็กทรอนิกส์ที่ผใช้สามารถ เรี ยกอ่าน หรื อนามาพิมพ์ ลักษณะการเรี ยกค้นนี้จึงมีลกษณะเหมือน ู้ ั เป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่อยูภายในเครื อข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะ ่ นี้เรี ยกว่า เครื อข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทัวโลก(World Wide Web : WWW) เป็ นฐานข้อมูลที่ ่ เชื่อมโยงกันทัวโลก ่ 5. การอ่านจากกลุ่มข่าว ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็ นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผใช้ ู้ อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผตองการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่ม ู้ ้ ข่าวนี้จึงแพร่ หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ ว 6. การสนทนาบนเครื อข่าย เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเป็ นตัวกลาง ในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการ สนทนาเป็ นตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้ ปัจจุบนถ้าระบบสื่อสารมีความเร็ วพอก็ ั สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันและกันบนจอภาพได้ 7. การบริ การสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครื อข่าย ปัจจุบนมีผต้งสถานีวิทยุบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผูใช้สามารถเลือกสถานที่ ั ู้ ั ้ ต้องการและได้ยนเสียงเหมือน การเปิ ดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบน ิ เครื อข่ายด้วย 5.2 อินทราเน็ต เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็ นที่ยอมรับและแพร่ หลาย จึงมีผตองการสร้างเครื อข่าย ู้ ้ ใช้งานเฉพาะในองค์กร โดยนาวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กบเครื อข่ายของตนเอง ั เครื อข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรี ยกว่า เครื อข่ายอินทราเน็ต การประยุกต์ใช้บน เครื อข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริ การ และสถานีผใช้บริ การ สถานีผใช้บริ การมี ู้ ู้ โปรแกรมเชื่อมต่อที่ทาให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะ ทาให้ผใช้ไม่ตองเสียเวลาในการเรี ยนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต ู้ ้
  • 15. โพรโทคอลการสื่ อสาร คือชุดของกฎหรื อข้อกาหนดต่างๆสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลในเครื อข่าย ในโพรโทคอลสแต็ค (ระดับชั้นของโพรโทคอล ดูแบบจาลองโอเอสไอ) แต่ละโพรโทคอลยกระดับการให้บริ การของโพรโทตคล ที่อยูในชั้นล่าง ตัวอย่างที่สาคัญในโพรโทคอลสแต็คได้แก่ HTTP ที่ทางานบน TCP over IP ผ่านข้อกาหนด ่ IEEE 802.11 (TCP และ IP ที่เป็ นสมาชิกของชุดโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต. IEEE 802.11 เป็ นสมาชิกของชุดอี