SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
สิทธิและมาตรฐานแรงงาน

                กธ. 301 ธุรกิจกับสังคมและชุมชน
                            สฤณี อาชวานันทกุล
มาตรฐานแรงงาน
   มาตรฐานแรงงาน คือ กฎเกณฑ์ ข้อปฏิบตเกียวกับสภาพการจ้าง
                                        ั ิ ่
    และสภาพการทางาน เช่น ค่าจ้าง ชัวโมงทางาน วันหยุด และความ
                                    ่
    ปลอดภัยในการทางาน
   เป้าหมายของการมีมาตรฐานแรงงาน คือเพือให้แรงงานได้รบการ
                                            ่           ั
    คุมครองอย่างทัดเทียมเสมอภาค ก่อให้เกิดคุณภาพชีวต มีความ
      ้                                            ิ
    ปลอดภัย มีแรงงานสัมพันธ์ทดี และมีขวัญกาลังใจในการทางาน
                             ่ี




                                                               2
ประเภทของมาตรฐานแรงงาน
มาตรฐานแรงงานแบ่งเป็ น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้
 มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ คือ อนุ สญญาและข้อแนะ รวมทัง
                                           ั                ้
   ประกาศอื่นๆ ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
 มาตรฐานแรงงานตามกฎหมาย คือ ข้อบังคับตามกฎหมาย ได้แก่
   พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กฎหมายความปลอดภัยในการ
            ้
   ทางาน และ พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518
 มาตรฐานแรงงานเอกชน คือ ข้อกาหนดทีประกาศใช้โดยองค์กร
                                         ่
   พัฒนาเอกชน กลุ่มธุรกิจ และผูผลิตสินค้า เช่น SA8000 WRAP ETI
                               ้
   ฯลฯ รวมทังหลักปฏิบตของผูผลิต เช่น อดีดาส-ซาโลมอน ไนกี้
              ้        ั ิ   ้
   และ วอลท์ ดิสนีย์ ฯลฯ                                         3
ระดับของมาตรฐานแรงงาน
   มาตรฐานแรงงานในระดับสากล
   มาตรฐานแรงงานในภูมภาค เช่น มาตรฐานแรงงานของสหภาพยุโรป
                         ิ
    มาตรฐานแรงงานของกลุ่มประเทศนอร์ดก  ิ
   มาตรฐานแรงงานในระดับกลุ่มการค้าและสถาบันในความร่วมมือ
   มาตรฐานแรงงานในระดับชาติ (กฎหมายของประเทศและข้อตกลงร่วมระหว่าง
    ประเทศ และมาตรฐานแรงงานไทย)
   มาตรฐานแรงงานในระดับอุตสาหกรรม
   มาตรฐานแรงงานในระดับสาขาอาชีพ
   มาตรฐานแรงงานในระดับสถานประกอบการและกลุมบริษท (จรรยาบรรณ
                                                 ่     ั
    ธุรกิจด้านแรงงาน หรือสภาพการจ้างในสถานประกอบการ)
   มาตรฐานแรงงานในระดับย่อย เช่น ระดับพืนที่ และกลุมกิจกรรมต่างๆ
                                         ้          ่                4
มาตรฐานที่สานักพัฒนามาตรฐานแรงงานแนะนา
   มาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย
    มรท. 8001-2546 (Thai Labor-Standard : TLS 8001-2546) เป็ น
    มาตรฐานทีจดทาโดยภาครัฐร่วมกับเอกชนมาตรฐานแรงงานว่าด้วย
              ่ั
    ความรับผิดชอบทางสังคม (Social Accountability 8000-SA 8000)
    เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการส่งออก
   มาตรฐานแรงงานว่าด้วยข้อปฏิบตในสถานทีทางาน (Workplace
                                ั ิ        ่
    Code of Conduct)
   มาตรฐานแรงงานว่าด้วยสมาคมสิทธิคนงาน (Worker Rights
    Consortium Code of Conduct)
                                                                 5
มาตรฐานที่สานักพัฒนามาตรฐานแรงงานแนะนา (ต่อ)
   มาตรฐานแรงงานว่าด้วยหลักจรรยาบรรณของบริษท ไนกี้ (Nike
                                                   ั
    Code of Ethics) กาหนดขึนโดยบริษทในเครือไนกี้ เหมาะสมกับ
                             ้        ั
    สถานประกอบกิจการผลิตเครืองกีฬา
                                ่
   มาตรฐานแรงงานว่าด้วยหลักการผลิตทีเป็ นสากลทัวโลก (Mattel
                                        ่            ่
    Global Manufacturing Principles)
   มาตรฐานจริยธรรมพืนฐานทางการค้า (Ethical Trading Initiative
                       ้
    (ETI) Standard) (International Council of Toy Industries Code
    of Business Practice) (ICTI) เหมาะสมกับอุตสาหกรรมผูผลิตของ
                                                          ้
    เล่นเด็ก
                                                                    6
มาตรฐานแรงงานขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ
   องค์กรแรงงานระหว่างประเทศหรือ International Labour
    Organization (ILO) เป็ นองค์กรสากลภายใต้สหประชาชาติ มี
    บทบาทในการกาหนดมาตรฐานแรงงานสากลในรูปแบบทีรจกกันใน    ่ ู้ ั
    นาม “อนุสญญา ILO” เพือเป็ นแหล่งอ้างอิงด้านสิทธิแรงงานสาหรับ
                ั           ่
    สหภาพแรงงานเพือใช้ในการส่งเสริมสิทธิของลูกจ้างในการเจรจา
                     ่
    ต่อรองกับนายจ้างและรัฐบาล โดย ILO มีนโยบายว่าอนุสญญาหลักมี
                                                        ั
    ผลบังคับใช้สาหรับทุกประเทศและทุกบริษท รวมถึงประเทศทียง
                                          ั                      ่ ั
    ไม่ได้ให้สตยาบันอนุสญญาหลักของ ILO ด้วย
              ั           ั
   อนุสญญาหลักมี 4 เรือง (8 อนุสญญา)
         ั              ่         ั
                                                                       7
มาตรฐานแรงงานขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ต่อ)
   เสรีภาพในการสมาคมและการยอมรับสิทธิการเจรจาต่อรองร่วม
    (อนุสญญาฉบับที่ 87 และ 98)  ประเทศไทยยังไม่ให้สตยาบัน
         ั                                          ั
       การตังองค์กรและการเข้าเป็ นสมาชิก เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน
              ้
        โดยไม่ตองขออนุญาตใคร
                ้
       การร่างข้อบังคับและกฎขององค์กร เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน
       การเลือกผูแทนขององค์กร เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน
                  ้
       การดาเนินกิจการขององค์กร เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน
       ภาครัฐจะต้องไม่แทรกแซงใดๆ อันส่งผลต่อการจากัดสิทธิ
       ภาครัฐไม่มสทธิยบหรือพักการดาเนินกิจการขององค์กร
                    ีิ ุ
       การรวมองค์กรเข้าด้วยกัน เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงานและองค์กร
                                                                          8
มาตรฐานแรงงานขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ต่อ)
   การยกเลิกการใช้แรงงานภาคบังคับทุกรูปแบบ (อนุสญญาฉบับที่ 29
                                                 ั
    และ 105) โดย “แรงงานภาคบังคับ” ไม่นบกรณีต่อไปนี้
                                       ั
       งานเกียวกับการทหารทีตองทาภายใต้กฏหมายเกณฑ์ทหาร
             ่                   ่ ้
       งานหรือบริการใดๆ ทีทาในฐานะพลเมืองหรือสมาชิกชุมชน (เช่น ลูกขุน)
                               ่
       งานหรือบริการใดๆ ทีเป็ นผลจากคาพิพากษาในชันศาล แต่ทงนี้บุคคลนัน
                           ่                       ้         ั้       ้
        ต้องทางานดังกล่าวภายใต้การสอดส่องดูแลของเจ้าหน้าทีรฐ
                                                          ่ั
       งานหรือบริการใดๆ ทีกระทาในภาวะฉุกเฉิน เช่น ภัยธรรมชาติ
                             ่
   การยกเลิกการใช้แรงงานเด็ก = 15 ปี (ฉบับที่ 138 และ 182)
   การขจัดการเลือกปฏิบตในอาชีพและการจ้างงาน (อนุสญญาฉบับที่
                       ั ิ                            ั
    100 และ 111)                                                          9
มาตรฐานสากลขององค์กรสหประชาชาติ
   UN Global Compact หลักปฏิบตสากล 10 ประการ ประกาศปี 1999
                              ั ิ
       สนับสนุ นและเคารพการคุมครองสิทธิมนุษยชน
                                ้
       การกระทาอันเป็ นการละเมิดสิทธิมนุ ษยชน
       เสรีภาพในการสมาคมและการยอมรับสิทธิการเจรจาต่อรองร่วม
       ขจัดการใช้แรงงานบังคับทุกรูปแบบ
       ยกเลิกการใช้แรงงานเด็ก
       ขจัดการเลือกปฏิบตในอาชีพและการจ้างงาน
                          ั ิ
       สนับสนุ นมาตรการ/วิธการทีป้องกันความเสียหายต่อสิงแวดล้อม
                              ี   ่                          ่
       ส่งเสริมแนวทาง/มาตรการทีสงเสริมความรับผิดชอบต่อสิงแวดล้อม
                                  ่่                           ่
       ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ ป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม
                                                          ่
       ขจัดการคอรัปชันทุกรูปแบบ รวมถึงการติดสินบนและการใช้อานาจบังคับ
                        ่
                                                                         10
มาตรฐานแรงงานใน SA8000
   No child labor: No workers under the age of 15
   No forced labor
   Health and Safety: Provide a safe and healthy work environment; take steps
    to prevent injuries; regular health and safety worker training; system to
    detect threats to health and safety; access to bathrooms and potable water
   Freedom of Association and Right to Collective Bargaining: Respect the right
    to form and join trade unions and bargain collectively; where law prohibits
    these freedoms, facilitate parallel means of association and bargaining
   Discrimination: No discrimination based on race, caste, origin, religion,
    disability, gender, sexual orientation, union or political affiliation, or age;
    no sexual harassment
                                                                                 11
มาตรฐานแรงงานใน SA8000 (ต่อ)
   Discipline: No corporal punishment, mental/physical coercion or verbal abuse
   Working Hours: Comply with the applicable law but, in any event, no more
    than 48 hours per week with at least one day off for every seven day
    period; voluntary overtime paid at a premium rate and not to exceed 12
    hours per week on a regular basis; overtime may be mandatory if part of a
    collective bargaining agreement
   Compensation: Wages paid for a standard work week must meet the legal
    and industry standards and be sufficient to meet the basic need of
    workers and their families; no disciplinary deductions
   Management Systems: Facilities seeking to gain and maintain certification
    must go beyond simple compliance to integrate the standard into their
    management systems and practices.                                         12
กฎหมายแรงงานของไทย
   กฎหมายความปลอดภัยในการทางาน
   กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
   กฎหมายว่าด้วยความร่วมมือกับองค์การไตรภาคี
   กฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจ
   กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม
   กฎหมายว่าด้วยการฝึกอาชีพ
   กฎหมายว่าด้วยศาลแรงงาน
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
เวลาทางาน:
 ไม่เกิน 8 ชัวโมงต่อวัน และ 48 ชัวโมงต่อสัปดาห์
                ่                  ่
 งานอันตรายตามทีกาหนดในกฎกระทรวงไม่เกิน 7 ชัวโมงต่อวัน
                     ่                            ่
    และ 42 ชัวโมงต่อสัปดาห์ เช่น งานทีตองอยูกบความร้อน หรือมี
              ่                       ่ ้   ่ ั
    อุณหภูมสงๆ
           ิู
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
เวลาพัก:
 ในวันทีมการทางาน ให้นายจ้างจัดให้ลกจ้างมีเวลาพักติดต่อกันไม่
            ่ ี                          ู
    น้อยกว่า 1 ชัวโมงภายใน 5 ชัวโมงแรกของการทางาน
                  ่              ่
 นายจ้างและลูกจ้างจะตกลงกันล่วงหน้าให้มเวลาพักน้อยกว่าครังละ
                                            ี                  ้
    1 ชัวโมงก็ได้ แต่ตองไม่น้อยกว่าครังละ 20 นาที และเมือรวมกัน
          ่            ้               ้                ่
    แล้วต้องไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชัวโมง
                                   ่
 กรณีงานในหน้าทีมลกษณะต้องทาติดต่อกันไป หรือเป็ นงานฉุ กเฉิน
                      ่ ีั
    โดยหยุดเสียมิได้ นายจ้างจะไม่จดเวลาพักให้ลกจ้างก็ได้ แต่ตอง
                                     ั        ู              ้
    ได้รบความยินยอมจากลูกจ้าง
        ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
วันหยุดประจาสัปดาห์
 ต้องไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัน โดยมีระยะห่างกันไม่เกิน 6 วัน
 ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดประจาสัปดาห์ (ยกเว้น: ลูกจ้างรายวัน รายชัวโมง หรือ
                   ิ   ั                                                       ่
     ตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย)
 นายจ้างและลูกจ้างจะตกลงกันล่วงหน้าโดยกาหนดให้มวนหยุดประจาสัปดาห์วนใดก็ได้
                                                        ีั                   ั
                                    ่
 งานโรงแรม งานขนส่ง งานในปา งานในทีทุรกันดาร งานประมง งานดับเพลิง และงานอื่นๆ
                                              ่
     ตามทีกฎกระทรวงกาหนด นายจ้างและลูกจ้างจะต้องตกลงกันล่วงหน้าว่าสามารถสะสมหรือ
            ่
     เลื่อนวันหยุดประจาสัปดาห์ไปเมือใดก็ได้ แต่ตองอยูในระยะเวลาไม่เกิน 4 สัปดาห์ตดต่อกัน
                                      ่           ้  ่                           ิ
 กรณีทวนหยุดประจาสัปดาห์ไม่แน่ นอน ให้นายจ้างประกาศวันหยุดให้ลกจ้างทราบล่วงหน้า
              ่ี ั                                                    ู
     ไม่น้อยกว่า 3 วัน และแจ้งเป็ นหนังสือให้พนักงานตรวจแรงงานทราบภายใน 7 วัน
วันหยุดตามประเพณี
 ต้องไม่น้อยกว่าปี ละ 13 วัน โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติดวย ถ้าวันหยุดตามประเพณีตรง
                                                           ้
     กับวันหยุดประจาสัปดาห์ ให้หยุดชดเชยในวันทางานถัดไป
 ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดตามประเพณี
                     ิ   ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
วันหยุดพักผ่อนประจาปี
 ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันมาครบ 1 ปี มีสทธิหยุดพักผ่อนประจาปี
            ่                             ิ
    ไม่น้อยกว่าปี ละ 6 วันทางาน
 ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจาปี
              ิ      ั
 ถ้าลูกจ้างทางานยังไม่ครบ 1 ปี จะให้หยุดตามส่วนก็ได้

 นายจ้างเป็ นผูกาหนดวันหยุดพักผ่อนประจาปี ให้ลกจ้างทราบ
                   ้                            ู
    ล่วงหน้า หรือกาหนดตามทีตกลงกัน
                              ่
 นายจ้างและลูกจ้างจะตกลงกันล่วงหน้าว่า จะสะสมหรือเลื่อนวันหยุด
    พักผ่อนประจาปีไปรวมหยุดในปีอ่นก็ได้
                                   ื
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
การลา:
       ่
การลาปวย
             ิ      ่
 ลูกจ้างมีสทธิลาปวยโดยได้รบค่าจ้างตามปกติปีหนึ่งไม่เกิน 30 วัน
                              ั
   ทางาน
การลาคลอด
 ลูกจ้างซึงเป็ นหญิงมีครรภ์ มีสทธิลาคลอดก่อนและหลังการคลอด
           ่                    ิ
   ครรภ์หนึ่งไม่เกิน 90 วันโดยให้นบรวมวันหยุดทีมระหว่างวันลาด้วย
                                    ั          ่ ี
   และให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่ลกจ้างทีลาคลอดเท่ากับค่าจ้างในวัน
                                  ู   ่
   ทางานตลอดระยะเวลาทีลา แต่ไม่เกิน 45 วัน
                           ่
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
การลาเพือทาหมัน
         ่
 ลูกจ้างมีสทธิลาเพือทาหมันได้ และมีสทธิลาเนื่องจากการทาหมัน
            ิ         ่                 ิ
                               ั ั ้
   ตามระยะเวลาทีแพทย์แผนปจจุบนชันหนึ่งกาหนด และออก
                  ่
   ใบรับรองแพทย์ให้ โดยลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันลานันด้วย
                                  ิ       ั                ้
การลากิจ
 ลูกจ้างมีสทธิลาเพือกิจธุระอันจาเป็ นได้ตามข้อบังคับเกียวกับการ
              ิ     ่                                   ่
   ทางาน โดยไม่ได้รบค่าจ้างในวันลา
                        ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
การลาเพือรับราชการทหาร
        ่
 ลูกจ้างมีสทธิลาเพือรับราชการทหาร ในการเรียกพลเพือตรวจสอบ
              ิ        ่                           ่
   เพือฝึกวิชาทหาร หรือเพือทดสอบความพร้อม โดยลาได้เท่ากับวันที่
      ่                      ่
   ทางทหารเรียก และได้รบค่าจ้างตลอดเวลาทีลาแต่ไม่เกิน 60 วันต่อปี
                           ั              ่
การลาเพือฝึกอบรม
          ่
 ลูกจ้างมีสทธิลาเพือการฝึ กอบรม หรือพัฒนาความรูความสามารถตาม