เธอร์เน็ตโพรโทคอล.) สแต็คนี้จะถูกใช้ระหว่างเราต์เตอร์ไร้สายกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผูใช้ตาม ้ บ้านเมื่อผูใช้จะท่องเว็บ ้ โพรโทคอลการสื่อสารมีลกษณะต่างๆกัน ซึ่งอาจจะเชื่อมต่อแบบ connection หรื อ connectionless, ั หรื ออาจจะใช้ circuit mode หรื อแพ็กเกตสวิตชิง, หรื ออาจใช้การ addressing ตามลาดับชั้นหรื อแบบ flat มีโพรโทคอลการสื่อสารมากมาย บางส่วนได้อธิบายไว้ดานล่างนี้ ้ อีเธอร์ เน็ต อีเธอร์เน็ตเป็ นครอบครัวของโพรโทคอลที่ใช้ในระบบ LAN, ตามที่อธิบายอยูในชุดของมาตรฐานที่เรี ยกว่า ่ IEEE 802 เผยแพร่ โดยสถาบันวิศวกรไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีวิธีการ addressing แบบ flat และจะ ดาเนินการส่วนใหญ่ที่ระดับ 1 และ 2 ของแบบจาลอง OSI. สาหรับผูใช้ที่บานในวันนี้ สมาชิกส่วนใหญ่ของ ้ ้ ครอบครัวของโปรโตคอลที่รู้จกกันดีน้ ีคือ IEEE 802.11 หรื อที่เรี ยกว่า Wireless LAN (WLAN). IEEE 802 ั โพรโทคอลชุดสมบูรณ์จดให้มีความหลากหลายของความสามารถเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น MAC bridging ั (IEEE 802.1D) ทางานเกี่ยวกับการ forwarding ของแพ็กเกตอีเธอร์เน็ตโดยใช้โพรโทคอล Spanning tree, IEEE 802.1Q อธิบาย VLANs และ IEEE 802.1X กาหนดโพรโทคอลที่ใช้ควบคุมการเข้าถึงเครื อข่ายแบบ พอร์ตซึ่งฟอร์มตัวเป็ นพื้นฐานสาหรับกลไกการตรวจสอบที่ใช้ใน VLANs (แต่ก็ยงพบในเครื อข่าย WLANs ั อีกด้วย) - มันเป็ นสิ่งที่ผใช้ตามบ้านเห็นเมื่อผูใช้จะต้องใส่ "wireless access key". ู้ ้ Internet protocol suite อินเทอร์เน็ตโปรโตคอลสวืท, หรื อที่เรี ยกว่า TCP / IP, เป็ นรากฐานของระบบการเชื่อมโยงเครื อข่าย ที่ทนสมัย ทาให้มีการเชื่อมต่อแบบ connection-less เช่นเดียวกับ connection-oriented ผ่านเครื อข่ายที่ไม่ ั น่าเชื่อถือโดยการส่งดาต้าแกรม(ข้อมูลที่ถกแบ่งเป็ นชิ้นเล็กๆ)ที่เลเยอร์โปรโตคอลอินเทอร์เน็ต (IP) ที่ ู แกนกลางของมัน ชุดโพรโทคอลกาหนด address, การระบุตวตน, และคุณสมบัติของการเราต์ติงสาหรับ ั Internet Protocol Version 4 (IPv4) และ IPv6 ซึ่งรุ่ นต่อไปที่มีความสามารถในการขยายระบบ addressing อย่างมาก       
  • 16. SONET/SDH Synchronous optical networking (SONET) และ Synchronous Digital Hierarchy (SDH) เป็ นโพรโท คอลมาตรฐานสาหรับการ multiplexing ที่ทาการถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลที่หลากหลายผ่านใยแก้วนาแสง. พวกมันแต่เดิมถูกออกแบบมาเพื่อการขนส่งในการสื่อสารแบบ circuit mode จากแหล่งที่มาที่หลากหลาย แตกต่างกัน, เบื้องต้นเพื่อสนับสนุนระบบเสียงที่เป็ น circuit-switched ที่เข้ารหัสในฟอร์แมท PCM (PulseCode Modulation) ที่เป็ นเรี ยลไทม์และ ถูกบีบอัด. อย่างไรก็ตามเนื่องจากความเป็ นกลางและคุณสมบัติที่ เป็ น transport-oriented, SONET/SDH ยังเป็ นตัวเลือกที่ชดเจนสาหรับการขนส่งเฟรมของ Asynchronous ั Transfer Mode (ATM) Asynchronous Transfer Mode