                ิ    ่                          ้
   หลักเกณฑ์และวิธการทีกาหนดในกฎกระทรวง โดยไม่ได้รบค่าจ้างใน
                   ี     ่                            ั
   วันลานัน ้
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
ค่าจ้างและค่าล่วงเวลา:
ค่าจ้าง
 เป็ นเงินทีนายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็ นค่าตอบแทนในการ
               ่
     ทางานตามสัญญาจ้าง สาหรับระยะเวลาการทางานปกติ เป็ นราย
     ชัวโมง รายวัน รายสัปดาห์ หรือระยะเวลาอื่น หรือจ่ายให้โดย
       ่
     คานวณตามผลงานทีลกจ้างทาได้ในเวลาทางานปกติของวันทางาน
                         ู่
     และรวมถึงเงินทีนายจ้างจ่ายให้แก่ลกจ้างในวันหยุด และวันลาที่
                     ่                ู
     ลูกจ้างมิได้ทางาน แต่มสทธิได้รบตามกฎหมายคุมครองแรงงาน
                            ี ิ    ั              ้
 ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขันต่ า
                 ิ     ั                            ้
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
การทางานล่วงเวลาและการทางานในวันหยุด
 ในกรณีทงานมีลกษณะต้องทาติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็ น
              ่ี   ั
    งานฉุกเฉิน นายจ้างอาจให้ลกจ้างทางานล่วงเวลา หรือทางานในวันหยุดเท่าที่
                               ู
    จาเป็ นก็ได้
 กิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหารและเครืองดื่ม สโมสร
                                                                ่
    สมาคม สถานพยาบาล และกิจการอื่นๆ ตามทีกระทรวงกาหนด นายจ้างจะให้
                                                ่
    ลูกจ้างทางานในวันหยุดเท่าทีจาเป็ นก็ได้ โดยได้รบความยินยอมจากลูกจ้าง
                                 ่                 ั
    เป็ นคราวๆ ไป
 ในกรณีทมการทางานล่วงเวลาต่อจากเวลาทางานปกติไม่น้อยกว่า 2 ชัวโมง
              ่ี ี                                                    ่
    นายจ้างต้องจัดให้ลกจ้างมีเวลาพัก ไม่น้อยกว่า 20 นาที ก่อนทีลกจ้างเริม
                      ู                                         ู่      ่
    ทางานล่วงเวลา (ยกเว้นงานทีมลกษณะหรือสภาพของงานทีตองทาติดต่อกัน
                                   ่ ีั                     ่ ้
    ไปโดยได้รบความยินยอมจากลูกจ้าง หรือเป็ นงานฉุกเฉิน
                 ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุด
 ถ้าทางานเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน นายจ้างต้องจ่ายค่า
     ล่วงเวลาไม่น้อยกว่า หนึ่ งเท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อชัวโมงในวัน
                                                            ่
     ทางานตามจานวนชัวโมงทีทา หรือไม่น้อย หนึ่ งเท่าครึ่ง ของอัตรา
                          ่     ่
     ค่าจ้างต่อหน่ วย ในวันทางานตามจานวนผลงานทีทาได้ สาหรับ
                                                      ่
     ลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงาน
              ่ ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
   ถ้าทางานในวันหยุดเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน นายจ้างต้องจ่ายค่า
    ล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลกจ้างในอัตรา สามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชัวโมง
                                ู                                          ่
    ในวันทางาน ตามจานวนชัวโมงทีทา หรือตามจานวนผลงานทีทาได้ สาหรับ
                                  ่     ่                       ่
    ลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย
             ่ ั
   ถ้าทางานในวันหยุด ในเวลาทางานปกติ นายจ้างต้องจ่ายค่าทางานในวันหยุด
    ให้แก่ลกจ้าง ทีมสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดเพิมขึนอีก หนึ่ งเท่า ของค่าจ้างใน
           ู       ่ ีิ       ั                 ่ ้
    วันทางาน ตามชัวโมงทีทางานในวันหยุด หรือตามจานวนผลงานทีทาได้
                      ่     ่                                       ่
    สาหรับลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย
                    ่ ั
   สาหรับลูกจ้างทีไม่มสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดต้องจ่ายไม่น้อยกว่า สองเท่า
                     ่ ีิ           ั
    ของค่าจ้างในวันทางานตามชัวโมงทีทางานในวันหยุด หรือตามจานวนผลงาน
                                      ่   ่
    ทีทาได้สาหรับลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย
      ่                    ่ ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
สวัสดิการ:
 สถานประกอบกิจการทีมลูกจ้างตังแต่ 50 คนขึนไป ให้นายจ้างจัดให้
                         ่ ี     ้            ้
    มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกอบด้วย
      ้    ่
    ผูแทนฝายลูกจ้างอย่างน้อย 5 คน เพือร่วมหารือ และเสนอแนะ
                                      ่
    ความเห็นแก่นายจ้าง ในการจัดสวัสดิการสาหรับลูกจ้าง และตรวจ
    ตรา ควบคุม ดูแลการจัดสวัสดิการทีนายจ้างจัดให้แก่ลกจ้าง
                                    ่                ู
 สถานประกอบกิจการใดทีมคณะกรรมการลูกจ้าง ตามกฎหมายว่า
                             ่ ี
    ด้วยแรงงานสัมพันธ์แล้วให้คณะกรรมการลูกจ้างทาหน้าทีเป็ น
                                                        ่
    คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
ค่าชดเชย:
 ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าชดเชย หากนายจ้างเลิกจ้างโดยลูกจ้างไม่ม ี
               ิ   ั
    ความผิด ดังนี้
 ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 120 วันแต่ไม่ครบ 1 ปี มีสทธิให้รบ
           ่                                             ิ      ั
    ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
 ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี มีสทธิให้รบ
             ่                                       ิ      ั
    ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
   ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 3 ปีแต่ไม่ครบ 6 ปี มีสทธิให้รบ
             ่                                          ิ    ั
    ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน
   ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 6 ปีแต่ไม่ครบ 10 ปี มีสทธิให้รบ
               ่                                          ิ    ั
    ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน
   ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 10 ปีขนไป มีสทธิให้รบค่าชดเชย
                 ่                      ้ึ     ิ      ั
    เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
ค่าชดเชยพิเศษกรณีปรับปรุงหน่วยงาน:
 ในกรณีทนายจ้างจะเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุปรับปรุงหน่ วยงาน
              ่ี
    กระบวนการผลิต การจาหน่าย หรือการบริการอันเนื่องมาจากการ
    นาเครืองจักรมาใช้ หรือเปลียนแปลงเครืองจักร หรือเทคโนโลยีจง
           ่                  ่        ่                     ึ
    เป็ นเหตุให้ตองลดจานวนลูกจ้างลง นายจ้างจะต้องปฏิบตดงนี้
                 ้                                    ั ิ ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
   แจ้งวันทีจะเลิกจ้าง เหตุผลของการเลิกจ้าง และรายชื่อลูกจ้างทีจะถูก
             ่                                                  ่
    เลิกจ้าง ให้ลกจ้างและพนักงานตรวจแรงงานทราบล่วงหน้าไม่น้อย
                 ู
    กว่า 60 วันก่อนวันทีจะเลิกจ้าง
                         ่
   ถ้าไม่แจ้งแก่ลกจ้างทีจะเลิกจ้างทราบล่วงหน้า หรือแจ้งล่วงหน้าน้อย
                   ู         ่
    กว่าระยะเวลา 60 วัน นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอก
    กล่าวล่วงหน้าแก่ลกจ้าง เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 60 วัน หรือ
                       ู
    เท่ากับค่าจ้างของการทางาน 60 วันสุดท้าย สาหรับลูกจ้างซึงได้รบ
                                                             ่ ั
    ค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย ค่าชดเชยแทนการบอก
    กล่าวล่วงหน้านี้ ให้ถอว่านายจ้างได้จ่ายค่าสินจ้างแทนการบอกกล่าว
                           ื
    ล่วงหน้าตามกฎหมายด้วย
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
   นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษเพิมขึนจากค่าชดเชยปกติดงต่อไปนี้
                                      ่ ้                   ั
   ลูกจ้างทางานติดต่อกันครบ 6 ปีขนไป นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษ
                                   ้ึ
    เพิมขึนจากค่าชดเชยปกติ ซึงลูกจ้างนันมีสทธิได้รบอยูแล้ว ไม่น้อยกว่าค่าจ้าง
         ่ ้                   ่          ้ ิ      ั ่
    อัตราสุดท้าย 15 วันต่อการทางานครบ 1 ปี หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการ
    ทางาน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางาน 15 วันสุดท้ายต่อการทางาน
    ครบ 1 ปี สาหรับลูกจ้างซึงได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย
                           ่ ั
   ค่าชดเชยพิเศษนี้รวมแล้วต้องไม่เกินค่าจ้างอัตราสุดท้าย 360 วัน หรือไม่เกิน
    ค่าจ้างของการทางาน 360 วันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึงได้รบค่าจ้างตามผลงาน
                                                       ่ ั
    โดยคานวณเป็ นหน่วยแต่รวมแล้วต้องไม่เกินค่าจ้างอัตราสุดท้าย 360 วัน
   เพือประโยชน์ในการคานวณค่าชดเชย เศษของระยะเวลาทางานทีมากกว่า
       ่                                                          ่
    180 วันให้นบเป็ นการทางานครบ 1 ปี
                ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
   ในกรณีทนายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการไปตัง ณ สถานทีอ่นอันมี
             ่ี                                  ้           ่ ื
    ผลกระทบสาคัญต่อการดารงชีวตตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัว
                                   ิ
   นายจ้างต้องแจ้งล่วงหน้าให้แก่ลกจ้างทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 30
                                     ู
    วันก่อนย้าย ถ้าลูกจ้างไม่ประสงค์จะไปทางานด้วยลูกจ้างมีสทธิบอก
                                                           ิ
    เลิกสัญญาจ้างได้ โดยได้รบค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
                              ั
    ของอัตราค่าชดเชยปกติ ทีลกจ้างพึงมีสทธิได้รบ
                                ู่        ิ    ั
   ถ้านายจ้างไม่แจ้งให้ลกจ้างทราบการย้ายสถานประกอบกิจการ
                          ู
    ล่วงหน้า นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าว
    ล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
ลูกจ้างไม่มสทธิได้รบค่าชดเชยในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้
           ีิ      ั
 ลูกจ้างลาออกเอง

 ทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทาความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง

 จงใจทาให้นายจ้างได้รบความเสียหาย
                         ั
 ประมาทเลินเล่อเป็ นเหตุให้นายจ้างได้รบความเสียหายอย่างร้ายแรง
                                       ั
กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541
        ้
     ่
    ฝาฝืนข้อบังคับเกียวกับการทางาน หรือระเบียบ หรือคาสังของ
                      ่                                     ่
    นายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็ นธรรม และนายจ้างได้
    ตักเตือนเป็ นหนังสือแล้ว ซึงหนังสือเตือนนันต้องมีผลบังคับไม่เกิน
                               ่              ้
    1 ปี นับตังแต่วนทีลกจ้างได้รบทราบหนังสือเตือน เว้นแต่กรณีท่ี
              ้ ั ู่               ั
    ร้ายแรง นายจ้างไม่จาเป็ นต้องตักเตือน
   ละทิงหน้าทีเป็ นเวลา 3 วันทางานติดต่อกัน ไม่วาจะมีวนหยุดคัน
          ้     ่                                  ่     ั       ่
    หรือไม่กตามโดยไม่มเี หตุอนสมควร
            ็                    ั
   ได้รบโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงทีสดให้จาคุก
        ั                               ุ่
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518
ขอบเขตการบังคับใช้ มิให้ใช้บงคับแก่ (มาตรา 4)
                               ั
 1.1 ราชการส่วนกลาง

 1.2 ราชการส่วนภูมภาค  ิ
 1.3 ราชการส่วนท้องถิน    ่
 1.4 ราชการกรุงเทพมหานค

 1.5 กิจการรัฐวิสาหกิจ ตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์

 1.6 กิจการอื่นตามกาหนดในพระราชกฤษฎีกา
     ั ั
 (ปจจุบนธนาคารแห่งประเทศไทยเป็ นกิจการทีอยูนอกข่ายบังคับของกฎหมาย
                                              ่ ่
   แรงงานสัมพันธ์ โดยได้มการตราพระราชกฤษฎีกากาหนดกิจการที่
                             ี
   พระราชบัญญัตแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ไม่ใช้บงคับ พ.ศ. 2523 ขึน)
                 ิ                                ั             ้
                                                                     34
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518
   ข้อตกลงเกียวกับสภาพการจ้าง คือ ข้อตกลงระหว่างนายจ้างกับ
               ่
    ลูกจ้าง หรือระหว่างสมาคมนายจ้างกับสหภาพแรงงานทีเกียวกับ
                                                       ่ ่
    สภาพการจ้าง เช่น เงือนไขการจ้างงาน การทางาน กาหนดวันและ
                         ่
    เวลาทางาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อ่นของ
                                                           ื
    นายจ้างหรือลูกจ้างอันเกียวกับการจ้างหรือการทางาน
                            ่
   ข้อพิพาทแรงงาน คือ ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง เกียวกับ
                                                               ่
    สภาพการจ้าง
                                                    ่
    คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ประกอบด้วยตัวแทนฝายนายจ้าง
    ลูกจ้าง และรัฐบาล ทาหน้าทีวนิจฉัย และชีขาดพิพาทแรงงาน
                               ่ิ           ้
    พิจารณาวินิจฉัยชีขาดการกระทาอันไม่เป็ นธรรม มีอานาจสังให้
                      ้                                      ่
    นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทางาน
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518
ข้อตกลงเกียวกับสภาพการจ้าง
               ่
 สถานประกอบการทีมลกจ้างตังแต่ 20 คนขึนไปต้องจัดให้มขอตกลงเกียวกับ
                         ่ ีู     ้          ้                 ี ้     ่
    สภาพการจ้างไว้เป็ นหนังสือ หากไม่มขอตกลงเกียวกับสภาพการจ้างอยูแต่เดิม
                                       ี ้        ่                      ่
    ให้ถอว่าข้อบังคับเกียวกับการทางานตามกฎหมายคุมครองแรงงานเป็ นข้อตกลง
           ื           ่                                 ้
    เกียวกับสภาพการจ้าง (มาตรา 10)
       ่
                              ั                     ่ ั้     ่
 อายุของข้อตกลงมีผลใช้บงคับภายในระยะเวลาทีทงสองฝายตกลงกัน แต่ไม่เกิน
    3 ปี ถ้าไม่กาหนดเวลาไว้ ให้ถอว่ามีผลบังคับใช้ 1 ปีนบแต่วนทีได้ตกลงกัน หรือ
                                ื                          ั    ั ่
    ให้นบจากวันทีลกจ้างเข้าทางานแล้วแต่กรณี
             ั    ู่
 เมือข้อตกลงฯ สินสุดลง และมิได้มการเจรจาตกลงกันใหม่ ให้มผลใช้บงคับต่อไป
         ่           ้              ี                              ี ั
    อีกคราวละ 1 ปี (มาตรา 12)

                                                                                 36
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518
   การปิดงาน (lockout) คือการทีนายจ้างปฎิเสธไม่ยอมให้ลกจ้างเข้า
                                 ่                      ู
    ทางานชัวคราว เนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน
             ่
   การนัดหยุดงาน (strike) คือ การทีลกจ้างร่วมกันไม่ทางานชัวคราว
                                     ู่                    ่
    เนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน
   คณะกรรมการลูกจ้าง ทาหน้าทีประชุมหารือกับนายจ้างอย่างน้อย
                                   ่
    สามเดือนครัง ในเรืองจัดสวัสดิการแก่ลกจ้าง พิจารณาคาร้องทุกข์
                ้    ่                  ู
    ของลูกจ้าง หาทางปรองดองระงับข้อขัดแย้ง กาหนดข้อบังคับทีเป็ น
                                                             ่
    ประโยชน์ต่อนายจ้างและลูกจ้าง
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518
   สมาคมนายจ้าง คือ องค์กรของนายจ้างทีจดตังขึนตาม พรบ.นี้ เช่น
                                         ่ั ้ ้
    สมาคมนายจ้างอิเล็กโทรนิคส์ สมาคมเครืองนุ่งห่ม