เป็ นเทคนิคการ switching สาหรับเครื อข่ายการสื่อสารโทรคมนาคม ที่ใช้ asynchronous timedivision multiplexing ATM จะเข้ารหัสข้อมูลที่เป็ นเซลล์ขนาดเล็กคงที่ วิธีน้ ีจะแตกต่างจากโพรโทคอลอื่น ๆ เช่น Internet Protocol สวีทหรื ออีเธอร์เน็ตที่ใช้แพ็กเกตหลายขนาด ATM มีความคล้ายคลึงกันกับ circuit switched และ packet switched networking. ATM จึงเป็ นทางเลือกที่ดีสาหรับเครื อข่ายที่ตองจัดการทั้งแบบ ้ การจราจรที่มีขอมูล throughput สูงแบบดั้งเดิมและแบบเนื้อหา real-time, ความล่าช้าแฝงต่าเช่นเสียงและ ้ วิดีโอ. ATM ใช้รูปแบบการเชื่อมต่อแบบ connection-oriented model ในที่ซ่ึงวงจรเสมือนจะต้องจัดตั้งขึ้น ระหว่างจุดสิ้นสุดสองจุดก่อนที่การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกิดขึ้นจริ งจะเริ่ มขึ้น ในขณะที่บทบาทของ ATM จะลดน้อยลงเนื่องจากความโปรดปรานของเครื อข่ายรุ่ นต่อไป มันยังคง มีบทบาทในการเป็ นไมล์สุดท้ายซึ่งคือการเชื่อมต่อระหว่างผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตและผูใช้ตามบ้าน ้ ้ สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมของเทคโนโลยีและโปรโตคอลการสื่อสาร โปรดอ่านเพิ่มเติมในหัวข้อข้างท้าย
  • 17. โทโพโลยีเครื อข่าย โทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นรู ปแบบหรื อลาดับชั้นของโหนดที่เชื่อมต่อกันของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ รูปแบบสามัญ รู ปแบบที่พบบ่อยคือ:  เครื อข่ายแบบบัส: ทุกโหนดจะถูกเชื่อมต่อกับสื่อกลางไปตลอดทั้งตัวสื่อนี้ รู ปแบบนี้ใช้ในต้นฉบับอี เธอร์เน็ตที่เรี ยกว่า 10BASE5 และ 10Base2  เครื อข่ายรู ปดาว: ทุกโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดกลางพิเศษ รู ปแบบนี้พบโดยทัวไปใน LAN ไร้สายที่ ่ ลูกค้าแต่ละรายเชื่อมต่อแบบไร้สายกับจุดการเข้าถึง (Wireless access point)  เครื อข่ายวงแหวน: แต่ละโหนดมีการเชื่อมต่อไปยังโหนดข้างเคียงด้านซ้ายและด้านขวา เพื่อที่ว่าทุก โหนดมีการเชื่อมต่อและแต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอื่น โดยเข้าหาทางโหนดด้านซ้ายหรื อ โหนดด้านขวาก็ได้ ไฟเบอร์การเชื่อมต่อข้อมูลแบบกระจาย (Fiber Distributed Data Interface หรื อ FDDI) ใช้โทโพโลยีแบบนี้  เครื อข่ายตาข่าย: แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดอื่นๆได้เกือบทั้งหมดในลักษณะที่มีอยูอย่างน้อย ่ หนึ่งเส้นทางไปยังโหนดใดๆ แต่อาจต้องผ่านโหนดอื่นไป  เครื อข่ายที่เชื่อมต่ออย่างเต็มที่: ในแต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับทุกโหนดอื่น ๆ ในเครื อข่าย  ต้นไม้: ในกรณี น้ ีโหนดทั้งหมดมีการจัดลาดับชั้น