                                            ่
   สหภาพแรงงาน คือ องค์กรลูกจ้างทีจดตังขึนตาม พรบ. นี้
                                    ่ั ้ ้
   องค์การของสมาคมนายจ้าง หรือลูกจ้างตังแต่สองสมาคมขึนไป ที่
                                          ้             ้
    จัดตังขึนตาม พรบ. นี้ –
         ้ ้
    15 คนจัดตังสหภาพแรงงาน
               ้
    2 สมาคมนายจ้าง หรือ 2 สหภาพแรงงาน จัดตังสหพันธ์
                                                 ้
    5 สหพันธ์นายจ้าง หรือ 5 สหพันธ์ลกจ้าง จัดตัง สภาฯ
                                    ู          ้
แรงงานสัมพันธ์
    ในอดีต                     ั ั
                             ปจจุบน
   เป็ นเรืองของสิทธิ
            ่               เน้นการให้ขอมูลสือสาร
                                          ้  ่
   ท้าทายอานาจบริหาร       ใช้ระบบการปรึกษาหารือ
   ใช้วธการรุนแรง
         ิี                 มีความไว้วางใจกันมากขึน
                                                   ้
   เผชิญหน้า               ยุตธรรมขึน
                                 ิ      ้
   เจรจาเพือผลแพ้ชนะ
              ่             โปร่งใสขึน
                                      ้
   ขาดการมีสวนร่วม
                ่           เจรจาต่อรองด้วยเหตุผล
แรงงานสัมพันธ์
   การขูดรีด
   ใช้วธการรุนแรง
        ิี
   เผชิญหน้า
   เจรจาเพือผลแพ้ชนะ
            ่
   ขาดการมีสวนร่วม
               ่
                     ่
    ขาดการสนับสนุนจากฝายจัดการ
แรงงานสัมพันธ์
   ลูกจ้างได้มสวนร่วมในการบริหาร เช่น กิจกรรมข้อเสนอแนะ
                ี่
    คณะกรรมการต่างๆ 5ส QCC เป็ นต้น
   และรับรูขาวสารมากขึน เช่น การเงินบริษท ผลประกอบการ การ
            ้่          ้                 ั
    ขยายกิจการ เป็ นต้น
   การบริหารงานแบบมีสวนร่วม เช่น คณะกรรมการลูกจ้าง
                          ่
    คณะกรรมการสหภาพ
   เน้นการสือสารสองทาง
              ่
แรงงานสัมพันธ์
   การฝึกอบรมในเรืองต่างๆ เช่น ทักษะการรับเรืองราวร้องทุกข์ให้มี
                      ่                      ่
                                           ั
    ประสิทธิภาพ ทักษะการสื่อสาร การแก้ไขปญหาอย่างมี
    ประสิทธิภาพ
   ส่งเสริมนักแรงงานสัมพันธ์มออาชีพ
                              ื
                   ่                  ั
    ให้พนักงานมีสวนร่วมทางการเงิน แบ่งปนผลกาไร profit sharing /
    Incentive / หุน เป็ นต้น
                  ้
   ผูบริหารระดับสูงต้องแถลงนโยบาย แรงงานสัมพันธ์
      ้
   สวัสดิการของพนักงาน เช่น การรักษาพยาบาล เงินสงเคราะห์
    สหกรณ์
บทบาทของนายจ้างในการเสริมสร้างแรงงานสัมพันธ์
   มีนโยบายแรงงานสัมพันธ์ทชดเจน
                              ่ี ั
   ใช้ระบบการปรึกษาหารือ
     ่
    ฝายจัดการควรกาหนดกรอบและทิศทางทีจะร่วมมือกับลูกจ้าง
                                         ่
       ่
    ฝายจัดการควรตังงบประมาณ
                   ้
   หัวหน้างาน ระดับบริหารทุกระดับจะต้องได้รบการถ่ายทอดนโยบาย
                                            ั
   ฝึกอบรมหัวหน้างานให้มทกษะด้านแรงงานสัมพันธ์
                          ี ั
   ให้โอกาสพนักงานได้แสดงความคิดเห็น
บทบาทของลูกจ้างในการเสริมสร้างแรงงานสัมพันธ์
   พนักงานต้องมีวนย และจริยธรรมในการทางาน
                   ิ ั
   ต้องตระหนักว่าลูกจ้าง นายจ้างมีผลประโยชน์รวมกัน
                                              ่
   ศึกษาความรูดานสภาวะตลาด การลงทุน และเศรษฐกิจ
               ้ ้
การเจรจาต่อรอง (Collective Bargaining)
   เสนอหรือรับเงือนไขไปพิจารณา
                 ่
   มาตรการกดดันทีกฎหมายรองรับ
                    ่
       สิทธิการนัดหยุดงาน
       สิทธิการปิดงาน
       ความเสียหายหากไม่ยอมรับข้อเสนอ
       ชื่อเสียง
       การผลิต
                 ้    ่
        รายได้ (ทังสองฝาย)
สรุปความหมายของการเจรจาต่อรองของแรงงานสัมพันธ์
                                        ่
    เป็ นการเจรจาต่อรองกันระหว่างสองฝาย คือนายจ้างและลูกจ้าง
   เนื้อหาการเจรจาต้องเป็ นเรืองทีเกียวกับเงือนไขการจ้าง การางาน
                                ่ ่ ่        ่
    หรือสภาพการจ้างเท่านัน ้
   ต้องมีอานาจในการต่อรองเป็ นองค์ประกอบพืนฐาน ้
   การเจรจามีวตถุประสงค์เพือให้ได้มาซึงข้อยุติ และพอใจทังสองฝาย
                ั             ่            ่               ้    ่
ขันตอนการเจรจาต่อรองตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
  ้
1. ยืนข้อเรียกร้อง พนักงานต้องใช้ 15 % ของพนักงานทังหมด,
     ่                                             ้
   สหภาพต้องมีสมาชิก 20 %, ยืนก่อนข้อตกลงเดิมหมดอายุ 30 วัน
                                ่
2. เจรจาภายใน 3 วัน
3. ถ้าตกลงได้ นาไปจดทะเบียนภายใน 15 วัน
4. ถ้าตกลงไม่ได้ ถือเป็ นข้อพิพาทแรงงาน พนักงานประนอมต้องมา
   ไกล่เกลียภายใน 5 วัน
           ่
5. ถ้าตกลงได้ นาไปจดทะเบียนภายใน 15 วัน
6. หากยังตกลงกันไม่ได้อก ถือเป็ นข้อพิพาททีตกลงกันไม่ได้
                          ี                ่
ขันตอนการเจรจาต่อรองตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
  ้
6. ระหว่างทีมขอพิพาททีตกลงกันไม่ได้ สหภาพอาจนัดหยุดงาน หรือ
              ่ ี ้     ่
    นายจ้างอาจปิ ดงาน ระหว่างปิดงานหรือหยุดงานรัฐมนตรีมอานาจ
                                                       ี
    สังให้กลับเข้าทางานได้
      ่
             ่ ้
7. ทังสองฝายตังอนุญาโตตุลาการ
        ้
8. ให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ (ครส.) ชีขาด
                                        ้
9. หากไม่พอใจคาตัดสิน ครส ให้อุทธรณ์กบรัฐมนตรีภายใน 7 วัน
                                      ั
10. หากยังไม่พอใจก็ฟ้องศาลได้

More Related Content

Similar to Labor Rights and Standards

Similar to Labor Rights and Standards (9)

Social Return on Investment
Social Return on InvestmentSocial Return on Investment
Social Return on Investment
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
Simple simple ha for unit suradet sri
Simple simple ha for unit   suradet sriSimple simple ha for unit   suradet sri
Simple simple ha for unit suradet sri
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Consumer Rights
Consumer RightsConsumer Rights
Consumer Rights
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Labor Rights and Standards

  • 1. สิทธิและมาตรฐานแรงงาน กธ. 301 ธุรกิจกับสังคมและชุมชน สฤณี อาชวานันทกุล
  • 2. มาตรฐานแรงงาน  มาตรฐานแรงงาน คือ กฎเกณฑ์ ข้อปฏิบตเกียวกับสภาพการจ้าง ั ิ ่ และสภาพการทางาน เช่น ค่าจ้าง ชัวโมงทางาน วันหยุด และความ ่ ปลอดภัยในการทางาน  เป้าหมายของการมีมาตรฐานแรงงาน คือเพือให้แรงงานได้รบการ ่ ั คุมครองอย่างทัดเทียมเสมอภาค ก่อให้เกิดคุณภาพชีวต มีความ ้ ิ ปลอดภัย มีแรงงานสัมพันธ์ทดี และมีขวัญกาลังใจในการทางาน ่ี 2
  • 3. ประเภทของมาตรฐานแรงงาน มาตรฐานแรงงานแบ่งเป็ น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้  มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ คือ อนุ สญญาและข้อแนะ รวมทัง ั ้ ประกาศอื่นๆ ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)  มาตรฐานแรงงานตามกฎหมาย คือ ข้อบังคับตามกฎหมาย ได้แก่ พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กฎหมายความปลอดภัยในการ ้ ทางาน และ พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518  มาตรฐานแรงงานเอกชน คือ ข้อกาหนดทีประกาศใช้โดยองค์กร ่ พัฒนาเอกชน กลุ่มธุรกิจ และผูผลิตสินค้า เช่น SA8000 WRAP ETI ้ ฯลฯ รวมทังหลักปฏิบตของผูผลิต เช่น อดีดาส-ซาโลมอน ไนกี้ ้ ั ิ ้ และ วอลท์ ดิสนีย์ ฯลฯ 3
  • 4. ระดับของมาตรฐานแรงงาน  มาตรฐานแรงงานในระดับสากล  มาตรฐานแรงงานในภูมภาค เช่น มาตรฐานแรงงานของสหภาพยุโรป ิ มาตรฐานแรงงานของกลุ่มประเทศนอร์ดก ิ  มาตรฐานแรงงานในระดับกลุ่มการค้าและสถาบันในความร่วมมือ  มาตรฐานแรงงานในระดับชาติ (กฎหมายของประเทศและข้อตกลงร่วมระหว่าง ประเทศ และมาตรฐานแรงงานไทย)  มาตรฐานแรงงานในระดับอุตสาหกรรม  มาตรฐานแรงงานในระดับสาขาอาชีพ  มาตรฐานแรงงานในระดับสถานประกอบการและกลุมบริษท (จรรยาบรรณ ่ ั ธุรกิจด้านแรงงาน หรือสภาพการจ้างในสถานประกอบการ)  มาตรฐานแรงงานในระดับย่อย เช่น ระดับพืนที่ และกลุมกิจกรรมต่างๆ ้ ่ 4
  • 5. มาตรฐานที่สานักพัฒนามาตรฐานแรงงานแนะนา  มาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย มรท. 8001-2546 (Thai Labor-Standard : TLS 8001-2546) เป็ น มาตรฐานทีจดทาโดยภาครัฐร่วมกับเอกชนมาตรฐานแรงงานว่าด้วย ่ั ความรับผิดชอบทางสังคม (Social Accountability 8000-SA 8000) เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการส่งออก  มาตรฐานแรงงานว่าด้วยข้อปฏิบตในสถานทีทางาน (Workplace ั ิ ่ Code of Conduct)  มาตรฐานแรงงานว่าด้วยสมาคมสิทธิคนงาน (Worker Rights Consortium Code of Conduct) 5
  • 6. มาตรฐานที่สานักพัฒนามาตรฐานแรงงานแนะนา (ต่อ)  มาตรฐานแรงงานว่าด้วยหลักจรรยาบรรณของบริษท ไนกี้ (Nike ั Code of Ethics) กาหนดขึนโดยบริษทในเครือไนกี้ เหมาะสมกับ ้ ั สถานประกอบกิจการผลิตเครืองกีฬา ่  มาตรฐานแรงงานว่าด้วยหลักการผลิตทีเป็ นสากลทัวโลก (Mattel ่ ่ Global Manufacturing Principles)  มาตรฐานจริยธรรมพืนฐานทางการค้า (Ethical Trading Initiative ้ (ETI) Standard) (International Council of Toy Industries Code of Business Practice) (ICTI) เหมาะสมกับอุตสาหกรรมผูผลิตของ ้ เล่นเด็ก 6
  • 7. มาตรฐานแรงงานขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ  องค์กรแรงงานระหว่างประเทศหรือ International Labour Organization (ILO) เป็ นองค์กรสากลภายใต้สหประชาชาติ มี บทบาทในการกาหนดมาตรฐานแรงงานสากลในรูปแบบทีรจกกันใน ่ ู้ ั นาม “อนุสญญา ILO” เพือเป็ นแหล่งอ้างอิงด้านสิทธิแรงงานสาหรับ ั ่ สหภาพแรงงานเพือใช้ในการส่งเสริมสิทธิของลูกจ้างในการเจรจา ่ ต่อรองกับนายจ้างและรัฐบาล โดย ILO มีนโยบายว่าอนุสญญาหลักมี ั ผลบังคับใช้สาหรับทุกประเทศและทุกบริษท รวมถึงประเทศทียง ั ่ ั ไม่ได้ให้สตยาบันอนุสญญาหลักของ ILO ด้วย ั ั  อนุสญญาหลักมี 4 เรือง (8 อนุสญญา) ั ่ ั 7
  • 8. มาตรฐานแรงงานขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ต่อ)  เสรีภาพในการสมาคมและการยอมรับสิทธิการเจรจาต่อรองร่วม (อนุสญญาฉบับที่ 87 และ 98)  ประเทศไทยยังไม่ให้สตยาบัน ั ั  การตังองค์กรและการเข้าเป็ นสมาชิก เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน ้ โดยไม่ตองขออนุญาตใคร ้  การร่างข้อบังคับและกฎขององค์กร เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน  การเลือกผูแทนขององค์กร เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน ้  การดาเนินกิจการขององค์กร เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงาน  ภาครัฐจะต้องไม่แทรกแซงใดๆ อันส่งผลต่อการจากัดสิทธิ  ภาครัฐไม่มสทธิยบหรือพักการดาเนินกิจการขององค์กร ีิ ุ  การรวมองค์กรเข้าด้วยกัน เป็ นสิทธิการตัดสินใจของคนงานและองค์กร 8
  • 9. มาตรฐานแรงงานขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ต่อ)  การยกเลิกการใช้แรงงานภาคบังคับทุกรูปแบบ (อนุสญญาฉบับที่ 29 ั และ 105) โดย “แรงงานภาคบังคับ” ไม่นบกรณีต่อไปนี้ ั  งานเกียวกับการทหารทีตองทาภายใต้กฏหมายเกณฑ์ทหาร ่ ่ ้  งานหรือบริการใดๆ ทีทาในฐานะพลเมืองหรือสมาชิกชุมชน (เช่น ลูกขุน) ่  งานหรือบริการใดๆ ทีเป็ นผลจากคาพิพากษาในชันศาล แต่ทงนี้บุคคลนัน ่ ้ ั้ ้ ต้องทางานดังกล่าวภายใต้การสอดส่องดูแลของเจ้าหน้าทีรฐ ่ั  งานหรือบริการใดๆ ทีกระทาในภาวะฉุกเฉิน เช่น ภัยธรรมชาติ ่  การยกเลิกการใช้แรงงานเด็ก = 15 ปี (ฉบับที่ 138 และ 182)  การขจัดการเลือกปฏิบตในอาชีพและการจ้างงาน (อนุสญญาฉบับที่ ั ิ ั 100 และ 111) 9
  • 10. มาตรฐานสากลขององค์กรสหประชาชาติ  UN Global Compact หลักปฏิบตสากล 10 ประการ ประกาศปี 1999 ั ิ  สนับสนุ นและเคารพการคุมครองสิทธิมนุษยชน ้  การกระทาอันเป็ นการละเมิดสิทธิมนุ ษยชน  เสรีภาพในการสมาคมและการยอมรับสิทธิการเจรจาต่อรองร่วม  ขจัดการใช้แรงงานบังคับทุกรูปแบบ  ยกเลิกการใช้แรงงานเด็ก  ขจัดการเลือกปฏิบตในอาชีพและการจ้างงาน ั ิ  สนับสนุ นมาตรการ/วิธการทีป้องกันความเสียหายต่อสิงแวดล้อม ี ่ ่  ส่งเสริมแนวทาง/มาตรการทีสงเสริมความรับผิดชอบต่อสิงแวดล้อม ่่ ่  ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ ป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม ่  ขจัดการคอรัปชันทุกรูปแบบ รวมถึงการติดสินบนและการใช้อานาจบังคับ ่ 10
  • 11. มาตรฐานแรงงานใน SA8000  No child labor: No workers under the age of 15  No forced labor  Health and Safety: Provide a safe and healthy work environment; take steps to prevent injuries; regular health and safety worker training; system to detect threats to health and safety; access to bathrooms and potable water  Freedom of Association and Right to Collective Bargaining: Respect the right to form and join trade unions and bargain collectively; where law prohibits these freedoms, facilitate parallel means of association and bargaining  Discrimination: No discrimination based on race, caste, origin, religion, disability, gender, sexual orientation, union or political affiliation, or age; no sexual harassment 11
  • 12. มาตรฐานแรงงานใน SA8000 (ต่อ)  Discipline: No corporal punishment, mental/physical coercion or verbal abuse  Working Hours: Comply with the applicable law but, in any event, no more than 48 hours per week with at least one day off for every seven day period; voluntary overtime paid at a premium rate and not to exceed 12 hours per week on a regular basis; overtime may be mandatory if part of a collective bargaining agreement  Compensation: Wages paid for a standard work week must meet the legal and industry standards and be sufficient to meet the basic need of workers and their families; no disciplinary deductions  Management Systems: Facilities seeking to gain and maintain certification must go beyond simple compliance to integrate the standard into their management systems and practices. 12
  • 13. กฎหมายแรงงานของไทย  กฎหมายความปลอดภัยในการทางาน  กฎหมายแรงงานสัมพันธ์  กฎหมายว่าด้วยความร่วมมือกับองค์การไตรภาคี  กฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจ  กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม  กฎหมายว่าด้วยการฝึกอาชีพ  กฎหมายว่าด้วยศาลแรงงาน
  • 14. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ เวลาทางาน:  ไม่เกิน 8 ชัวโมงต่อวัน และ 48 ชัวโมงต่อสัปดาห์ ่ ่  งานอันตรายตามทีกาหนดในกฎกระทรวงไม่เกิน 7 ชัวโมงต่อวัน ่ ่ และ 42 ชัวโมงต่อสัปดาห์ เช่น งานทีตองอยูกบความร้อน หรือมี ่ ่ ้ ่ ั อุณหภูมสงๆ ิู
  • 15. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ เวลาพัก:  ในวันทีมการทางาน ให้นายจ้างจัดให้ลกจ้างมีเวลาพักติดต่อกันไม่ ่ ี ู น้อยกว่า 1 ชัวโมงภายใน 5 ชัวโมงแรกของการทางาน ่ ่  นายจ้างและลูกจ้างจะตกลงกันล่วงหน้าให้มเวลาพักน้อยกว่าครังละ ี ้ 1 ชัวโมงก็ได้ แต่ตองไม่น้อยกว่าครังละ 20 นาที และเมือรวมกัน ่ ้ ้ ่ แล้วต้องไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชัวโมง ่  กรณีงานในหน้าทีมลกษณะต้องทาติดต่อกันไป หรือเป็ นงานฉุ กเฉิน ่ ีั โดยหยุดเสียมิได้ นายจ้างจะไม่จดเวลาพักให้ลกจ้างก็ได้ แต่ตอง ั ู ้ ได้รบความยินยอมจากลูกจ้าง ั
  • 16. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ วันหยุดประจาสัปดาห์  ต้องไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัน โดยมีระยะห่างกันไม่เกิน 6 วัน  ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดประจาสัปดาห์ (ยกเว้น: ลูกจ้างรายวัน รายชัวโมง หรือ ิ ั ่ ตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย)  นายจ้างและลูกจ้างจะตกลงกันล่วงหน้าโดยกาหนดให้มวนหยุดประจาสัปดาห์วนใดก็ได้ ีั ั ่  งานโรงแรม งานขนส่ง งานในปา งานในทีทุรกันดาร งานประมง งานดับเพลิง และงานอื่นๆ ่ ตามทีกฎกระทรวงกาหนด นายจ้างและลูกจ้างจะต้องตกลงกันล่วงหน้าว่าสามารถสะสมหรือ ่ เลื่อนวันหยุดประจาสัปดาห์ไปเมือใดก็ได้ แต่ตองอยูในระยะเวลาไม่เกิน 4 สัปดาห์ตดต่อกัน ่ ้ ่ ิ  กรณีทวนหยุดประจาสัปดาห์ไม่แน่ นอน ให้นายจ้างประกาศวันหยุดให้ลกจ้างทราบล่วงหน้า ่ี ั ู ไม่น้อยกว่า 3 วัน และแจ้งเป็ นหนังสือให้พนักงานตรวจแรงงานทราบภายใน 7 วัน วันหยุดตามประเพณี  ต้องไม่น้อยกว่าปี ละ 13 วัน โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติดวย ถ้าวันหยุดตามประเพณีตรง ้ กับวันหยุดประจาสัปดาห์ ให้หยุดชดเชยในวันทางานถัดไป  ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดตามประเพณี ิ ั
  • 17. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ วันหยุดพักผ่อนประจาปี  ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันมาครบ 1 ปี มีสทธิหยุดพักผ่อนประจาปี ่ ิ ไม่น้อยกว่าปี ละ 6 วันทางาน  ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจาปี ิ ั  ถ้าลูกจ้างทางานยังไม่ครบ 1 ปี จะให้หยุดตามส่วนก็ได้  นายจ้างเป็ นผูกาหนดวันหยุดพักผ่อนประจาปี ให้ลกจ้างทราบ ้ ู ล่วงหน้า หรือกาหนดตามทีตกลงกัน ่  นายจ้างและลูกจ้างจะตกลงกันล่วงหน้าว่า จะสะสมหรือเลื่อนวันหยุด พักผ่อนประจาปีไปรวมหยุดในปีอ่นก็ได้ ื