  • 18. โปรดสังเกตว่ารู ปแบบทางกายภาพของโหนดในเครื อข่ายอาจไม่จาเป็ นต้องสะท้อนให้เห็นถึง โทโพโลยีเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น, FDDI มีโทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นวงแหวน (ที่จริ งสองวงหมุนสวนทางกัน) แต่โครงสร้างทางกายภาพอาจเป็ นรู ปดาวเพราะทุกการเชื่อมต่อกับโหนดที่อยูใกล้เคียงจะถูกส่ งผ่านโหนดที่ ่ อยูตรงกลาง ่ เครือข่ ายซ้ อนทับ เครื อข่ายซ้อนทับเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เสมือนที่ถกสร้างขึ้นทับบนเครื อข่ายอื่น โหนดใน ู เครื อข่ายซ้อนทับจะถูกลิงค์เข้าด้วยกันแบบเสมือนหรื อแบบลอจิก ที่ซ่ึงแต่ละลิงค์จะสอดคล้องกับเส้นทาง ในเครื อข่ายหลักด้านล่าง ที่อาจจะผ่านการลิงค์ทางกายภาพหลายลิงค์ โทโพโลยีของเครื อข่ายซ้อนทับอาจ (และมักจะ) แตกต่างจากของเครื อข่ายด้านล่าง. เช่น เครื อข่ายแบบ peer-to-peer หลายเครื อข่ายเป็ นเครื่ อข่าย ซ้อนทับ พวกมันจะถูกจัดให้เป็ นโหนดของระบบเสมือนจริ งของลิงค์ที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต ถูกสร้างขึ้นครั้งแรกเป็ นภาพซ้อนทับบนเครื อข่ายโทรศัพท์. ตัวอย่างที่โดดเด่นที่สุดของเครื อข่ายซ้อนทับคือระบบของ Internet เอง. ที่เลเยอร์เครื อข่ายแต่ละ โหนดสามารถเข้าถึงโหนดอื่น ๆ โดยการเชื่อมต่อโดยตรงไปยัง IP address ที่ตองการ ทาให้เกิดการสร้าง ้ เครื อข่ายที่ถกเชื่อมต่ออย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม เครื อข่ายด้านล่างจะประกอบด้วยการเชื่อมต่อภายในเหมือน ู ตาข่ายของเครื อข่ายย่อยที่มี topologies (และเทคโนโลยี)ที่แตกต่างกัน การจาแนก address และการเราต์ติงค์ เป็ นวิธีที่ใช้ในการทา mapping ของเครื อข่ายซ้อนทับ(แบบ IP ที่ถกเชื่อมต่ออย่างเต็มที่)ข้างบนกับเครื อข่ายที่ ู อยูขางล่าง ่ ้ เครื อข่ายซ้อนทับเกิดขึ้นตั้งแต่มีการสร้างเครื อข่ายเมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถกเชื่อมต่อผ่าน ู สายโทรศัพท์โดยใช้โมเด็ม และเกิดขึ้นก่อนที่จะมีเครื อข่ายข้อมูลเสียอีก อีกตัวอย่างของเครื อข่ายซ้อนทับก็คือตารางแฮชกระจายซึ่ง map คีย(์ keys)ไปยังโหนดในเครื อข่าย ใน กรณีน้ ีเครื อข่ายข้างใต้เป็ นเครื อข่าย IP และเครื อข่ายทับซ้อนเป็ นตาราง (ที่จริ งเป็ นแผนที่) ที่ถกทาดัชนีโดย ู คีย ์ เครื อข่ายซ้อนทับยังได้รับการเสนอให้เป็ นวิธีการปรับปรุ งการเราต์ติงค์ในอินเทอร์เน็ต เช่นการเราต์ โดยการรับประกันคุณภาพการให้บริ การเพื่อให้ได้สื่อกลางสตรี มมิ่งที่มีคุณภาพสูง ข้อเสนอก่อนหน้านี้เช่น IntServ, DiffServ และ IP Multicast ไม่ได้เห็นการยอมรับอย่างกว้างขวางเพราะข้อเสนอเหล่านี้จาเป็ นต้องมี การปรับเปลี่ยนของเราต์เตอร์ท้งหมดในเครื อข่าย. ในขณะที่เครื อข่ายทับซ้อนถูกนาไปใช้งานเพิ่มขึ้นบน ั end-hosts ที่ run ซอฟแวร์โปรโตคอลทับซ้อนโดยไม่ตองรับความร่ วมมือจากผูให้บริ การ ้ ้ อินเทอร์เน็ต เครื อข่ายซ้อนทับไม่มการควบคุมวิธีการที่แพ็คเก็ตจะถูกเราต์ในเครื อข่ายข้างล่างระหว่างสอง ี โหนดที่ซอนทับกัน แต่มนสามารถควบคุม, ตัวอย่างเช่น, ลาดับของโหนดซ้อนทับที่ขอความจะลัดเลาะไป ้ ั ้ ก่อนที่จะถึงปลายทาง