  • 18. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ การลา: ่ การลาปวย ิ ่  ลูกจ้างมีสทธิลาปวยโดยได้รบค่าจ้างตามปกติปีหนึ่งไม่เกิน 30 วัน ั ทางาน การลาคลอด  ลูกจ้างซึงเป็ นหญิงมีครรภ์ มีสทธิลาคลอดก่อนและหลังการคลอด ่ ิ ครรภ์หนึ่งไม่เกิน 90 วันโดยให้นบรวมวันหยุดทีมระหว่างวันลาด้วย ั ่ ี และให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่ลกจ้างทีลาคลอดเท่ากับค่าจ้างในวัน ู ่ ทางานตลอดระยะเวลาทีลา แต่ไม่เกิน 45 วัน ่
  • 19. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ การลาเพือทาหมัน ่  ลูกจ้างมีสทธิลาเพือทาหมันได้ และมีสทธิลาเนื่องจากการทาหมัน ิ ่ ิ ั ั ้ ตามระยะเวลาทีแพทย์แผนปจจุบนชันหนึ่งกาหนด และออก ่ ใบรับรองแพทย์ให้ โดยลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างในวันลานันด้วย ิ ั ้ การลากิจ  ลูกจ้างมีสทธิลาเพือกิจธุระอันจาเป็ นได้ตามข้อบังคับเกียวกับการ ิ ่ ่ ทางาน โดยไม่ได้รบค่าจ้างในวันลา ั
  • 20. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ การลาเพือรับราชการทหาร ่  ลูกจ้างมีสทธิลาเพือรับราชการทหาร ในการเรียกพลเพือตรวจสอบ ิ ่ ่ เพือฝึกวิชาทหาร หรือเพือทดสอบความพร้อม โดยลาได้เท่ากับวันที่ ่ ่ ทางทหารเรียก และได้รบค่าจ้างตลอดเวลาทีลาแต่ไม่เกิน 60 วันต่อปี ั ่ การลาเพือฝึกอบรม ่  ลูกจ้างมีสทธิลาเพือการฝึ กอบรม หรือพัฒนาความรูความสามารถตาม ิ ่ ้ หลักเกณฑ์และวิธการทีกาหนดในกฎกระทรวง โดยไม่ได้รบค่าจ้างใน ี ่ ั วันลานัน ้
  • 21. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ ค่าจ้างและค่าล่วงเวลา: ค่าจ้าง  เป็ นเงินทีนายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็ นค่าตอบแทนในการ ่ ทางานตามสัญญาจ้าง สาหรับระยะเวลาการทางานปกติ เป็ นราย ชัวโมง รายวัน รายสัปดาห์ หรือระยะเวลาอื่น หรือจ่ายให้โดย ่ คานวณตามผลงานทีลกจ้างทาได้ในเวลาทางานปกติของวันทางาน ู่ และรวมถึงเงินทีนายจ้างจ่ายให้แก่ลกจ้างในวันหยุด และวันลาที่ ่ ู ลูกจ้างมิได้ทางาน แต่มสทธิได้รบตามกฎหมายคุมครองแรงงาน ี ิ ั ้  ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าจ้างไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขันต่ า ิ ั ้
  • 22. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ การทางานล่วงเวลาและการทางานในวันหยุด  ในกรณีทงานมีลกษณะต้องทาติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็ น ่ี ั งานฉุกเฉิน นายจ้างอาจให้ลกจ้างทางานล่วงเวลา หรือทางานในวันหยุดเท่าที่ ู จาเป็ นก็ได้  กิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหารและเครืองดื่ม สโมสร ่ สมาคม สถานพยาบาล และกิจการอื่นๆ ตามทีกระทรวงกาหนด นายจ้างจะให้ ่ ลูกจ้างทางานในวันหยุดเท่าทีจาเป็ นก็ได้ โดยได้รบความยินยอมจากลูกจ้าง ่ ั เป็ นคราวๆ ไป  ในกรณีทมการทางานล่วงเวลาต่อจากเวลาทางานปกติไม่น้อยกว่า 2 ชัวโมง ่ี ี ่ นายจ้างต้องจัดให้ลกจ้างมีเวลาพัก ไม่น้อยกว่า 20 นาที ก่อนทีลกจ้างเริม ู ู่ ่ ทางานล่วงเวลา (ยกเว้นงานทีมลกษณะหรือสภาพของงานทีตองทาติดต่อกัน ่ ีั ่ ้ ไปโดยได้รบความยินยอมจากลูกจ้าง หรือเป็ นงานฉุกเฉิน ั
  • 23. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุด  ถ้าทางานเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน นายจ้างต้องจ่ายค่า ล่วงเวลาไม่น้อยกว่า หนึ่ งเท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อชัวโมงในวัน ่ ทางานตามจานวนชัวโมงทีทา หรือไม่น้อย หนึ่ งเท่าครึ่ง ของอัตรา ่ ่ ค่าจ้างต่อหน่ วย ในวันทางานตามจานวนผลงานทีทาได้ สาหรับ ่ ลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงาน ่ ั
  • 24. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้  ถ้าทางานในวันหยุดเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน นายจ้างต้องจ่ายค่า ล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลกจ้างในอัตรา สามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชัวโมง ู ่ ในวันทางาน ตามจานวนชัวโมงทีทา หรือตามจานวนผลงานทีทาได้ สาหรับ ่ ่ ่ ลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย ่ ั  ถ้าทางานในวันหยุด ในเวลาทางานปกติ นายจ้างต้องจ่ายค่าทางานในวันหยุด ให้แก่ลกจ้าง ทีมสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดเพิมขึนอีก หนึ่ งเท่า ของค่าจ้างใน ู ่ ีิ ั ่ ้ วันทางาน ตามชัวโมงทีทางานในวันหยุด หรือตามจานวนผลงานทีทาได้ ่ ่ ่ สาหรับลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย ่ ั  สาหรับลูกจ้างทีไม่มสทธิได้รบค่าจ้างในวันหยุดต้องจ่ายไม่น้อยกว่า สองเท่า ่ ีิ ั ของค่าจ้างในวันทางานตามชัวโมงทีทางานในวันหยุด หรือตามจานวนผลงาน ่ ่ ทีทาได้สาหรับลูกจ้างทีได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย ่ ่ ั
  • 25. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ สวัสดิการ:  สถานประกอบกิจการทีมลูกจ้างตังแต่ 50 คนขึนไป ให้นายจ้างจัดให้ ่ ี ้ ้ มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกอบด้วย ้ ่ ผูแทนฝายลูกจ้างอย่างน้อย 5 คน เพือร่วมหารือ และเสนอแนะ ่ ความเห็นแก่นายจ้าง ในการจัดสวัสดิการสาหรับลูกจ้าง และตรวจ ตรา ควบคุม ดูแลการจัดสวัสดิการทีนายจ้างจัดให้แก่ลกจ้าง ่ ู  สถานประกอบกิจการใดทีมคณะกรรมการลูกจ้าง ตามกฎหมายว่า ่ ี ด้วยแรงงานสัมพันธ์แล้วให้คณะกรรมการลูกจ้างทาหน้าทีเป็ น ่ คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
  • 26. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ ค่าชดเชย:  ลูกจ้างมีสทธิได้รบค่าชดเชย หากนายจ้างเลิกจ้างโดยลูกจ้างไม่ม ี ิ ั ความผิด ดังนี้  ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 120 วันแต่ไม่ครบ 1 ปี มีสทธิให้รบ ่ ิ ั ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน  ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี มีสทธิให้รบ ่ ิ ั ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
  • 27. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้  ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 3 ปีแต่ไม่ครบ 6 ปี มีสทธิให้รบ ่ ิ ั ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน  ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 6 ปีแต่ไม่ครบ 10 ปี มีสทธิให้รบ ่ ิ ั ค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน  ลูกจ้างซึงทางานติดต่อกันครบ 10 ปีขนไป มีสทธิให้รบค่าชดเชย ่ ้ึ ิ ั เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
  • 28. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ ค่าชดเชยพิเศษกรณีปรับปรุงหน่วยงาน:  ในกรณีทนายจ้างจะเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุปรับปรุงหน่ วยงาน ่ี กระบวนการผลิต การจาหน่าย หรือการบริการอันเนื่องมาจากการ นาเครืองจักรมาใช้ หรือเปลียนแปลงเครืองจักร หรือเทคโนโลยีจง ่ ่ ่ ึ เป็ นเหตุให้ตองลดจานวนลูกจ้างลง นายจ้างจะต้องปฏิบตดงนี้ ้ ั ิ ั
  • 29. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้  แจ้งวันทีจะเลิกจ้าง เหตุผลของการเลิกจ้าง และรายชื่อลูกจ้างทีจะถูก ่ ่ เลิกจ้าง ให้ลกจ้างและพนักงานตรวจแรงงานทราบล่วงหน้าไม่น้อย ู กว่า 60 วันก่อนวันทีจะเลิกจ้าง ่  ถ้าไม่แจ้งแก่ลกจ้างทีจะเลิกจ้างทราบล่วงหน้า หรือแจ้งล่วงหน้าน้อย ู ่ กว่าระยะเวลา 60 วัน นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอก กล่าวล่วงหน้าแก่ลกจ้าง เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 60 วัน หรือ ู เท่ากับค่าจ้างของการทางาน 60 วันสุดท้าย สาหรับลูกจ้างซึงได้รบ ่ ั ค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย ค่าชดเชยแทนการบอก กล่าวล่วงหน้านี้ ให้ถอว่านายจ้างได้จ่ายค่าสินจ้างแทนการบอกกล่าว ื ล่วงหน้าตามกฎหมายด้วย
  • 30. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้  นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษเพิมขึนจากค่าชดเชยปกติดงต่อไปนี้ ่ ้ ั  ลูกจ้างทางานติดต่อกันครบ 6 ปีขนไป นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษ ้ึ เพิมขึนจากค่าชดเชยปกติ ซึงลูกจ้างนันมีสทธิได้รบอยูแล้ว ไม่น้อยกว่าค่าจ้าง ่ ้ ่ ้ ิ ั ่ อัตราสุดท้าย 15 วันต่อการทางานครบ 1 ปี หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการ ทางาน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางาน 15 วันสุดท้ายต่อการทางาน ครบ 1 ปี สาหรับลูกจ้างซึงได้รบค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย ่ ั  ค่าชดเชยพิเศษนี้รวมแล้วต้องไม่เกินค่าจ้างอัตราสุดท้าย 360 วัน หรือไม่เกิน ค่าจ้างของการทางาน 360 วันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึงได้รบค่าจ้างตามผลงาน ่ ั โดยคานวณเป็ นหน่วยแต่รวมแล้วต้องไม่เกินค่าจ้างอัตราสุดท้าย 360 วัน  เพือประโยชน์ในการคานวณค่าชดเชย เศษของระยะเวลาทางานทีมากกว่า ่ ่ 180 วันให้นบเป็ นการทางานครบ 1 ปี ั
  • 31. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้  ในกรณีทนายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการไปตัง ณ สถานทีอ่นอันมี ่ี ้ ่ ื ผลกระทบสาคัญต่อการดารงชีวตตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัว ิ  นายจ้างต้องแจ้งล่วงหน้าให้แก่ลกจ้างทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 30 ู วันก่อนย้าย ถ้าลูกจ้างไม่ประสงค์จะไปทางานด้วยลูกจ้างมีสทธิบอก ิ เลิกสัญญาจ้างได้ โดยได้รบค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ั ของอัตราค่าชดเชยปกติ ทีลกจ้างพึงมีสทธิได้รบ ู่ ิ ั  ถ้านายจ้างไม่แจ้งให้ลกจ้างทราบการย้ายสถานประกอบกิจการ ู ล่วงหน้า นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าว ล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
  • 32. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้ ลูกจ้างไม่มสทธิได้รบค่าชดเชยในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้ ีิ ั  ลูกจ้างลาออกเอง  ทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทาความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง  จงใจทาให้นายจ้างได้รบความเสียหาย ั  ประมาทเลินเล่อเป็ นเหตุให้นายจ้างได้รบความเสียหายอย่างร้ายแรง ั
  • 33. กฎหมายคุมครองแรงงาน 2541 ้  ่ ฝาฝืนข้อบังคับเกียวกับการทางาน หรือระเบียบ หรือคาสังของ ่ ่ นายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็ นธรรม และนายจ้างได้ ตักเตือนเป็ นหนังสือแล้ว ซึงหนังสือเตือนนันต้องมีผลบังคับไม่เกิน ่ ้ 1 ปี นับตังแต่วนทีลกจ้างได้รบทราบหนังสือเตือน เว้นแต่กรณีท่ี ้ ั ู่ ั ร้ายแรง นายจ้างไม่จาเป็ นต้องตักเตือน  ละทิงหน้าทีเป็ นเวลา 3 วันทางานติดต่อกัน ไม่วาจะมีวนหยุดคัน ้ ่ ่ ั ่ หรือไม่กตามโดยไม่มเี หตุอนสมควร ็ ั  ได้รบโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงทีสดให้จาคุก ั ุ่
  • 34. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518 ขอบเขตการบังคับใช้ มิให้ใช้บงคับแก่ (มาตรา 4) ั  1.1 ราชการส่วนกลาง  1.2 ราชการส่วนภูมภาค ิ  1.3 ราชการส่วนท้องถิน ่  1.4 ราชการกรุงเทพมหานค  1.5 กิจการรัฐวิสาหกิจ ตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์  1.6 กิจการอื่นตามกาหนดในพระราชกฤษฎีกา ั ั  (ปจจุบนธนาคารแห่งประเทศไทยเป็ นกิจการทีอยูนอกข่ายบังคับของกฎหมาย ่ ่ แรงงานสัมพันธ์ โดยได้มการตราพระราชกฤษฎีกากาหนดกิจการที่ ี พระราชบัญญัตแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ไม่ใช้บงคับ พ.ศ. 2523 ขึน) ิ ั ้ 34
  • 35. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518  ข้อตกลงเกียวกับสภาพการจ้าง คือ ข้อตกลงระหว่างนายจ้างกับ ่ ลูกจ้าง หรือระหว่างสมาคมนายจ้างกับสหภาพแรงงานทีเกียวกับ ่ ่ สภาพการจ้าง เช่น เงือนไขการจ้างงาน การทางาน กาหนดวันและ ่ เวลาทางาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อ่นของ ื นายจ้างหรือลูกจ้างอันเกียวกับการจ้างหรือการทางาน ่  ข้อพิพาทแรงงาน คือ ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง เกียวกับ ่ สภาพการจ้าง  ่ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ประกอบด้วยตัวแทนฝายนายจ้าง ลูกจ้าง และรัฐบาล ทาหน้าทีวนิจฉัย และชีขาดพิพาทแรงงาน ่ิ ้ พิจารณาวินิจฉัยชีขาดการกระทาอันไม่เป็ นธรรม มีอานาจสังให้ ้ ่ นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทางาน
  • 36. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518 ข้อตกลงเกียวกับสภาพการจ้าง ่  สถานประกอบการทีมลกจ้างตังแต่ 20 คนขึนไปต้องจัดให้มขอตกลงเกียวกับ ่ ีู ้ ้ ี ้ ่ สภาพการจ้างไว้เป็ นหนังสือ หากไม่มขอตกลงเกียวกับสภาพการจ้างอยูแต่เดิม ี ้ ่ ่ ให้ถอว่าข้อบังคับเกียวกับการทางานตามกฎหมายคุมครองแรงงานเป็ นข้อตกลง ื ่ ้ เกียวกับสภาพการจ้าง (มาตรา 10) ่ ั ่ ั้ ่  อายุของข้อตกลงมีผลใช้บงคับภายในระยะเวลาทีทงสองฝายตกลงกัน แต่ไม่เกิน 3 ปี ถ้าไม่กาหนดเวลาไว้ ให้ถอว่ามีผลบังคับใช้ 1 ปีนบแต่วนทีได้ตกลงกัน หรือ ื ั ั ่ ให้นบจากวันทีลกจ้างเข้าทางานแล้วแต่กรณี ั ู่  เมือข้อตกลงฯ สินสุดลง และมิได้มการเจรจาตกลงกันใหม่ ให้มผลใช้บงคับต่อไป ่ ้ ี ี ั อีกคราวละ 1 ปี (มาตรา 12) 36
  • 37. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518  การปิดงาน (lockout) คือการทีนายจ้างปฎิเสธไม่ยอมให้ลกจ้างเข้า ่ ู ทางานชัวคราว เนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน ่  การนัดหยุดงาน (strike) คือ การทีลกจ้างร่วมกันไม่ทางานชัวคราว ู่ ่ เนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน  คณะกรรมการลูกจ้าง ทาหน้าทีประชุมหารือกับนายจ้างอย่างน้อย ่ สามเดือนครัง ในเรืองจัดสวัสดิการแก่ลกจ้าง พิจารณาคาร้องทุกข์ ้ ่ ู ของลูกจ้าง หาทางปรองดองระงับข้อขัดแย้ง กาหนดข้อบังคับทีเป็ น ่ ประโยชน์ต่อนายจ้างและลูกจ้าง
  • 38. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 2518  สมาคมนายจ้าง คือ องค์กรของนายจ้างทีจดตังขึนตาม พรบ.นี้ เช่น ่ั ้ ้ สมาคมนายจ้างอิเล็กโทรนิคส์ สมาคมเครืองนุ่งห่ม ่  สหภาพแรงงาน คือ องค์กรลูกจ้างทีจดตังขึนตาม พรบ. นี้ ่ั ้ ้  องค์การของสมาคมนายจ้าง หรือลูกจ้างตังแต่สองสมาคมขึนไป ที่ ้ ้ จัดตังขึนตาม พรบ. นี้ – ้ ้ 15 คนจัดตังสหภาพแรงงาน ้ 2 สมาคมนายจ้าง หรือ 2 สหภาพแรงงาน จัดตังสหพันธ์ ้ 5 สหพันธ์นายจ้าง หรือ 5 สหพันธ์ลกจ้าง จัดตัง สภาฯ ู ้
  • 39. แรงงานสัมพันธ์ ในอดีต ั ั ปจจุบน  เป็ นเรืองของสิทธิ ่  เน้นการให้ขอมูลสือสาร ้ ่  ท้าทายอานาจบริหาร  ใช้ระบบการปรึกษาหารือ  ใช้วธการรุนแรง ิี  มีความไว้วางใจกันมากขึน ้  เผชิญหน้า  ยุตธรรมขึน ิ ้  เจรจาเพือผลแพ้ชนะ ่  โปร่งใสขึน ้  ขาดการมีสวนร่วม ่  เจรจาต่อรองด้วยเหตุผล
  • 40. แรงงานสัมพันธ์  การขูดรีด  ใช้วธการรุนแรง ิี  เผชิญหน้า  เจรจาเพือผลแพ้ชนะ ่  ขาดการมีสวนร่วม ่  ่ ขาดการสนับสนุนจากฝายจัดการ
  • 41. แรงงานสัมพันธ์  ลูกจ้างได้มสวนร่วมในการบริหาร เช่น กิจกรรมข้อเสนอแนะ ี่ คณะกรรมการต่างๆ 5ส QCC เป็ นต้น  และรับรูขาวสารมากขึน เช่น การเงินบริษท ผลประกอบการ การ ้่ ้ ั ขยายกิจการ เป็ นต้น  การบริหารงานแบบมีสวนร่วม เช่น คณะกรรมการลูกจ้าง ่ คณะกรรมการสหภาพ  เน้นการสือสารสองทาง ่
  • 42. แรงงานสัมพันธ์  การฝึกอบรมในเรืองต่างๆ เช่น ทักษะการรับเรืองราวร้องทุกข์ให้มี ่ ่ ั ประสิทธิภาพ ทักษะการสื่อสาร การแก้ไขปญหาอย่างมี ประสิทธิภาพ  ส่งเสริมนักแรงงานสัมพันธ์มออาชีพ ื  ่ ั ให้พนักงานมีสวนร่วมทางการเงิน แบ่งปนผลกาไร profit sharing / Incentive / หุน เป็ นต้น ้  ผูบริหารระดับสูงต้องแถลงนโยบาย แรงงานสัมพันธ์ ้  สวัสดิการของพนักงาน เช่น การรักษาพยาบาล เงินสงเคราะห์ สหกรณ์
  • 43. บทบาทของนายจ้างในการเสริมสร้างแรงงานสัมพันธ์  มีนโยบายแรงงานสัมพันธ์ทชดเจน ่ี ั  ใช้ระบบการปรึกษาหารือ  ่ ฝายจัดการควรกาหนดกรอบและทิศทางทีจะร่วมมือกับลูกจ้าง ่  ่ ฝายจัดการควรตังงบประมาณ ้  หัวหน้างาน ระดับบริหารทุกระดับจะต้องได้รบการถ่ายทอดนโยบาย ั  ฝึกอบรมหัวหน้างานให้มทกษะด้านแรงงานสัมพันธ์ ี ั  ให้โอกาสพนักงานได้แสดงความคิดเห็น
  • 44. บทบาทของลูกจ้างในการเสริมสร้างแรงงานสัมพันธ์  พนักงานต้องมีวนย และจริยธรรมในการทางาน ิ ั  ต้องตระหนักว่าลูกจ้าง นายจ้างมีผลประโยชน์รวมกัน ่  ศึกษาความรูดานสภาวะตลาด การลงทุน และเศรษฐกิจ ้ ้
  • 45. การเจรจาต่อรอง (Collective Bargaining)  เสนอหรือรับเงือนไขไปพิจารณา ่  มาตรการกดดันทีกฎหมายรองรับ ่  สิทธิการนัดหยุดงาน  สิทธิการปิดงาน  ความเสียหายหากไม่ยอมรับข้อเสนอ  ชื่อเสียง  การผลิต  ้ ่ รายได้ (ทังสองฝาย)
  • 46. สรุปความหมายของการเจรจาต่อรองของแรงงานสัมพันธ์  ่ เป็ นการเจรจาต่อรองกันระหว่างสองฝาย คือนายจ้างและลูกจ้าง  เนื้อหาการเจรจาต้องเป็ นเรืองทีเกียวกับเงือนไขการจ้าง การางาน ่ ่ ่ ่ หรือสภาพการจ้างเท่านัน ้  ต้องมีอานาจในการต่อรองเป็ นองค์ประกอบพืนฐาน ้  การเจรจามีวตถุประสงค์เพือให้ได้มาซึงข้อยุติ และพอใจทังสองฝาย ั ่ ่ ้ ่
  • 47. ขันตอนการเจรจาต่อรองตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ้ 1. ยืนข้อเรียกร้อง พนักงานต้องใช้ 15 % ของพนักงานทังหมด, ่ ้ สหภาพต้องมีสมาชิก 20 %, ยืนก่อนข้อตกลงเดิมหมดอายุ 30 วัน ่ 2. เจรจาภายใน 3 วัน 3. ถ้าตกลงได้ นาไปจดทะเบียนภายใน 15 วัน 4. ถ้าตกลงไม่ได้ ถือเป็ นข้อพิพาทแรงงาน พนักงานประนอมต้องมา ไกล่เกลียภายใน 5 วัน ่ 5. ถ้าตกลงได้ นาไปจดทะเบียนภายใน 15 วัน 6. หากยังตกลงกันไม่ได้อก ถือเป็ นข้อพิพาททีตกลงกันไม่ได้ ี ่
  • 48. ขันตอนการเจรจาต่อรองตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ้ 6. ระหว่างทีมขอพิพาททีตกลงกันไม่ได้ สหภาพอาจนัดหยุดงาน หรือ ่ ี ้ ่ นายจ้างอาจปิ ดงาน ระหว่างปิดงานหรือหยุดงานรัฐมนตรีมอานาจ ี สังให้กลับเข้าทางานได้ ่ ่ ้ 7. ทังสองฝายตังอนุญาโตตุลาการ ้ 8. ให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ (ครส.) ชีขาด ้ 9. หากไม่พอใจคาตัดสิน ครส ให้อุทธรณ์กบรัฐมนตรีภายใน 7 วัน ั 10. หากยังไม่พอใจก็ฟ้องศาลได้